SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
9วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
การวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา
ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม*
พงศศิริ คําขันแกว**
บทคัดยอ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา
ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือผูบริโภคเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดํา ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จํานวน 328 ราย มีแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัย
โดยมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.939 และวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหองคประกอบ
ผลการวิจัยพบวา องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคา
มี 4 องคประกอบ และ 32 ตัวแปร ไดแก ความภักดีตอตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความเชื่อมโยง
ตอตราสินคา และการรูจักตราสินคา โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบระหวาง 0.508 ถึง 0.808 การวิจัยไดให
ขอเสนอแนะหลายประการสําหรับผูบริหารตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา และผูที่สนใจศึกษาดาน
องคประกอบคุณคาตราสินคาเพื่อเปนแนวทางในการเสริมสรางคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา และ
เสริมสรางความไดเปรียบตอการสรางตราสินคาตอไป
คําสําคัญ : การวิเคราะหองคประกอบ คุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
*
สวนหนึ่งของวิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ
จังหวัดเชียงใหม
**
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม
10 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
The Factor Analysis of Customer-Based Brand Equity
of the Black Carbonated Beverage Industry in
Mueang District, Chiang Mai Province*
Pongsiri Kamkankaew**
Abstract
The objective of this research was to analyze the components of the customer-based brand equity of
the black carbonated beverage industry in Mueang District, Chiang Mai Province. The sample groups were
consisted of 328 customers who have been drinking the black carbonated beverage. The research instrument
was questionnaires, which tested for the reliability as 0.939 and the data analysis was done by using the factor
analysis.
The results of the research found that the customer-based brand equity of the black carbonated
beverage industry has four components and thirty – two variables as follows brand loyalty, brand perceived
quality, brand association and brand awareness. The factor loading of these components was 0.508 – 0.808.
In conclusion, this research was provided several key recommendations for Brand Manager’s the black
carbonated beverage industry and market educator with valuable guideline for customer-based brand
equity enhancingand competitive advantage of brandingenhancing.
Key words :Factor Analysis; Customer-Based Brand Equity; Black Carbonated Beverage
*
Part of Thesis for the degree of Master of Business Administration, Faculty of Business Administration Payap University,
Chiang Mai Province.
**
Graduate students, School of Business Administration, Payap University, Chiang Mai Province.
11วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
1. บทนํา
คุณคาตราสินคาเปนผลตางของความรู
เกี่ยวกับตราสินคาจากมุมมองของลูกคา (Customer
– Based Brand Equity) ที่เกิดจากการดําเนิน
กิจกรรมทางการตลาด (Keller, 1993) ดังนั้นคุณคา
ตราสินคามีสวนชวยใหเกิดการรับรูของลูกคาที่มีตอ
ตราสินคา สงผลใหลูกคาเกิดความไววางใจตอตรา
สินคา และการตัดสินใจซื้อสินคาซ้ํา ทั้งยังเพิ่ม
ประสิทธิภาพของโปรแกรมการตลาด และชวย
พัฒนากลยุทธทางการตลาด รวมไปถึงการขยายตรา
สินคา (Peter & Olson, 2008) สงผลใหองคการ
ธุรกิจมียอดขายที่เพิ่มมากขึ้น อันเปนการแสดงถึง
สวนแบงทางการตลาดที่มากขึ้นดวย (Helander &
Khalid, 2000) คุณคาตราสินคาจากมุมมองของ
ลูกคาจึงมีบทบาทสําคัญในการสรางความสําเร็จ
ทางการตลาด (Aaker, 1991)
ในป พ.ศ. 2554 ตลาดเครื่องดื่มปราศจาก
แอลกอฮอล (Non – Alcoholic Drinks) มีมูลคา
ตลาดประมาณ 224,000 ลานบาท (Thailand Food
and Drink Report Q1, 2011) โดยเครื่องดื่มน้ําอัดลม
มีสวนแบงทางการตลาดรอยละ 25 มีมูลคากวา
36,000 ลานบาท โดยตลาดน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
(Black Carbonated Drinks) เปนตลาดเครื่องดื่มที่มี
ขนาดใหญ โดยมีสวนแบงทางการตลาดถึงรอยละ
70 ของตลาดเครื่องดื่มประเภทน้ําอัดลมทั้งหมด
มูลคากวา 26,000 ลานบาทจากมูลคาตลาดรวม
(กลยุทธบริหารยักษใหญ เปปซี่ตองขยันสรางความ
จงรักภักดี, 2554) สงผลใหเกิดการแขงขันทาง
การตลาดในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดํา กอปรกับมีผูประกอบการรายใหมเขา
มาในตลาด อาทิ บิ๊ก โคลา (Big Cola) ประเทศเปรู
กอปรกับในป พ.ศ. 2553 ดัชนีการอุปโภคบริโภค
ของภาคเอกชนในจังหวัดเชียงใหมปรับตัวดีขึ้น
จากป พ.ศ. 2552 รอยละ 1.70 (ธนาคารแหงประเทศ
ไทย สํานักงานภาคเหนือ, 2553) รวมถึงในเขต
อําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม มีกลุมธุรกิจคาปลีก
ขนาดใหญมากที่สุดในภาคเหนือทั้งหางสรรพสินคา
ขนาดใหญ (กรมการคาภายใน,2554) รวมถึง
กลุมธุรกิจคาปลีก อาทิ บิ๊กซีซุปเปอรเซ็นเตอร
เทสโก-โลตัส ที่มีการผลิตน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
ออกจําหนายในนามตราสินคาของธุรกิจตนดวย จึง
ทําใหการแขงขันตลาดเครื่องดื่มประเภทน้ําดําใน
จังหวัดเชียงใหมทวีความรุนแรงมากขึ้น
ถึงแมจะมีงานวิจัยที่นําแนวคิดคุณคาตรา
สินคาจากมุมมองของลูกคาไปประยุกตใชใน
งานวิจัยทางธุรกิจที่แตกตางกันในหลายประเทศ
อาทิ ธุรกิจสายการบิน ธุรกิจบริการขนสง ธุรกิจ
รานอาหาร ธุรกิจเสื้อผา และธุรกิจเครื่องดื่ม (Lee
& Leh, 2010) ทวายังไมพบวามีการนําไปประยุกต
และมุงวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจคุณคาตรา
สินคาจากมุมมองของลูกคาที่เหมาะสมสําหรับ
อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน
12 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
ประเทศไทย ซึ่งการวิเคราะหองคประกอบในการ
วิจัยครั้งนี้จะทําใหทราบองคประกอบ หรือปจจัยที่
เสริมสราง และพัฒนาคุณคาตราสินคาจากมุมมอง
ของลูกคาในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดํา อันจะเปนประโยชนตอการบริหาร
ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา ทั้งยัง
เสริมสรางศักยภาพการแขงขันทางการตลาด
รวมทั้งเปนสารสนเทศเบื้องตนในการดําเนิน
แผนงานทางการตลาด สนับสนุนการกําหนด
กลยุทธทางการตลาดและการบริหารคุณคาตราสินคา
จากมุมมองของลูกคา การพัฒนาโปรแกรมการ
สื่อสารทางการตลาด และสรางความไดเปรียบ
ทางการแขงขันเพื่อใหเกิดการดําเนินงานทาง
การตลาดในระยะยาวอยางมีประสิทธิภาพตอไป
2. วัตถุประสงค
เพื่อวิเคราะหองคประกอบคุณคาตรา
สินคาจากมุมมองของลูกคาในอุตสาหกรรม
เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา เขตอําเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม
3. วิธีการวิจัย
3.1) ขอบเขตของตัวแปรที่ใชในการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้พัฒนากรอบความคิดในการ
วิจัยจากแนวคิดคุณคาตราสินคาของ (Aaker, 1991,
1996) และ (Keller, 1993) รวมถึงงานวิจัยของ
(Yoo, Donthu & Lee, 2000) (Yoo &Donthu,2001)
(Pappu, Quester & Cooksey, 2006) (Davis, Golicic
& Marquardt, 2009) (Tong & Hawley, 2009a,
2009b) (Chen & Tseng, 2010) และ (Lee & Leh,
2011) ทั้งนี้กรอบความคิดในการวิจัยที่พัฒนาขึ้นถูก
นํามาบูรณาการเปนตัวแปรที่ใชในการวิจัยจํานวน
ทั้งหมด 4 องคประกอบ และไดตัวแปรทั้งหมด 44
ตัวแปร รายละเอียดดังนี้
3.1.1) องคประกอบดานการรูจัก ตรา
สินคา (Brand Awareness) สามารถระบุความได
เปรียบทางการแขงขัน (Competitive Advantage)
การรูจักตราสินคา ทําใหลูกคาเกิดความคุนเคย
(Familiar) การจดจําตราสินคา (Recognition) และ
ระลึกถึงตราสินคา (Recall) โดยทั้งหมดนี้เปนแรง
ขับ (Drive) ใหลูกคาเกิดการตัดสินใจซื้อสินคาทั้งนี้
การรูจักตราสินคาเปนสัญญาณ (Signal) ของขอ
ผูกมัด (Commitment)ที่องคกรธุรกิจมีตอลูกคา
ดังนั้นลูกคาจึงมักซื้อตราสินคาที่ตนสามารถจดจํา
ระลึกถึงและมีความคุนเคย (Aaker, 1991)(Aaker &
Mills, 2005) และ (Keller, 1993) ทั้งนี้จากการ
ทบทวนวรรณกรรมพบวาองคประกอบดานการ
รูจักตราสินคามีทั้งหมด 13 ตัวแปร
3.1.2) องคประกอบดานความ
เชื่อมโยงตอตราสินคา (Brand Associations) คือ
คุณลักษณะของตราสินคา (Product Attributes)
คุณประโยชนตอลูกคา (Customer Benefit) ที่
เชื่อมโยงความทรงจําของลูกคาที่มีตอตราสินคา
13วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
ความเชื่อมโยงตอตราสินคามีบทบาทสําคัญตอการ
ประเมินตราสินคา (Product Evaluation) และการ
เลือกตราสินคา (BrandChoices) ดวยความเชื่อมโยง
ตอตราสินคาชวยใหลูกคามีทัศนคติที่ดีตอตรา
สินคา (Aaker, 1991) และ (Keller, 1993) ทั้งนี้จาก
การทบทวนวรรณกรรมพบวาองคประกอบความ
เชื่อมโยงตอดานตราสินคามีทั้งหมด 9 ตัวแปร
3.1.3) องคประกอบดานการรับรู
คุณภาพของตราสินคา(Brand PerceivedQuality)
เปนการรับรูของลูกคาตอเหตุผลในการซื้อตราสินคา
การรับรูคุณภาพของตราสินคาสะทอนถึงคุณภาพที่
เหนือกวาสินคาตราอื่นของตราสินคาตราใดตราหนึ่ง
คุณลักษณะของสินคาเปนสิ่งที่ทําใหลูกคาไดรับ
ทราบถึงความแตกตางและตําแหนงของสินคานั้น
ดังนั้นสิ่งที่องคกรธุรกิจตองทําคือ การเอาใจใส
ตอคุณภาพของตราสินคา (Regard to Quality)
(Aaker,1991)ทั้งนี้จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา
องคประกอบดานการรับรูคุณภาพของตราสินคามี
ทั้งหมด10ตัวแปร
3.1.4) องคประกอบดานความภักดีตอ
ตราสินคา (Brand Loyalty) เปนแกนหลักของมิติ
คุณคาตราสินคา ที่มีความสําคัญแรกสุด (Instances)
ความภักดีตอตราสินคา เปนสิ่งแสดงถึงความยึดมั่น
และความพึงพอใจของลูกคามีตอตราสินคา ความ
ภักดีตอตราสินคาชวยควบคุมตนทุนทางการตลาด
ทั้งยังชวยปองกันคูแขงขัน ในตลาดเดียวกัน และ
ทายที่สุดความภักดีตอตราสินคาสงผลใหตราสินคา
มีความคงทน หรือยืนนาน (BrandEnduring) ดังนั้น
การจัดการความภักดีของลูกคาที่มีตอตราสินคาเปน
สิ่งที่องคกรธุรกิจใหความสําคัญ ดวยความภักดีตอ
ตราสินคาบงบอกถึง การซื้อสินคาในอนาคต การ
ซื้อตราสินคาเดิม สวนแบงทางการตลาด และสงผล
ใหองคกรธุรกิจมีกําไรในระยะยาว (Aaker, 1991)
(Aaker & Mills, 2005) ทั้งนี้จากการทบทวน
วรรณกรรมพบวาองคประกอบดานความภักดีตอ
ตราสินคามีทั้งหมด 12 ตัวแปร
3.2) ประชากร และกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ
ผูบริโภคที่ดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา ใน
เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในการศึกษาครั้งนี้
ไมสามารถทราบจํานวนของผูบริโภคที่ดื่มเครื่องดื่ม
น้ําอัดประเภทน้ําดํา จึงใชวิธีการคํานวณหากลุม
ตัวอยางจากสูตรของ (Cochran, 1977) ไดขนาด
ตัวอยาง(n)= 384รายและการเก็บขอมูลแบบบังเอิญ
(AccidentalSampling)ทั้งนี้จากการแจกแบบสอบถาม
พบวาแบบสอบถามที่มี ความสมบูรณจากการตอบ
จํานวน328ฉบับคิดเปนรอยละ85.41
3.3) แบบสอบถามที่ใชในการวิจัย
ผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามการวิจัยครั้งนี้
จากกรอบความคิดในการวิจัยโดยแบบสอบถาม
14 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
แบงออกเปน 2 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท
น้ําดํา โดยขอคําถามเปนมาตรวัดแบบสํารวจ
รายการ (Check List) ตอนที่ 2 องคประกอบคุณคา
ตราสินคาจากมุมมองของลูกคา ปรับปรุงขอคําถาม
จากแนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งนี้ขอคําถามมี
ลักษณะปลายปด ใชมาตราวัดประเมินผลคา 5
ระดับ (5 Likert Scale) โดย 5 คะแนน หมายถึง เห็น
ดวยอยางยิ่ง และ 1 คะแนน หมายถึง ไมเห็นดวย
อยางยิ่ง
3.4) การวิเคราะหขอมูล
คาสถิติที่ผูวิจัยใชในการวิเคราะห ไดแก
คาความถี่ คารอยละ และการหาองคประกอบ
เชิงสํารวจ (ExploratoryFactorAnalysis) ทั้งนี้ ขอมูล
ที่ไดนําเสนอในรูปแบบบรรยายเชิงพรรณนาทั้งนี้คา
ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยใชสูตร
สัมประสิทธิ์ อัลฟาครอนบัค (Cronbach Coefficient
Alpha)เทากับ0.939
3.5) การทดสอบขอตกลงเบื้องตนในการวิเคราะห
องคประกอบเชิงสํารวจมีรายละเอียดดังนี้
3.5.1) กลุมตัวอยางที่ใชควรมากกวา
100 คน (Hair, 2010) จากขอกําหนดดังกลาวพบวา
การวิจัยครั้งนี้มีกลุมตัวอยางจํานวน 328 คน
3.5.2) ความสัมพันธระหวางตัวแปร
แตละขอตองสูงกวา 0.30 (Hair, 2010) จาก
ขอกําหนดดังกลาวพบวาความสัมพันธระหวางขอ
คําถามที่มีคาสูงกวา 0.30 มี 409 คู
3.5.3) การพิจารณาคา KMO (Kaiser-
Mayer-Olkin Measure of Sampling Adequacy)
เพื่อวัดความเหมาะสมของขอมูลที่นํามาวิเคราะห
องคประกอบทั้งหมดควรมีคามากกวา 0.50 (Hair,
2010) แสดงดังตารางที่ 1 ทั้งนี้จากตารางที่ 1 พบวา
คา KMO ที่ไดคือ 0.937 แสดงวาขอมูลที่มีอยู
ความเหมาะสมที่นํามาวิเคราะหองคประกอบตอไป
และคา Bartlett’s Test of Sphericity ที่ใชทดสอบ
ตารางที่ 1 แสดงคา KMO และ คา Bartlett’s Test of Sphericity
Kaiser-Mayer-OlkinMeasure of Sampling Adequacy 0.937
Bartlett’s Test of Sphericity
Approx. Chi-Square 8707.703
Df 946
Sig. 0.00
15วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
สมมุติฐานมีคา Chi-Square 8,707.703 ไดคา
p = 0.00 จึงปฏิเสธสมมุติฐาน (H0) ยอมรับ
สมมุติฐาน (H1) กลาวคือ ตัวแปรทั้ง 44 ตัวแปร มี
ความสัมพันธกัน ดังนั้นจากการทดสอบขอตกลง
เบื้องตนในการวิเคราะหองคประกอบดังกลาว
สามารถสรุปไดวาขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวม
มีความเหมาะสมที่จะนํามาใชในวิเคราะห
องคประกอบตอไป
3.6)ขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบ
ในขั้นตอนของการวิเคราะหองคประกอบ
ผูวิจัยเลือกหมุนแกนปจจัย(FactorRotation) โดยการ
หมุนแกนแบบมุมฉาก(Orthogonal) ซึ่งเปนการหมุน
แกนจากตําแหนงเดิมในลักษณะตั้งฉากกันตลอด
เปนการหมุนแกนที่องคประกอบแตละองคประกอบ
เปนอิสระตอกัน หรือไมมีความสัมพันธกัน ซึ่ง
วิธีของการหมุนแกนแบบมุมฉากที่ใชคือ แบบ
วาริแมกซ (Varimax) เพื่อลดจํานวนตัวแปร
ในแตละองคประกอบโดยจํานวนรอบในการสกัด
องคประกอบ 25 รอบ (Hair, 2010)
การพิจารณาการสกัดปจจัย(Factor Extrac
tion) โดยวิธีองคประกอบ(Principal Component)
จะพิจารณาจากปจจัยที่มีคาความผันแปร (Eigen
Values) หรือคาความแปรปรวนทั้งหมดที่มากกวา 1
และคาน้ําหนักองคประกอบ (Factor Loading)
ที่มากกวา 0.35 (Hair, 2010) โดยพบวา คาความ
ผันแปร ที่ไดมากกวา 1 มีเพียง 4 องคประกอบ
โดยองคประกอบแรกสามารถอธิบายตัวแปรได
มากที่สุดถึงรอยละ 30.842 ทั้งนี้จากการพิจารณา
คาน้ําหนักองคประกอบของตัวแปรที่มีคานอยกวา
0.35 พบวา เหลือตัวแปรที่สามารถนํามาจําแนก
องคประกอบไดทั้งหมด32ตัวแปร
4.ผลการศึกษาและอภิปรายผล
4.1)ผลการวิจัย
ขอมูลทั่วไป และพฤติกรรมการดื่ม
เครื่องดื่มอัดลมประเภทน้ําดํา พบวา กลุมตัวอยาง
สวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 193 คน คิดเปน
รอยละ58.84 และเพศหญิงจํานวน 135 คน คิดเปน
รอยละ 41.16 กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุอยูใน
ชวงระหวาง 19-24 ป จํานวน 184 คน คิดเปน
รอยละ 56.10 และเปนนักเรียน หรือ นักศึกษา
จํานวน176 ราย คิดเปนรอยละ 53.66 โดยมีรายได
เฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 5,000 บาท จํานวน 106 คน
คิดเปนรอยละ 32.31 ทั้งนี้พฤติกรรมของกลุม
ตัวอยางสวนใหญชอบดื่มน้ําเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดําขนาดกระปองมากที่สุด คิดเปน
รอยละ 70.50 โดยดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท
น้ําดํา2ถึง3ครั้ง ตอสัปดาหรอยละ 36.58 ในขณะ
ที่กลุมตัวอยาง สวนใหญชอบดื่มใน เวลาสังสรรค
กับเพื่อนหรือผูรวมงานรอยละ 49.69 โดยโทรทัศน
เปนสื่อที่กลุมตัวอยางสวนใหญเคยเห็น หรือไดยิน
โฆษณาเครื่องดื่มอัดลมประเภทน้ําดํามากที่สุด
คิดเปนรอยละ 70.42 สําหรับตราสินคาเครื่องดื่ม
16 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
น้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่กลุมตัวอยางดื่มมากที่สุดคือ
ตราโคคา-โคลาจํานวน144คนคิดเปนรอยละ 43.90
ตราเปปซี่จํานวน118 คน คิดเปนรอยละ 35.98 และ
ตราบิ๊ก-โคลาจํานวน66คนคิดเปนรอยละ20.12
การวิเคราะหองคประกอบยืนยันคุณคา
ตราสินคาจากมุมมองของลูกคาจากการวิเคราะห
องคประกอบของตัวแปรองคประกอบคุณคาตรา
สินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมอง
ของลูกคาโดยแตละตัวแปรที่สรางองคประกอบตอง
มีคาน้ําหนักองคประกอบตองมากกวา 0.35 ผลการ
วิเคราะหหาองคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่ม
น้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาได 4
องคประกอบ ผูวิจัยไดใหความหมายองคประกอบ
(Factor Meaning) ซึ่งสรุปไดจากแนวคิด และทฤษฎี
และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ รายละเอียดดังตารางที่ 2
และตารางที่3
ตารางที่ 2 แสดงการวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในองคประกอบความภักดีตอตราสินคา
และ การรับรูคุณภาพตอตราสินคา
องคประกอบ
คา
เฉลี่ย
คาน้ําหนัก
องคประกอบ
คาความ
เชื่อมั่น
ความภักดีตอตราสินคา
การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไป แมวาน้ําอัดลมยี่หออื่นจะมีการสงเสริมการ
ขาย อาทิ ลดราคา และการใหของแถม 3.75 0.783 0.925
การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไป แมราคาจะสูงขึ้น 3.71 0.780
การไมซื้อตราสินคาอื่นหาก ตราสินคาX ไมวางขายในรานคา 3.76 0.774
ความพึงพอใจที่มีตอตราสินคา X 3.69 0.733
ความตองการแนะนําน้ําอัดลมตราสินคา X ใหกับบุคลอื่น 3.65 0.713
การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไปแมวาตราสินคาอื่นจะมีคุณลักษณะคลายกับ
น้ําอัดลมตรา X 3.68 0.712
การตอบสนองตอความคาดหวังในการซื้อน้ําอัดลมตรา X 3.74 0.707
การเปนตราสินคาแรกที่จะเลือกซื้อ 3.48 0.697
ความภักดีที่มีตอน้ําอัดลมตรา X 3.70 0.695
การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X แทนการซื้อตราสินคาอื่น ถึงแมวาจะมีความคลายกัน 3.80 0.677
ความเต็มใจที่จะจายเงินเพื่อซื้อน้ําอัดลมตรา X แมวาราคาของน้ําอัดลมตรา X สูงกวา
ตราสินคาอื่น
3.61 0.668
17วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
การรับรูคุณภาพของตราสินคา
ความชื่นชอบตอบริษัทซึ่งเปนผูผลิตสินคาน้ําอัดลมตรา X 3.85 0.757 0.845
การมีคุณภาพของน้ําอัดลมตรา X เมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.63 0.653
ความไมเปลี่ยนแปลงของรสชาติน้ําอัดลมตรา X เมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.58 0.615
รสชาติของน้ําอัดลมตรา X มีคุณภาพดีที่สุดในเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา 3.75 0.590
ความเปนผูนําในตลาดเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําของน้ําอัดลมตรา X 3.45 0.580
รสชาติของน้ําอัดลมตรา X มีคุณภาพสูงเมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.66 0.533
การไดรับความนิยมมากที่สุดในตลาดเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําของน้ําอัดลม
ตรา X 3.74 0.508
หมายเหตุ : X หมายถึง ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่ผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบในตอนที่ 1
ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในองคประกอบ
ความเชื่อมโยงตอตราสินคาและ การรูจักตราสินคา
องคประกอบ คาเฉลี่ย
คาน้ําหนัก
องคประกอบ
คาความ
เชื่อมั่น
ความเชื่อมโยงตอตราสินคา
ความชอบภาพลักษณของน้ําอัดลมตรา X 3.55 0.808 0.910
น้ําอัดลมตรา X มีความนาสนใจอยางมาก 3.42 0.803
ความเขาใจอยางชัดเจนในภาพลักษณของบุคคลที่เลือกซื้อน้ําอัดลมตรา X 3.46 0.787
ความนิยมชมชอบตอสินคาที่ผลิตจากบริษัทซึ่งเปนผูผลิตน้ําอัดลมตรา X 3.56 0.783
บุคลิกภาพบางอยางของน้ําอัดลมตรา X เขามาสูความคิดไดอยางรวดเร็ว 3.39 0.774
ชื่อของตราสินคา น้ําอัดลมตรา X เปนที่รูจักของผูคนทั่วไป 3.60 0.721
ความภาคภูมิใจตอการซื้อตราสินคาของบริษัท ซึ่งเปนผูผลิตน้ําอัดลมตรา X 3.53 0.696
ตราสินคา X มีความแตกตางจากตราสินคาอื่น 3.40 0.687
การรูจักตราสินคา
การจดจําตราสินคา X ไดมากกวาตราสินคาอื่น 4.21 0.737 0.793
ตราสินคา X เปนตราสินคาน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่สามารถนึกถึงได 3.84 0.685
การโฆษณาผานสื่อ และสิ่งพิมพตาง ๆ สงผลใหรูจักตราสินคา X มากขึ้น 3.80 0.679
ตราสินคา X เปนตราสินคาอันดับแรกที่ทานนึกถึง 3.73 0.675
เมื่อนึกถึงน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา มักนึกถึงตราสินคา X เสมอ 3.77 0.654
ความสามารถนึกถึงสัญลักษณ หรือ เครื่องหมายของตราสินคา X ไดอยางรวดเร็ว 4.04 0.648
หมายเหตุ : X หมายถึง ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่ผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบในตอนที่ 1
18 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
จากตารางที่ 2 และตารางที่ 3 พบวา การ
วิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่ม
น้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคา ได
องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาทั้งหมด 4
องคประกอบ พบวา
องคประกอบที่ 1 คือ ความภักดีตอตรา
สินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ ความภักดี
(Loyalty) ความตั้งใจซื้อสินคา (Purchase Intention)
ความพึงพอใจ (Satisfaction) การแนะนําสินคา
ใหกับบุคลอื่น (Recommendation) และราคา
ระดับสูง (Price Premium) โดยองคประกอบนี้มีคา
ความผันแปรสูงสุด และเปนองคประกอบที่มี
ความสําคัญที่สุดซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ
Aaker (1991) ที่กลาววา ความภักดีตอตราสินคา
เปนแกนหลักของมิติคุณคาตราสินคาที่มีความ
สําคัญแรกสุดโดยความภักดีตอตราสินคาเปน
สิ่งแสดงถึงความยึดมั่นและความพึงพอใจของ
ลูกคามีตอตราสินคา เชนเดียวกับ Jacoby (1971)
กลาววาความภักดีตอตราสินคาเปนการแสดงถึง
การซื้อซ้ําของลูกคา โดยแสดงถึงพฤติกรรมที่เปน
กระบวนการทางจิตวิทยาในการแสดงความเต็มใจ
ที่จะจายในการซื้อสินคา ดังนั้นการจัดการความ
ภักดีของลูกคาที่มีตอตราสินคาเปนสิ่งที่องคกร
ธุรกิจใหความสําคัญ ดวยความภักดีตอตราสินคา
ชวยควบคุมตนทุนทางการตลาด ทั้งยังชวยปองกัน
คูแขงขัน และทายที่สุดความภักดีตอตราสินคา
สงผลใหตราสินคามีความคงทน หรือยืนนาน ความ
ภักดีตอตราสินคาบงบอกถึงการซื้อสินคาในอนาคต
การซื้อตราสินคาเดิม และสงผลใหองคกรธุรกิจ
มีกําไรในระยะยาว (Aaker & Mills, 2005)
สําหรับองคประกอบที่ 2คือการรับรูคุณภาพ
ของตราสินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ
ระดับคุณภาพของสินคา (Quality Level) ความคงที่
ของคุณภาพ (Consistent Quality) ความเปนผูนํา
ตลาด (Category Leader) และความนิยมชมชอบ
ในตราสินคา (Popularity) ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด
ของ Aaker (1991) ที่กลาววา การรับรูคุณภาพของ
ตราสินคาเปนมิติที่สําคัญของคุณคาตราสินคา ดวย
การรับรูคุณภาพของลูกคาตอตราสินคา ลูกคารับรู
คุณภาพของตราสินคา ผานคุณภาพของสินคาที่
ลูกคามีประสบการณไดใชมาแลว โดยการรับรู
ระดับคุณภาพเกิดจากความแตกตางของคุณภาพที่
ลูกคารับรูผานการเปรียบเทียบคุณภาพตามการรับรู
ของลูกคา ดังนั้นการรับรูคุณภาพของตราสินคาจึง
สงผลตอองคประกอบทั้งหมดของแผนการตลาด
และการรับรูคุณภาพยังชวยสรางความแตกตาง
ใหกับตราสินคา เพื่อเพิ่มความสามารถทางการ
แขงขันของตราสินคาได ทั้งนี้ยังทําใหตราสินคา
สามารถตั้งราคาในระดับสูงไดเนื่องดวยตราสินคามี
คุณภาพ และไดรับความเชื่อถือ ความไววางใจจาก
ลูกคา (Aaker, 1996)
19วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
สวนองคประกอบที่ 3 คือ ความเชื่อมโยง
ตอตราสินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับมูลคา
ตราสินคา (Brand Value) บุคลิกภาพตราสินคา
(Brand Personality) และความเชื่อมโยงกับองคกร
ธุรกิจ (Organization Association) ซึ่งสอดคลองกับ
Keller (1993) กลาววา ความเชื่อมโยงตอตราสินคา
ที่มีตอลูกคาประกอบดวยความเชื่อมโยงของ
คุณสมบัติและคุณประโยชน และทัศนคติโดยรวม
ตอตราสินคาในเชิงบวก สงผลใหเกิดความพึงพอใจ
ตอตราสินคาของลูกคา โดยความเชื่อมโยงตอตรา
สินคาทําใหลูกคาตั้งใจซื้อสินคาและสงผลตอความ
สําเร็จของโปรแกรมทาง Aaker (1991) กลาววา
ความเชื่อมโยงตอตราสินคาเปนคุณลักษณะของ
ตราสินคา และคุณประโยชนตอลูกคาที่เชื่อมโยง
ความทรงจําของลูกคาเขากับตราสินคา ความเชื่อมโยง
ตอตราสินคามีบทบาทสําคัญตอการประเมิน
ตราสินคาและการเลือกตราสินคา นอกจากนี้
Hatch & Schultz (2001) กลาววา คุณคาตอตรา
สินคาเปนสิ่งที่เกี่ยวโยงตอการพิจารณาเพิ่มจาก
คุณประโยชน และลักษณะพื้นฐานของสินคา
สิ่งนี้จะกลายเปนการเพิ่มคุณคาใหกับสินคาและ
ลูกคา รวมถึงตราสินคาที่ไดรับความสนใจจาก
ลูกคามักมีบุคลิกภาพที่ตรงกับบุคลิกภาพของลูกคา
ดังนั้นการเปรียบใหตราสินคาเปนบุคคล สงผลให
ตราสินคานั้นมีความเชื่อมโยงไปกับความรูสึก และ
บุคลิกภาพของลูกคาเชนเดียวกัน และ Webster &
Keller (2004) กลาววา ความเชื่อมโยงขององคกร
ธุรกิจ รวมถึงผูมีสวนไดสวนเสียในองคกรลวนมีผล
ตอภาพลักษณในการสื่อสารตราสินคา เนื่องจาก
การสื่อสารไปยังลูกคาเปนสวนหนึ่งในการสงมอบ
ความคาดหวังที่ลูกคามีตอองคกร ทั้งนี้ยังเปนสิ่ง
สะทอนในการจัดการประสิทธิภาพการทํางานที่มี
คุณภาพใหกับลูกคาดวย
สุดทายองคประกอบที่ 4 คือ การรูจักตรา
สินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ การจดจํา
ตราสินคา (Brand Recognition) การระลึกถึงตรา
สินคา (Brand Recall) ตราสินคาอันเปนที่รูจัก
อันดับหนึ่ง (Top of Mind) และความคุนเคยตอ
ตราสินคา (Brand Familiarity) สอดคลองกับ
Keller (1993) กลาววา การรูจักตราสินคา เปน
ความสามารถของลูกคาในการระลึกถึงตราสินคา
และการจดจําตราสินคา จากความทรงจําของลูกคา
การรูจักตราสินคาจึงเปนปจจัยสําคัญในความตั้งใจ
ซื้อสินคาของลูกคา
เชนเดียวกับ Washburn & Plank (2002)
กลาววา การรูจักตราสินคาเปนสิ่งที่สําคัญในการ
สรางทัศนคติที่ดีตอตราสินคา เมื่อลูกคาตระหนักรู
ตอตราสินคา ลูกคาจะมีการประเมินขอมูล และ
สรางทัศนคติโดยรวมตอตราสินคานั้นขึ้นในความ
ทรงจํา ทั้งนี้เมื่อลูกคาเกิดทัศนคติที่ดีตอตราสินคา
แลว ตราสินคานั้นมีโอกาสที่ลูกคาตั้งใจซื้อตรา
สินคา รวมทั้งการตระหนักรูตอตราสินคายังผลตอ
สวนสําคัญในการสรางความแข็งแกรงของตรา
20 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
สินคาดวย ดังนั้น การรูจักตราสินคา สามารถระบุ
ความไดเปรียบทางการแขงขัน การรูจักตราสินคา
ทําใหลูกคาเกิดความคุนเคย การจดจําตราสินคา
และระลึกถึงตราสินคา โดยทั้งหมดนี้เปนแรงขับ
ใหลูกคาเกิดการตัดสินใจซื้อสินคา ทั้งนี้การรูจัก
ตราสินคาเปนสัญญาณของขอผูกมัดที่องคกร
ธุรกิจมีตอลูกคาดังนั้นลูกคาจึงมักซื้อตราสินคา
ที่ตนสามารถจดจํา ระลึกถึงและมีความคุนเคย
(Aaker, 1991)
5.บทสรุป และขอเสนอแนะ
5.1) บทสรุป
การวิจัยครั้งนี้มุงวิเคราะหองค
ประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาใน
อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา เขต
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา
องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลม
ประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาไดทั้งหมด 4
องคประกอบ และ 32 ตัวแปร ไดแก ความภักดีตอ
ตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความ
เชื่อมโยงตอตราสินคา และการรูจักตราสินคา
โดยองคประกอบความภักดีตอตราสินคามีคา
ความผันแปรเทากับ 13.570 และสามารถอธิบาย
ตัวแปรไดมากที่สุดถึงรอยละ 30.84
5.2) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลวิจัย
ไปประยุกตใช
5.2.1)การวิจัยครั้งนี้ไดคนพบ
องคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของ
ลูกคาในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท
น้ําดํา เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งพบวา
มี 4 องคประกอบ ไดแก ความภักดีตอตราสินคา
การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความเชื่อมโยงตอ
ตราสินคา และการรูจักตราสินคา โดยผูบริหาร
ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําสามารถ
นําองคประกอบดังกลาวขางตนไปใชสําหรับการยก
ระดับคุณคาตราสินคาจากมุมของลูกคา เพื่อเปน
แนวทาง และสรางความเขาใจตอคุณคาตราสินคา
จากมุมมองของลูกคา
5.2.2) ผูบริหารตราสินคาเครื่องดื่ม
น้ําอัดลมประเภทน้ําดําสามารถนําองคประกอบทั้ง
4 องคประกอบ มาใชเปนเครื่องมือในการบริหาร
ตราสินคา โดยอาศัยภาพสะทอนของคุณคาตรา
สินคาจากมุมมองของลูกคาเปนฐานในการขับเคลื่อน
การบริหารตราสินคา เพื่อกําหนด และพัฒนา
อัตลักษณตราสินคา โดยนําไปพัฒนากลยุทธทาง
การตลาด และเพิ่มสวนแบงทางการตลาด
5.3) ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้ง
ตอไป
5.3.1)การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิง
ปริมาณ ดังนั้นการวิจัยครั้งตอไปควรศึกษาในเชิง
คุณภาพโดยการสัมภาษณเจาะลึกกลุมลูกคาเพื่อให
เขาใจถึงคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาใน
อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
21วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
5.3.2) ควรมีการวิเคราะหองคประกอบ
คุณคาตราสินคา จากมุมมองของลูกคาใน
อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน
จังหวัด หรือเขตพื้นที่อื่น เพื่อทดสอบองคประกอบ
และไปพัฒนาองคประกอบคุณคาตราสินคาจาก
มุมมองของลูกคาโดยนํามาใชอางสรุป และยืนยันถึง
องคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา
ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน
ประเทศไทยและควรมีการวิเคราะหองคประกอบ
คุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในอุตสาหกรรม
เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําสี ดวยตลาดเครื่องดื่ม
น้ําอัดลมเปนตลาดที่มีมูลคาตลาดมากที่สุดใน
เครื่องดื่มประเภทปราศจากแอลกอฮอล และความ
ครอบคลุมความแตกตางของแตละตลาด
5.3.3) ควรมีการตรวจสอบความ
เหมาะสมขององคประกอบ และตัวแปร โดยการ
ทดสอบผานการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน
แบบโมเดลสมการโครงสรางเชิงสาเหตุ เพื่อยืนยัน
ขอมูลเชิงประจักษ วาคุณคาตราสินคาจากมุมมอง
ของลูกคาใดที่สงผลตอปจจัยทางการตลาดอื่นๆ
หรือไม อาทิ ความตั้งใจซื้อสินคา พฤติกรรมการซื้อ
และปจจัยสวนประสมทางการตลาด เปนตน
เอกสารอางอิง
กรมการปกครอง. (2554).คนเมื่อ 10 มกราคม
2555. จาก http://stat.bora.dopa.go.th.
ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานภาคเหนือ.
(2553). รายงานแนวโนมธุรกิจ ฉบับ
เดือนมิถุนายน. คนเมื่อ 16 กรกฎาคม
2554. จาก
http://www.bot.or.th/Thai/Economic .
ผูจัดการรายสัปดาห. (2549).กลยุทธบริหารยักษ
ใหญ เปปซี่ ตองขยันสรางความ
จงรักภักดี.คนเมื่อ 16 กรกฎาคม 2554,
จาก http://www.gotomanager.com/
news/details.aspx?id=49932.
Aaker, D.A. (1991). Managing Brand Equity:
Capitalization the Value of a Brand
Name. New York : Free Press.
Aaker, D.A. (1996). Building Strong Brand.
New York : the Free Press.
Aaker, D.A., & Mills, M. K. (2005). Strategic
Market Management. Australia : John
Wiley and Sons.
Chen,C.F., & Tseng, W. S. (2010). Exploring
Customer-based brand Airline brand
equity: Evidence from Taiwan.
Transportation Journal, Winter.
49(1) , 24-34.
22 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
Cochran, L.J. (1977). Sampling Techniques.
New York: Wiley.
Davis, D. F., Golicic, S. L & Marquardt, A.
(2009). Measuring brand equity for
logistics services. The International
Journal of Logistics Management.
20(2), 201-212.
Hatch, M.J., & Schultz, M. (2001). Are the
strategic signs aligned for your
corporate brand?, Harvard Business
review, February, 1-8.
Hair, JosephF. Jr., Black,William C., Babin,
Barry J. & Anderson, R. E. (2010).
Multivariate Data Analysis: A Global
Perspective. Pearson Education, Inc.,
Upper SaddleRiver, New Jersey, USA:
Seventh Edition.
Helander, M.G., & Khalid, H.M.(2000).
Modeling the customer in electronic
commerce.Applied Ergonomics,
31(6), 609-619.
Jacoby, J. (1971).A model of multi-brand
Loyalty. Journal of Advertising
Research, 11(3), 25-31.
Keller, K. L. (1993).Conceptualizing,
measuring & managing customer-
based brand equity. Journal of
Marketing. January, 57, 1-22.
Lee, G.C., Leh, F.C., & Yew. (2011).
Dimensions of Customer-Based Brand
Equity: A Study on Malaysian Brands.
Journal of Marketing Research and
Case Studies.
Pappu,R., Quester, P.G., & Cooksey,
R. W. (2006). Consumer-based brand
equity; improving the measurement –
empirical evidence. The Journal of
Product and Brand Management,
24, 143-154.
Peter, P. J. & Olson, J. C.(2008).Consumer
Behavior and Marketing Strategy.
(8 th ed.). New York: McGraw-Hill.
Thailand Foodand DrinkReport Q1.(2010).
Business Monitor International Ltd.
Tong, X., & Hawley, T.M.(2009a). Creating
brand equity in theChineseclothing
market: the Effect of selected marketing
activities on brand equity dimensions.
Journal of Fashion Marketing and
Management, 13, 566-581.
Tong, X., & Hawley, T.M. (2009b). Measuring
customer – based brand equity: empirical
evidence from the sportswear market
inChina.JournalofProductand Brand
Management.April,18,262-271.
23วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555
Washburn, J., & Plank, R. E.(2002). Measuring
brand equity: an Evaluation of a
consumer-Based brand equity scale.
Journal of Marketing Theory and
Practice, Winter, 10, 46-62.
Webster,F.E. Jr., & Keller, K.L. (2004).“A
roadmap for branding in industrial
markets”, BrandManagement,
11 (5), 388-402.
Yoo, B., Donthu, N. & Lee, S. (2000). An
examination of selected marketing mix
elements and brand equity. Academy of
Marketing Science. Journal Spring,
28, 198-211.
Yoo, B., & Donthu, N. (2001). Developing and
validating a multidimensional
consumer-based brand equity scale.
Journal of business Research, 25, 1-14.
24 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555

More Related Content

Viewers also liked

Purpose of Missionary Work FRENCH
Purpose of Missionary Work FRENCHPurpose of Missionary Work FRENCH
Purpose of Missionary Work FRENCHdearl1
 
Intelligence, Light, Truth in FRENCH
Intelligence, Light, Truth in FRENCHIntelligence, Light, Truth in FRENCH
Intelligence, Light, Truth in FRENCHdearl1
 
Missionary Plan of Salvation FRENCH
Missionary Plan of Salvation FRENCHMissionary Plan of Salvation FRENCH
Missionary Plan of Salvation FRENCHdearl1
 
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !Certimore
 
HOLA in FRENCH
HOLA in FRENCHHOLA in FRENCH
HOLA in FRENCHdearl1
 
Apostasy and Restoration in French
Apostasy and Restoration in FrenchApostasy and Restoration in French
Apostasy and Restoration in Frenchdearl1
 
Hábitos de alimentacion saludable
Hábitos de alimentacion saludableHábitos de alimentacion saludable
Hábitos de alimentacion saludableAmronaalonso
 
7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts
7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts
7 waystomeasuresocialrecruiting finalpptsJobvite
 
Future of Social Recruiting - Dallas, TX
Future of Social Recruiting - Dallas, TXFuture of Social Recruiting - Dallas, TX
Future of Social Recruiting - Dallas, TXJobvite
 
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad Pública
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad PúblicaDemanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad Pública
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad PúblicaFUSADES
 
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs Native
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs NativeAppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs Native
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs NativeExove
 

Viewers also liked (20)

Portfolio JA
Portfolio JAPortfolio JA
Portfolio JA
 
Actividadde aprendizaje8
Actividadde aprendizaje8Actividadde aprendizaje8
Actividadde aprendizaje8
 
El arandano
El arandanoEl arandano
El arandano
 
Purpose of Missionary Work FRENCH
Purpose of Missionary Work FRENCHPurpose of Missionary Work FRENCH
Purpose of Missionary Work FRENCH
 
Intelligence, Light, Truth in FRENCH
Intelligence, Light, Truth in FRENCHIntelligence, Light, Truth in FRENCH
Intelligence, Light, Truth in FRENCH
 
Missionary Plan of Salvation FRENCH
Missionary Plan of Salvation FRENCHMissionary Plan of Salvation FRENCH
Missionary Plan of Salvation FRENCH
 
3.1 informatica
3.1 informatica3.1 informatica
3.1 informatica
 
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !
PEB à Bruxelles - ce qu'un professionnel de l'immobilier doit savoir !
 
HOLA in FRENCH
HOLA in FRENCHHOLA in FRENCH
HOLA in FRENCH
 
Apostasy and Restoration in French
Apostasy and Restoration in FrenchApostasy and Restoration in French
Apostasy and Restoration in French
 
Van o vpn aplicacion
Van o vpn  aplicacionVan o vpn  aplicacion
Van o vpn aplicacion
 
Consome
Consome Consome
Consome
 
Hábitos de alimentacion saludable
Hábitos de alimentacion saludableHábitos de alimentacion saludable
Hábitos de alimentacion saludable
 
íNdice de contenidos
íNdice de contenidosíNdice de contenidos
íNdice de contenidos
 
7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts
7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts
7 waystomeasuresocialrecruiting finalppts
 
Future of Social Recruiting - Dallas, TX
Future of Social Recruiting - Dallas, TXFuture of Social Recruiting - Dallas, TX
Future of Social Recruiting - Dallas, TX
 
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad Pública
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad PúblicaDemanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad Pública
Demanda de inconstitucionalidad a la Ley de Probidad Pública
 
A.J.Raos Short Verse
A.J.Raos Short VerseA.J.Raos Short Verse
A.J.Raos Short Verse
 
Nadia moussa's presentation
Nadia moussa's presentationNadia moussa's presentation
Nadia moussa's presentation
 
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs Native
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs NativeAppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs Native
AppTalk Frontline: Web vs Hybrid vs Native
 

Similar to การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณค่าตราสินค้าจากมุมมองของลูกค้าในอุตสาหกรรมน้ำอัดลม

กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...Vachirawit Treemake
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...LoRy7
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)Chamada Rinzine
 
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)Khanchai1
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity PümPüy Ża
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureNattakorn Sunkdon
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรZiwapohn Peecharoensap
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ DrDanai Thienphut
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5singhabizcourse
 

Similar to การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณค่าตราสินค้าจากมุมมองของลูกค้าในอุตสาหกรรมน้ำอัดลม (20)

096 kuntinun
096 kuntinun096 kuntinun
096 kuntinun
 
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
 
Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Brand value
Brand valueBrand value
Brand value
 
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
Case Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead UserCase Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead User
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5Photo caption sbc3_week5
Photo caption sbc3_week5
 

การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณค่าตราสินค้าจากมุมมองของลูกค้าในอุตสาหกรรมน้ำอัดลม

  • 1. 9วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 การวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม* พงศศิริ คําขันแกว** บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือผูบริโภคเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดํา ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จํานวน 328 ราย มีแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการวิจัย โดยมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.939 และวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหองคประกอบ ผลการวิจัยพบวา องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคา มี 4 องคประกอบ และ 32 ตัวแปร ไดแก ความภักดีตอตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความเชื่อมโยง ตอตราสินคา และการรูจักตราสินคา โดยมีคาน้ําหนักองคประกอบระหวาง 0.508 ถึง 0.808 การวิจัยไดให ขอเสนอแนะหลายประการสําหรับผูบริหารตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา และผูที่สนใจศึกษาดาน องคประกอบคุณคาตราสินคาเพื่อเปนแนวทางในการเสริมสรางคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา และ เสริมสรางความไดเปรียบตอการสรางตราสินคาตอไป คําสําคัญ : การวิเคราะหองคประกอบ คุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา * สวนหนึ่งของวิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม ** นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม
  • 2. 10 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 The Factor Analysis of Customer-Based Brand Equity of the Black Carbonated Beverage Industry in Mueang District, Chiang Mai Province* Pongsiri Kamkankaew** Abstract The objective of this research was to analyze the components of the customer-based brand equity of the black carbonated beverage industry in Mueang District, Chiang Mai Province. The sample groups were consisted of 328 customers who have been drinking the black carbonated beverage. The research instrument was questionnaires, which tested for the reliability as 0.939 and the data analysis was done by using the factor analysis. The results of the research found that the customer-based brand equity of the black carbonated beverage industry has four components and thirty – two variables as follows brand loyalty, brand perceived quality, brand association and brand awareness. The factor loading of these components was 0.508 – 0.808. In conclusion, this research was provided several key recommendations for Brand Manager’s the black carbonated beverage industry and market educator with valuable guideline for customer-based brand equity enhancingand competitive advantage of brandingenhancing. Key words :Factor Analysis; Customer-Based Brand Equity; Black Carbonated Beverage * Part of Thesis for the degree of Master of Business Administration, Faculty of Business Administration Payap University, Chiang Mai Province. ** Graduate students, School of Business Administration, Payap University, Chiang Mai Province.
  • 3. 11วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 1. บทนํา คุณคาตราสินคาเปนผลตางของความรู เกี่ยวกับตราสินคาจากมุมมองของลูกคา (Customer – Based Brand Equity) ที่เกิดจากการดําเนิน กิจกรรมทางการตลาด (Keller, 1993) ดังนั้นคุณคา ตราสินคามีสวนชวยใหเกิดการรับรูของลูกคาที่มีตอ ตราสินคา สงผลใหลูกคาเกิดความไววางใจตอตรา สินคา และการตัดสินใจซื้อสินคาซ้ํา ทั้งยังเพิ่ม ประสิทธิภาพของโปรแกรมการตลาด และชวย พัฒนากลยุทธทางการตลาด รวมไปถึงการขยายตรา สินคา (Peter & Olson, 2008) สงผลใหองคการ ธุรกิจมียอดขายที่เพิ่มมากขึ้น อันเปนการแสดงถึง สวนแบงทางการตลาดที่มากขึ้นดวย (Helander & Khalid, 2000) คุณคาตราสินคาจากมุมมองของ ลูกคาจึงมีบทบาทสําคัญในการสรางความสําเร็จ ทางการตลาด (Aaker, 1991) ในป พ.ศ. 2554 ตลาดเครื่องดื่มปราศจาก แอลกอฮอล (Non – Alcoholic Drinks) มีมูลคา ตลาดประมาณ 224,000 ลานบาท (Thailand Food and Drink Report Q1, 2011) โดยเครื่องดื่มน้ําอัดลม มีสวนแบงทางการตลาดรอยละ 25 มีมูลคากวา 36,000 ลานบาท โดยตลาดน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา (Black Carbonated Drinks) เปนตลาดเครื่องดื่มที่มี ขนาดใหญ โดยมีสวนแบงทางการตลาดถึงรอยละ 70 ของตลาดเครื่องดื่มประเภทน้ําอัดลมทั้งหมด มูลคากวา 26,000 ลานบาทจากมูลคาตลาดรวม (กลยุทธบริหารยักษใหญ เปปซี่ตองขยันสรางความ จงรักภักดี, 2554) สงผลใหเกิดการแขงขันทาง การตลาดในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดํา กอปรกับมีผูประกอบการรายใหมเขา มาในตลาด อาทิ บิ๊ก โคลา (Big Cola) ประเทศเปรู กอปรกับในป พ.ศ. 2553 ดัชนีการอุปโภคบริโภค ของภาคเอกชนในจังหวัดเชียงใหมปรับตัวดีขึ้น จากป พ.ศ. 2552 รอยละ 1.70 (ธนาคารแหงประเทศ ไทย สํานักงานภาคเหนือ, 2553) รวมถึงในเขต อําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม มีกลุมธุรกิจคาปลีก ขนาดใหญมากที่สุดในภาคเหนือทั้งหางสรรพสินคา ขนาดใหญ (กรมการคาภายใน,2554) รวมถึง กลุมธุรกิจคาปลีก อาทิ บิ๊กซีซุปเปอรเซ็นเตอร เทสโก-โลตัส ที่มีการผลิตน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา ออกจําหนายในนามตราสินคาของธุรกิจตนดวย จึง ทําใหการแขงขันตลาดเครื่องดื่มประเภทน้ําดําใน จังหวัดเชียงใหมทวีความรุนแรงมากขึ้น ถึงแมจะมีงานวิจัยที่นําแนวคิดคุณคาตรา สินคาจากมุมมองของลูกคาไปประยุกตใชใน งานวิจัยทางธุรกิจที่แตกตางกันในหลายประเทศ อาทิ ธุรกิจสายการบิน ธุรกิจบริการขนสง ธุรกิจ รานอาหาร ธุรกิจเสื้อผา และธุรกิจเครื่องดื่ม (Lee & Leh, 2010) ทวายังไมพบวามีการนําไปประยุกต และมุงวิเคราะหองคประกอบเชิงสํารวจคุณคาตรา สินคาจากมุมมองของลูกคาที่เหมาะสมสําหรับ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน
  • 4. 12 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 ประเทศไทย ซึ่งการวิเคราะหองคประกอบในการ วิจัยครั้งนี้จะทําใหทราบองคประกอบ หรือปจจัยที่ เสริมสราง และพัฒนาคุณคาตราสินคาจากมุมมอง ของลูกคาในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดํา อันจะเปนประโยชนตอการบริหาร ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา ทั้งยัง เสริมสรางศักยภาพการแขงขันทางการตลาด รวมทั้งเปนสารสนเทศเบื้องตนในการดําเนิน แผนงานทางการตลาด สนับสนุนการกําหนด กลยุทธทางการตลาดและการบริหารคุณคาตราสินคา จากมุมมองของลูกคา การพัฒนาโปรแกรมการ สื่อสารทางการตลาด และสรางความไดเปรียบ ทางการแขงขันเพื่อใหเกิดการดําเนินงานทาง การตลาดในระยะยาวอยางมีประสิทธิภาพตอไป 2. วัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหองคประกอบคุณคาตรา สินคาจากมุมมองของลูกคาในอุตสาหกรรม เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 3. วิธีการวิจัย 3.1) ขอบเขตของตัวแปรที่ใชในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้พัฒนากรอบความคิดในการ วิจัยจากแนวคิดคุณคาตราสินคาของ (Aaker, 1991, 1996) และ (Keller, 1993) รวมถึงงานวิจัยของ (Yoo, Donthu & Lee, 2000) (Yoo &Donthu,2001) (Pappu, Quester & Cooksey, 2006) (Davis, Golicic & Marquardt, 2009) (Tong & Hawley, 2009a, 2009b) (Chen & Tseng, 2010) และ (Lee & Leh, 2011) ทั้งนี้กรอบความคิดในการวิจัยที่พัฒนาขึ้นถูก นํามาบูรณาการเปนตัวแปรที่ใชในการวิจัยจํานวน ทั้งหมด 4 องคประกอบ และไดตัวแปรทั้งหมด 44 ตัวแปร รายละเอียดดังนี้ 3.1.1) องคประกอบดานการรูจัก ตรา สินคา (Brand Awareness) สามารถระบุความได เปรียบทางการแขงขัน (Competitive Advantage) การรูจักตราสินคา ทําใหลูกคาเกิดความคุนเคย (Familiar) การจดจําตราสินคา (Recognition) และ ระลึกถึงตราสินคา (Recall) โดยทั้งหมดนี้เปนแรง ขับ (Drive) ใหลูกคาเกิดการตัดสินใจซื้อสินคาทั้งนี้ การรูจักตราสินคาเปนสัญญาณ (Signal) ของขอ ผูกมัด (Commitment)ที่องคกรธุรกิจมีตอลูกคา ดังนั้นลูกคาจึงมักซื้อตราสินคาที่ตนสามารถจดจํา ระลึกถึงและมีความคุนเคย (Aaker, 1991)(Aaker & Mills, 2005) และ (Keller, 1993) ทั้งนี้จากการ ทบทวนวรรณกรรมพบวาองคประกอบดานการ รูจักตราสินคามีทั้งหมด 13 ตัวแปร 3.1.2) องคประกอบดานความ เชื่อมโยงตอตราสินคา (Brand Associations) คือ คุณลักษณะของตราสินคา (Product Attributes) คุณประโยชนตอลูกคา (Customer Benefit) ที่ เชื่อมโยงความทรงจําของลูกคาที่มีตอตราสินคา
  • 5. 13วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 ความเชื่อมโยงตอตราสินคามีบทบาทสําคัญตอการ ประเมินตราสินคา (Product Evaluation) และการ เลือกตราสินคา (BrandChoices) ดวยความเชื่อมโยง ตอตราสินคาชวยใหลูกคามีทัศนคติที่ดีตอตรา สินคา (Aaker, 1991) และ (Keller, 1993) ทั้งนี้จาก การทบทวนวรรณกรรมพบวาองคประกอบความ เชื่อมโยงตอดานตราสินคามีทั้งหมด 9 ตัวแปร 3.1.3) องคประกอบดานการรับรู คุณภาพของตราสินคา(Brand PerceivedQuality) เปนการรับรูของลูกคาตอเหตุผลในการซื้อตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคาสะทอนถึงคุณภาพที่ เหนือกวาสินคาตราอื่นของตราสินคาตราใดตราหนึ่ง คุณลักษณะของสินคาเปนสิ่งที่ทําใหลูกคาไดรับ ทราบถึงความแตกตางและตําแหนงของสินคานั้น ดังนั้นสิ่งที่องคกรธุรกิจตองทําคือ การเอาใจใส ตอคุณภาพของตราสินคา (Regard to Quality) (Aaker,1991)ทั้งนี้จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา องคประกอบดานการรับรูคุณภาพของตราสินคามี ทั้งหมด10ตัวแปร 3.1.4) องคประกอบดานความภักดีตอ ตราสินคา (Brand Loyalty) เปนแกนหลักของมิติ คุณคาตราสินคา ที่มีความสําคัญแรกสุด (Instances) ความภักดีตอตราสินคา เปนสิ่งแสดงถึงความยึดมั่น และความพึงพอใจของลูกคามีตอตราสินคา ความ ภักดีตอตราสินคาชวยควบคุมตนทุนทางการตลาด ทั้งยังชวยปองกันคูแขงขัน ในตลาดเดียวกัน และ ทายที่สุดความภักดีตอตราสินคาสงผลใหตราสินคา มีความคงทน หรือยืนนาน (BrandEnduring) ดังนั้น การจัดการความภักดีของลูกคาที่มีตอตราสินคาเปน สิ่งที่องคกรธุรกิจใหความสําคัญ ดวยความภักดีตอ ตราสินคาบงบอกถึง การซื้อสินคาในอนาคต การ ซื้อตราสินคาเดิม สวนแบงทางการตลาด และสงผล ใหองคกรธุรกิจมีกําไรในระยะยาว (Aaker, 1991) (Aaker & Mills, 2005) ทั้งนี้จากการทบทวน วรรณกรรมพบวาองคประกอบดานความภักดีตอ ตราสินคามีทั้งหมด 12 ตัวแปร 3.2) ประชากร และกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ ผูบริโภคที่ดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา ใน เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ในการศึกษาครั้งนี้ ไมสามารถทราบจํานวนของผูบริโภคที่ดื่มเครื่องดื่ม น้ําอัดประเภทน้ําดํา จึงใชวิธีการคํานวณหากลุม ตัวอยางจากสูตรของ (Cochran, 1977) ไดขนาด ตัวอยาง(n)= 384รายและการเก็บขอมูลแบบบังเอิญ (AccidentalSampling)ทั้งนี้จากการแจกแบบสอบถาม พบวาแบบสอบถามที่มี ความสมบูรณจากการตอบ จํานวน328ฉบับคิดเปนรอยละ85.41 3.3) แบบสอบถามที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามการวิจัยครั้งนี้ จากกรอบความคิดในการวิจัยโดยแบบสอบถาม
  • 6. 14 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 แบงออกเปน 2 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท น้ําดํา โดยขอคําถามเปนมาตรวัดแบบสํารวจ รายการ (Check List) ตอนที่ 2 องคประกอบคุณคา ตราสินคาจากมุมมองของลูกคา ปรับปรุงขอคําถาม จากแนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งนี้ขอคําถามมี ลักษณะปลายปด ใชมาตราวัดประเมินผลคา 5 ระดับ (5 Likert Scale) โดย 5 คะแนน หมายถึง เห็น ดวยอยางยิ่ง และ 1 คะแนน หมายถึง ไมเห็นดวย อยางยิ่ง 3.4) การวิเคราะหขอมูล คาสถิติที่ผูวิจัยใชในการวิเคราะห ไดแก คาความถี่ คารอยละ และการหาองคประกอบ เชิงสํารวจ (ExploratoryFactorAnalysis) ทั้งนี้ ขอมูล ที่ไดนําเสนอในรูปแบบบรรยายเชิงพรรณนาทั้งนี้คา ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับโดยใชสูตร สัมประสิทธิ์ อัลฟาครอนบัค (Cronbach Coefficient Alpha)เทากับ0.939 3.5) การทดสอบขอตกลงเบื้องตนในการวิเคราะห องคประกอบเชิงสํารวจมีรายละเอียดดังนี้ 3.5.1) กลุมตัวอยางที่ใชควรมากกวา 100 คน (Hair, 2010) จากขอกําหนดดังกลาวพบวา การวิจัยครั้งนี้มีกลุมตัวอยางจํานวน 328 คน 3.5.2) ความสัมพันธระหวางตัวแปร แตละขอตองสูงกวา 0.30 (Hair, 2010) จาก ขอกําหนดดังกลาวพบวาความสัมพันธระหวางขอ คําถามที่มีคาสูงกวา 0.30 มี 409 คู 3.5.3) การพิจารณาคา KMO (Kaiser- Mayer-Olkin Measure of Sampling Adequacy) เพื่อวัดความเหมาะสมของขอมูลที่นํามาวิเคราะห องคประกอบทั้งหมดควรมีคามากกวา 0.50 (Hair, 2010) แสดงดังตารางที่ 1 ทั้งนี้จากตารางที่ 1 พบวา คา KMO ที่ไดคือ 0.937 แสดงวาขอมูลที่มีอยู ความเหมาะสมที่นํามาวิเคราะหองคประกอบตอไป และคา Bartlett’s Test of Sphericity ที่ใชทดสอบ ตารางที่ 1 แสดงคา KMO และ คา Bartlett’s Test of Sphericity Kaiser-Mayer-OlkinMeasure of Sampling Adequacy 0.937 Bartlett’s Test of Sphericity Approx. Chi-Square 8707.703 Df 946 Sig. 0.00
  • 7. 15วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 สมมุติฐานมีคา Chi-Square 8,707.703 ไดคา p = 0.00 จึงปฏิเสธสมมุติฐาน (H0) ยอมรับ สมมุติฐาน (H1) กลาวคือ ตัวแปรทั้ง 44 ตัวแปร มี ความสัมพันธกัน ดังนั้นจากการทดสอบขอตกลง เบื้องตนในการวิเคราะหองคประกอบดังกลาว สามารถสรุปไดวาขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวม มีความเหมาะสมที่จะนํามาใชในวิเคราะห องคประกอบตอไป 3.6)ขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบ ในขั้นตอนของการวิเคราะหองคประกอบ ผูวิจัยเลือกหมุนแกนปจจัย(FactorRotation) โดยการ หมุนแกนแบบมุมฉาก(Orthogonal) ซึ่งเปนการหมุน แกนจากตําแหนงเดิมในลักษณะตั้งฉากกันตลอด เปนการหมุนแกนที่องคประกอบแตละองคประกอบ เปนอิสระตอกัน หรือไมมีความสัมพันธกัน ซึ่ง วิธีของการหมุนแกนแบบมุมฉากที่ใชคือ แบบ วาริแมกซ (Varimax) เพื่อลดจํานวนตัวแปร ในแตละองคประกอบโดยจํานวนรอบในการสกัด องคประกอบ 25 รอบ (Hair, 2010) การพิจารณาการสกัดปจจัย(Factor Extrac tion) โดยวิธีองคประกอบ(Principal Component) จะพิจารณาจากปจจัยที่มีคาความผันแปร (Eigen Values) หรือคาความแปรปรวนทั้งหมดที่มากกวา 1 และคาน้ําหนักองคประกอบ (Factor Loading) ที่มากกวา 0.35 (Hair, 2010) โดยพบวา คาความ ผันแปร ที่ไดมากกวา 1 มีเพียง 4 องคประกอบ โดยองคประกอบแรกสามารถอธิบายตัวแปรได มากที่สุดถึงรอยละ 30.842 ทั้งนี้จากการพิจารณา คาน้ําหนักองคประกอบของตัวแปรที่มีคานอยกวา 0.35 พบวา เหลือตัวแปรที่สามารถนํามาจําแนก องคประกอบไดทั้งหมด32ตัวแปร 4.ผลการศึกษาและอภิปรายผล 4.1)ผลการวิจัย ขอมูลทั่วไป และพฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มอัดลมประเภทน้ําดํา พบวา กลุมตัวอยาง สวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 193 คน คิดเปน รอยละ58.84 และเพศหญิงจํานวน 135 คน คิดเปน รอยละ 41.16 กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุอยูใน ชวงระหวาง 19-24 ป จํานวน 184 คน คิดเปน รอยละ 56.10 และเปนนักเรียน หรือ นักศึกษา จํานวน176 ราย คิดเปนรอยละ 53.66 โดยมีรายได เฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 5,000 บาท จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 32.31 ทั้งนี้พฤติกรรมของกลุม ตัวอยางสวนใหญชอบดื่มน้ําเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดําขนาดกระปองมากที่สุด คิดเปน รอยละ 70.50 โดยดื่มเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท น้ําดํา2ถึง3ครั้ง ตอสัปดาหรอยละ 36.58 ในขณะ ที่กลุมตัวอยาง สวนใหญชอบดื่มใน เวลาสังสรรค กับเพื่อนหรือผูรวมงานรอยละ 49.69 โดยโทรทัศน เปนสื่อที่กลุมตัวอยางสวนใหญเคยเห็น หรือไดยิน โฆษณาเครื่องดื่มอัดลมประเภทน้ําดํามากที่สุด คิดเปนรอยละ 70.42 สําหรับตราสินคาเครื่องดื่ม
  • 8. 16 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 น้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่กลุมตัวอยางดื่มมากที่สุดคือ ตราโคคา-โคลาจํานวน144คนคิดเปนรอยละ 43.90 ตราเปปซี่จํานวน118 คน คิดเปนรอยละ 35.98 และ ตราบิ๊ก-โคลาจํานวน66คนคิดเปนรอยละ20.12 การวิเคราะหองคประกอบยืนยันคุณคา ตราสินคาจากมุมมองของลูกคาจากการวิเคราะห องคประกอบของตัวแปรองคประกอบคุณคาตรา สินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมอง ของลูกคาโดยแตละตัวแปรที่สรางองคประกอบตอง มีคาน้ําหนักองคประกอบตองมากกวา 0.35 ผลการ วิเคราะหหาองคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่ม น้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาได 4 องคประกอบ ผูวิจัยไดใหความหมายองคประกอบ (Factor Meaning) ซึ่งสรุปไดจากแนวคิด และทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ รายละเอียดดังตารางที่ 2 และตารางที่3 ตารางที่ 2 แสดงการวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในองคประกอบความภักดีตอตราสินคา และ การรับรูคุณภาพตอตราสินคา องคประกอบ คา เฉลี่ย คาน้ําหนัก องคประกอบ คาความ เชื่อมั่น ความภักดีตอตราสินคา การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไป แมวาน้ําอัดลมยี่หออื่นจะมีการสงเสริมการ ขาย อาทิ ลดราคา และการใหของแถม 3.75 0.783 0.925 การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไป แมราคาจะสูงขึ้น 3.71 0.780 การไมซื้อตราสินคาอื่นหาก ตราสินคาX ไมวางขายในรานคา 3.76 0.774 ความพึงพอใจที่มีตอตราสินคา X 3.69 0.733 ความตองการแนะนําน้ําอัดลมตราสินคา X ใหกับบุคลอื่น 3.65 0.713 การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X ตอไปแมวาตราสินคาอื่นจะมีคุณลักษณะคลายกับ น้ําอัดลมตรา X 3.68 0.712 การตอบสนองตอความคาดหวังในการซื้อน้ําอัดลมตรา X 3.74 0.707 การเปนตราสินคาแรกที่จะเลือกซื้อ 3.48 0.697 ความภักดีที่มีตอน้ําอัดลมตรา X 3.70 0.695 การยืนยันซื้อดื่มน้ําอัดลมตรา X แทนการซื้อตราสินคาอื่น ถึงแมวาจะมีความคลายกัน 3.80 0.677 ความเต็มใจที่จะจายเงินเพื่อซื้อน้ําอัดลมตรา X แมวาราคาของน้ําอัดลมตรา X สูงกวา ตราสินคาอื่น 3.61 0.668
  • 9. 17วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความชื่นชอบตอบริษัทซึ่งเปนผูผลิตสินคาน้ําอัดลมตรา X 3.85 0.757 0.845 การมีคุณภาพของน้ําอัดลมตรา X เมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.63 0.653 ความไมเปลี่ยนแปลงของรสชาติน้ําอัดลมตรา X เมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.58 0.615 รสชาติของน้ําอัดลมตรา X มีคุณภาพดีที่สุดในเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา 3.75 0.590 ความเปนผูนําในตลาดเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําของน้ําอัดลมตรา X 3.45 0.580 รสชาติของน้ําอัดลมตรา X มีคุณภาพสูงเมื่อเปรียบเทียบกับตราสินคาอื่น 3.66 0.533 การไดรับความนิยมมากที่สุดในตลาดเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําของน้ําอัดลม ตรา X 3.74 0.508 หมายเหตุ : X หมายถึง ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่ผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบในตอนที่ 1 ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในองคประกอบ ความเชื่อมโยงตอตราสินคาและ การรูจักตราสินคา องคประกอบ คาเฉลี่ย คาน้ําหนัก องคประกอบ คาความ เชื่อมั่น ความเชื่อมโยงตอตราสินคา ความชอบภาพลักษณของน้ําอัดลมตรา X 3.55 0.808 0.910 น้ําอัดลมตรา X มีความนาสนใจอยางมาก 3.42 0.803 ความเขาใจอยางชัดเจนในภาพลักษณของบุคคลที่เลือกซื้อน้ําอัดลมตรา X 3.46 0.787 ความนิยมชมชอบตอสินคาที่ผลิตจากบริษัทซึ่งเปนผูผลิตน้ําอัดลมตรา X 3.56 0.783 บุคลิกภาพบางอยางของน้ําอัดลมตรา X เขามาสูความคิดไดอยางรวดเร็ว 3.39 0.774 ชื่อของตราสินคา น้ําอัดลมตรา X เปนที่รูจักของผูคนทั่วไป 3.60 0.721 ความภาคภูมิใจตอการซื้อตราสินคาของบริษัท ซึ่งเปนผูผลิตน้ําอัดลมตรา X 3.53 0.696 ตราสินคา X มีความแตกตางจากตราสินคาอื่น 3.40 0.687 การรูจักตราสินคา การจดจําตราสินคา X ไดมากกวาตราสินคาอื่น 4.21 0.737 0.793 ตราสินคา X เปนตราสินคาน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่สามารถนึกถึงได 3.84 0.685 การโฆษณาผานสื่อ และสิ่งพิมพตาง ๆ สงผลใหรูจักตราสินคา X มากขึ้น 3.80 0.679 ตราสินคา X เปนตราสินคาอันดับแรกที่ทานนึกถึง 3.73 0.675 เมื่อนึกถึงน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา มักนึกถึงตราสินคา X เสมอ 3.77 0.654 ความสามารถนึกถึงสัญลักษณ หรือ เครื่องหมายของตราสินคา X ไดอยางรวดเร็ว 4.04 0.648 หมายเหตุ : X หมายถึง ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําที่ผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบในตอนที่ 1
  • 10. 18 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 จากตารางที่ 2 และตารางที่ 3 พบวา การ วิเคราะหองคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่ม น้ําอัดลมประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคา ได องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาทั้งหมด 4 องคประกอบ พบวา องคประกอบที่ 1 คือ ความภักดีตอตรา สินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ ความภักดี (Loyalty) ความตั้งใจซื้อสินคา (Purchase Intention) ความพึงพอใจ (Satisfaction) การแนะนําสินคา ใหกับบุคลอื่น (Recommendation) และราคา ระดับสูง (Price Premium) โดยองคประกอบนี้มีคา ความผันแปรสูงสุด และเปนองคประกอบที่มี ความสําคัญที่สุดซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Aaker (1991) ที่กลาววา ความภักดีตอตราสินคา เปนแกนหลักของมิติคุณคาตราสินคาที่มีความ สําคัญแรกสุดโดยความภักดีตอตราสินคาเปน สิ่งแสดงถึงความยึดมั่นและความพึงพอใจของ ลูกคามีตอตราสินคา เชนเดียวกับ Jacoby (1971) กลาววาความภักดีตอตราสินคาเปนการแสดงถึง การซื้อซ้ําของลูกคา โดยแสดงถึงพฤติกรรมที่เปน กระบวนการทางจิตวิทยาในการแสดงความเต็มใจ ที่จะจายในการซื้อสินคา ดังนั้นการจัดการความ ภักดีของลูกคาที่มีตอตราสินคาเปนสิ่งที่องคกร ธุรกิจใหความสําคัญ ดวยความภักดีตอตราสินคา ชวยควบคุมตนทุนทางการตลาด ทั้งยังชวยปองกัน คูแขงขัน และทายที่สุดความภักดีตอตราสินคา สงผลใหตราสินคามีความคงทน หรือยืนนาน ความ ภักดีตอตราสินคาบงบอกถึงการซื้อสินคาในอนาคต การซื้อตราสินคาเดิม และสงผลใหองคกรธุรกิจ มีกําไรในระยะยาว (Aaker & Mills, 2005) สําหรับองคประกอบที่ 2คือการรับรูคุณภาพ ของตราสินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ ระดับคุณภาพของสินคา (Quality Level) ความคงที่ ของคุณภาพ (Consistent Quality) ความเปนผูนํา ตลาด (Category Leader) และความนิยมชมชอบ ในตราสินคา (Popularity) ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด ของ Aaker (1991) ที่กลาววา การรับรูคุณภาพของ ตราสินคาเปนมิติที่สําคัญของคุณคาตราสินคา ดวย การรับรูคุณภาพของลูกคาตอตราสินคา ลูกคารับรู คุณภาพของตราสินคา ผานคุณภาพของสินคาที่ ลูกคามีประสบการณไดใชมาแลว โดยการรับรู ระดับคุณภาพเกิดจากความแตกตางของคุณภาพที่ ลูกคารับรูผานการเปรียบเทียบคุณภาพตามการรับรู ของลูกคา ดังนั้นการรับรูคุณภาพของตราสินคาจึง สงผลตอองคประกอบทั้งหมดของแผนการตลาด และการรับรูคุณภาพยังชวยสรางความแตกตาง ใหกับตราสินคา เพื่อเพิ่มความสามารถทางการ แขงขันของตราสินคาได ทั้งนี้ยังทําใหตราสินคา สามารถตั้งราคาในระดับสูงไดเนื่องดวยตราสินคามี คุณภาพ และไดรับความเชื่อถือ ความไววางใจจาก ลูกคา (Aaker, 1996)
  • 11. 19วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 สวนองคประกอบที่ 3 คือ ความเชื่อมโยง ตอตราสินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับมูลคา ตราสินคา (Brand Value) บุคลิกภาพตราสินคา (Brand Personality) และความเชื่อมโยงกับองคกร ธุรกิจ (Organization Association) ซึ่งสอดคลองกับ Keller (1993) กลาววา ความเชื่อมโยงตอตราสินคา ที่มีตอลูกคาประกอบดวยความเชื่อมโยงของ คุณสมบัติและคุณประโยชน และทัศนคติโดยรวม ตอตราสินคาในเชิงบวก สงผลใหเกิดความพึงพอใจ ตอตราสินคาของลูกคา โดยความเชื่อมโยงตอตรา สินคาทําใหลูกคาตั้งใจซื้อสินคาและสงผลตอความ สําเร็จของโปรแกรมทาง Aaker (1991) กลาววา ความเชื่อมโยงตอตราสินคาเปนคุณลักษณะของ ตราสินคา และคุณประโยชนตอลูกคาที่เชื่อมโยง ความทรงจําของลูกคาเขากับตราสินคา ความเชื่อมโยง ตอตราสินคามีบทบาทสําคัญตอการประเมิน ตราสินคาและการเลือกตราสินคา นอกจากนี้ Hatch & Schultz (2001) กลาววา คุณคาตอตรา สินคาเปนสิ่งที่เกี่ยวโยงตอการพิจารณาเพิ่มจาก คุณประโยชน และลักษณะพื้นฐานของสินคา สิ่งนี้จะกลายเปนการเพิ่มคุณคาใหกับสินคาและ ลูกคา รวมถึงตราสินคาที่ไดรับความสนใจจาก ลูกคามักมีบุคลิกภาพที่ตรงกับบุคลิกภาพของลูกคา ดังนั้นการเปรียบใหตราสินคาเปนบุคคล สงผลให ตราสินคานั้นมีความเชื่อมโยงไปกับความรูสึก และ บุคลิกภาพของลูกคาเชนเดียวกัน และ Webster & Keller (2004) กลาววา ความเชื่อมโยงขององคกร ธุรกิจ รวมถึงผูมีสวนไดสวนเสียในองคกรลวนมีผล ตอภาพลักษณในการสื่อสารตราสินคา เนื่องจาก การสื่อสารไปยังลูกคาเปนสวนหนึ่งในการสงมอบ ความคาดหวังที่ลูกคามีตอองคกร ทั้งนี้ยังเปนสิ่ง สะทอนในการจัดการประสิทธิภาพการทํางานที่มี คุณภาพใหกับลูกคาดวย สุดทายองคประกอบที่ 4 คือ การรูจักตรา สินคา เปนองคประกอบที่เกี่ยวของกับ การจดจํา ตราสินคา (Brand Recognition) การระลึกถึงตรา สินคา (Brand Recall) ตราสินคาอันเปนที่รูจัก อันดับหนึ่ง (Top of Mind) และความคุนเคยตอ ตราสินคา (Brand Familiarity) สอดคลองกับ Keller (1993) กลาววา การรูจักตราสินคา เปน ความสามารถของลูกคาในการระลึกถึงตราสินคา และการจดจําตราสินคา จากความทรงจําของลูกคา การรูจักตราสินคาจึงเปนปจจัยสําคัญในความตั้งใจ ซื้อสินคาของลูกคา เชนเดียวกับ Washburn & Plank (2002) กลาววา การรูจักตราสินคาเปนสิ่งที่สําคัญในการ สรางทัศนคติที่ดีตอตราสินคา เมื่อลูกคาตระหนักรู ตอตราสินคา ลูกคาจะมีการประเมินขอมูล และ สรางทัศนคติโดยรวมตอตราสินคานั้นขึ้นในความ ทรงจํา ทั้งนี้เมื่อลูกคาเกิดทัศนคติที่ดีตอตราสินคา แลว ตราสินคานั้นมีโอกาสที่ลูกคาตั้งใจซื้อตรา สินคา รวมทั้งการตระหนักรูตอตราสินคายังผลตอ สวนสําคัญในการสรางความแข็งแกรงของตรา
  • 12. 20 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 สินคาดวย ดังนั้น การรูจักตราสินคา สามารถระบุ ความไดเปรียบทางการแขงขัน การรูจักตราสินคา ทําใหลูกคาเกิดความคุนเคย การจดจําตราสินคา และระลึกถึงตราสินคา โดยทั้งหมดนี้เปนแรงขับ ใหลูกคาเกิดการตัดสินใจซื้อสินคา ทั้งนี้การรูจัก ตราสินคาเปนสัญญาณของขอผูกมัดที่องคกร ธุรกิจมีตอลูกคาดังนั้นลูกคาจึงมักซื้อตราสินคา ที่ตนสามารถจดจํา ระลึกถึงและมีความคุนเคย (Aaker, 1991) 5.บทสรุป และขอเสนอแนะ 5.1) บทสรุป การวิจัยครั้งนี้มุงวิเคราะหองค ประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาใน อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา เขต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผลการวิจัยพบวา องคประกอบคุณคาตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลม ประเภทน้ําดําจากมุมมองของลูกคาไดทั้งหมด 4 องคประกอบ และ 32 ตัวแปร ไดแก ความภักดีตอ ตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความ เชื่อมโยงตอตราสินคา และการรูจักตราสินคา โดยองคประกอบความภักดีตอตราสินคามีคา ความผันแปรเทากับ 13.570 และสามารถอธิบาย ตัวแปรไดมากที่สุดถึงรอยละ 30.84 5.2) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลวิจัย ไปประยุกตใช 5.2.1)การวิจัยครั้งนี้ไดคนพบ องคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของ ลูกคาในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภท น้ําดํา เขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งพบวา มี 4 องคประกอบ ไดแก ความภักดีตอตราสินคา การรับรูคุณภาพของตราสินคา ความเชื่อมโยงตอ ตราสินคา และการรูจักตราสินคา โดยผูบริหาร ตราสินคาเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําสามารถ นําองคประกอบดังกลาวขางตนไปใชสําหรับการยก ระดับคุณคาตราสินคาจากมุมของลูกคา เพื่อเปน แนวทาง และสรางความเขาใจตอคุณคาตราสินคา จากมุมมองของลูกคา 5.2.2) ผูบริหารตราสินคาเครื่องดื่ม น้ําอัดลมประเภทน้ําดําสามารถนําองคประกอบทั้ง 4 องคประกอบ มาใชเปนเครื่องมือในการบริหาร ตราสินคา โดยอาศัยภาพสะทอนของคุณคาตรา สินคาจากมุมมองของลูกคาเปนฐานในการขับเคลื่อน การบริหารตราสินคา เพื่อกําหนด และพัฒนา อัตลักษณตราสินคา โดยนําไปพัฒนากลยุทธทาง การตลาด และเพิ่มสวนแบงทางการตลาด 5.3) ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาครั้ง ตอไป 5.3.1)การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิง ปริมาณ ดังนั้นการวิจัยครั้งตอไปควรศึกษาในเชิง คุณภาพโดยการสัมภาษณเจาะลึกกลุมลูกคาเพื่อให เขาใจถึงคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาใน อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดํา
  • 13. 21วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 5.3.2) ควรมีการวิเคราะหองคประกอบ คุณคาตราสินคา จากมุมมองของลูกคาใน อุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน จังหวัด หรือเขตพื้นที่อื่น เพื่อทดสอบองคประกอบ และไปพัฒนาองคประกอบคุณคาตราสินคาจาก มุมมองของลูกคาโดยนํามาใชอางสรุป และยืนยันถึง องคประกอบคุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคา ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําดําใน ประเทศไทยและควรมีการวิเคราะหองคประกอบ คุณคาตราสินคาจากมุมมองของลูกคาในอุตสาหกรรม เครื่องดื่มน้ําอัดลมประเภทน้ําสี ดวยตลาดเครื่องดื่ม น้ําอัดลมเปนตลาดที่มีมูลคาตลาดมากที่สุดใน เครื่องดื่มประเภทปราศจากแอลกอฮอล และความ ครอบคลุมความแตกตางของแตละตลาด 5.3.3) ควรมีการตรวจสอบความ เหมาะสมขององคประกอบ และตัวแปร โดยการ ทดสอบผานการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน แบบโมเดลสมการโครงสรางเชิงสาเหตุ เพื่อยืนยัน ขอมูลเชิงประจักษ วาคุณคาตราสินคาจากมุมมอง ของลูกคาใดที่สงผลตอปจจัยทางการตลาดอื่นๆ หรือไม อาทิ ความตั้งใจซื้อสินคา พฤติกรรมการซื้อ และปจจัยสวนประสมทางการตลาด เปนตน เอกสารอางอิง กรมการปกครอง. (2554).คนเมื่อ 10 มกราคม 2555. จาก http://stat.bora.dopa.go.th. ธนาคารแหงประเทศไทย, สํานักงานภาคเหนือ. (2553). รายงานแนวโนมธุรกิจ ฉบับ เดือนมิถุนายน. คนเมื่อ 16 กรกฎาคม 2554. จาก http://www.bot.or.th/Thai/Economic . ผูจัดการรายสัปดาห. (2549).กลยุทธบริหารยักษ ใหญ เปปซี่ ตองขยันสรางความ จงรักภักดี.คนเมื่อ 16 กรกฎาคม 2554, จาก http://www.gotomanager.com/ news/details.aspx?id=49932. Aaker, D.A. (1991). Managing Brand Equity: Capitalization the Value of a Brand Name. New York : Free Press. Aaker, D.A. (1996). Building Strong Brand. New York : the Free Press. Aaker, D.A., & Mills, M. K. (2005). Strategic Market Management. Australia : John Wiley and Sons. Chen,C.F., & Tseng, W. S. (2010). Exploring Customer-based brand Airline brand equity: Evidence from Taiwan. Transportation Journal, Winter. 49(1) , 24-34.
  • 14. 22 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 Cochran, L.J. (1977). Sampling Techniques. New York: Wiley. Davis, D. F., Golicic, S. L & Marquardt, A. (2009). Measuring brand equity for logistics services. The International Journal of Logistics Management. 20(2), 201-212. Hatch, M.J., & Schultz, M. (2001). Are the strategic signs aligned for your corporate brand?, Harvard Business review, February, 1-8. Hair, JosephF. Jr., Black,William C., Babin, Barry J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate Data Analysis: A Global Perspective. Pearson Education, Inc., Upper SaddleRiver, New Jersey, USA: Seventh Edition. Helander, M.G., & Khalid, H.M.(2000). Modeling the customer in electronic commerce.Applied Ergonomics, 31(6), 609-619. Jacoby, J. (1971).A model of multi-brand Loyalty. Journal of Advertising Research, 11(3), 25-31. Keller, K. L. (1993).Conceptualizing, measuring & managing customer- based brand equity. Journal of Marketing. January, 57, 1-22. Lee, G.C., Leh, F.C., & Yew. (2011). Dimensions of Customer-Based Brand Equity: A Study on Malaysian Brands. Journal of Marketing Research and Case Studies. Pappu,R., Quester, P.G., & Cooksey, R. W. (2006). Consumer-based brand equity; improving the measurement – empirical evidence. The Journal of Product and Brand Management, 24, 143-154. Peter, P. J. & Olson, J. C.(2008).Consumer Behavior and Marketing Strategy. (8 th ed.). New York: McGraw-Hill. Thailand Foodand DrinkReport Q1.(2010). Business Monitor International Ltd. Tong, X., & Hawley, T.M.(2009a). Creating brand equity in theChineseclothing market: the Effect of selected marketing activities on brand equity dimensions. Journal of Fashion Marketing and Management, 13, 566-581. Tong, X., & Hawley, T.M. (2009b). Measuring customer – based brand equity: empirical evidence from the sportswear market inChina.JournalofProductand Brand Management.April,18,262-271.
  • 15. 23วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555 Washburn, J., & Plank, R. E.(2002). Measuring brand equity: an Evaluation of a consumer-Based brand equity scale. Journal of Marketing Theory and Practice, Winter, 10, 46-62. Webster,F.E. Jr., & Keller, K.L. (2004).“A roadmap for branding in industrial markets”, BrandManagement, 11 (5), 388-402. Yoo, B., Donthu, N. & Lee, S. (2000). An examination of selected marketing mix elements and brand equity. Academy of Marketing Science. Journal Spring, 28, 198-211. Yoo, B., & Donthu, N. (2001). Developing and validating a multidimensional consumer-based brand equity scale. Journal of business Research, 25, 1-14.
  • 16. 24 วารสารเทคโนโลยีภาคใต ปที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2555