SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
ศึกษาแนวโน้ มพฤติกรรมผู้บริ โภค
                                   BRAND VALUE

          นาย ฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ
                   ั                   รหัสนักศึกษา      54010911172
          นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย       รหัสนักศึกษา      54010911139
          นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล   รหัสนักศึกษา      54010911124
          นาย พีนิธิ พฤทธิ์ พรชนัน     รหัสนักศึกษา      54010911041
          นาย ธงไท โพธิยนต์
                        ั              รหัสนักศึกษา      54010911027




รายงานนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา พฤติกรรมผู้บริ โภค (Consumer Behavior)
                      ่
               คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด
                        มหาวิทยาลัย มหาสารคาม
                          ปี การศึกษา 2/2554
ชื่อโครงการ   BRAND VALUE

ผู้จดทา
    ั          นาย ฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ
                        ั                        54010911172
               นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย            54010911139
               นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล        54010911124
               นาย พีนิธิ พฤทธิ์ พรชนัน          54010911041
               นาย ธงไท โพธิยนต์ ั               54010911027
หลักสู ตร      ระดับ ปริ ญญาตรี คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด
อาจารย์ประจาวิชา        อาจารย์วจนะ ภูผานี
ปี การศึกษา 2554


                                         บทคัดย่ อ
         การวิเคราะห์ผ้ บริโภคเพื่อการโฆษณา ศึกษาความหมาย บทบาท และความสาคัญของตราสินค้ า
                        ู
ในการดาเนินงานทางการตลาด แนวคิด ทฤษฎี และกลยุทธ์การสร้ างตราสินค้ า กระบวนการสื่อสารตรา
สินค้ าโดยอาศัยเทคนิคในการสื่อสารรูปแบบต่างๆ กรณีศกษาการบริหารตราสินค้ าทังที่ประสบความสาเร็จ
                                                    ึ                     ้
และล้ มเหลว ตลอดจนถึงการประเมินคุณค่าของตราสินค้า
กิตติกรรมประกาศ

              รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็ จได้ดวยความอนุเคราะห์ของ บุคคล
                                                                  ้
หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ท้งหมด ซึ่งผูมีพระคุณท่านแรกที่ผศกษาใคร่ ขอกราบพระคุณคือ ท่าน
                                   ั          ้                  ู้ ึ
ขอขอบคุณ อาจารย์วจนะ ภูผานี อาจารย์ผสอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่ อง
                                    ู้
ต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด




                                                                                      คณะผู้จดทา
                                                                                             ั
                                                                                    กุมภาพันธ์ 2555
สารบัญ
                                                                                  หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย …………………………………………………………………………………ก
กิตติกรรมประกาศ …………………………………………………………………………………ข
สารบัญ ……………………………………………..………………………………………………ค
สารบัญต่อ……………………………………………..……………………………………………ง
บทที่ 1 บทนา
         BRAND VALUEตราสินค้า ………………………………………..………………….….1
         ตราสินค้ากับประโยชน์ในการป้ องกันด้านกฎหมายตรสินค้า……………………………..1
         ตราสินค้ากับประโยชน์ในการสร้างความสัมพันธ์……………………………………..….1
         ตราสินค้ากับประโยชน์ทางด้านการเงิน การทาความเข้าใจในเรื่ องตราสินค้า…………….2
         คุณสมบัติพ้ืนฐาน…………………………………………………………………….……4
         การปรับในสิ่งที่ควรปรับ……………………………………………………………..….. .4
บทที่ 2ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
         ขั้นตอนการสร้างตราสินค้า………………………………………….…………….………5
         การสร้างตราสินค้าในยุคเศรษฐกิจใหม่…..………………………………………..…….. 7
         กลยุทธ์การบริ หารคุณค่าตราสินค้า…………………………………………………..….... 7
บทที่ 3วิธีการดาเนินงาน
         ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงและการเกิดขึ้นของแนวโน้ม………………….……….….….11
         Internal Influences ปัจจัยภายใน………………………………………….….…….….…..12
          External Influences ปัจจัยภายนอก………………………………………..………..…….13
บทที่4บริ ษท ั
         สัญลักษณ์ของโตโยต้า…………………………………………………,..……………...…15
         Business Analysis Market Size…………………………………………..………….…… 21
         Business Analysis Market Chare…………………………………………..…………..... . 22
         คู่แข่งขันบริ ษทโตโยต้า………………………………………………………..….…...….. 24
                              ั
                   บริ ษท ฮอนด้า……………………………………………………….…..………. .25
                        ั
                   บริ ษท นิสสัน…………………………………………………………..……...….27
                          ั
                   บริ ษทฟอร์ดประเทศไทย……………………………………………….........…... 29
                            ั
                   6 W 1 H …………………………………………….……………….…….……. 31

                                          สารบัญ (ต่ อ)
หน้ า

        Segmentation การแบ่งส่วนตลาด32                                                                                                                19
        Targeting ตลาดเป้ าหมาย ………………………………………………………………...…32
        Positioning การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์……………………………………………………...32
        STP…………………………………………………………….............................................33
        การตลาดToyota หรื อ 4P's………………………………………………………………..…34
บทที่ 5สรุ ปผลโครงการ
        สรุ ปผลการดาเนินงาน……………………………………………………………...………. 36
        สรุ ป ........................................................................................................................................36
        ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………....................... 37
บทที1
                                                   ่
                                               บทนา
                                           BRAND VALUE



           ตราสินค้า ( BRAND VALUE )หมายถึง ชื่อ เครื่ องหมายทางการค้า สัญลักษณ์หรื อการออกแบบต่าง ๆ
ที่เป็ นการระบุถึงสินค้าหรื อบริ การของผูขาย และเพื่อทาให้สินค้าของตนเองแตกต่างจากคู่แข่งขัน ในขณะที่
                                               ้
ให้ความหมายของตราสินค้า ว่าเป็ นเครื่ องหมายทางการค้าที่ตองมีการจัดการผ่านความชานาญในการ
                                                                 ้
ส่งเสริ มการตลาด และทาให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับในคุณค่าและคุณสมบัติที่กาหนด
                                           ่
ไว้ท้งสิ่งที่สมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ ส่วนสมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กาได้ให้ความหมาย ของตรา
       ั       ั
สินค้าว่าเป็ นชื่อ การตั้งชื่อ เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ การออกแบบหรื อการรวมกันทั้งหมดและตราสินค้ายัง
เป็ นมากกว่าที่กล่าวมา แล้วคือเป็ นการให้คาสัญญาของบริ ษทที่มีต่อลูกค้าว่าผลิตภัณฑ์ที่ทาออกไปจะถูก
                                                             ั
ถ่ายทอดและดาเนินการอย่างไรให้เหมาะสมกับธุรกิจได้สรุ ปมุมมองเกี่ยวกับตราสินค้าไว้ 3 มุมมอง ดังนี้
           1. ตราสินค้ากับประโยชน์ในการปองกันด้ านกฎหมายตราสินค้า ซึ่งอาจจะเป็ นชื่อ คาอธิบาย
                                                 ้
สัญลักษณ์ หรื อตราสัญลักษณ์ของบริ ษท หีบห่อหรื อบรรจุภณฑ์หรื อแม้กระทัง การโฆษณาที่เกี่ยวข้องกับ
                                             ั                 ั            ่
ตราสินค้าสามารถป้ องกันได้ในด้านของกฎหมาย การจดทะเบียน ยินยอมเป็ นเจ้าของซึ่งสามารถใช้เป็ น
ข้อบังคับด้านกฎหมาย การจดทะเบียนทาให้ตราสินค้า นาไปสู่ความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์และความเป็ น
เจ้าของและที่สาคัญคือการสร้างตราสินค้าที่มีลกษณะผูกขาดโดยใช้กฎหมายมาช่วยสาหรับองค์กรที่เป็ น
                                                   ั
เจ้าของไม่เช่นนั้น ตราสินค้าอื่น ๆ ก็จะสามารถออกตราสินค้าในลักษณะที่เหมือนกันได้
           2. ตราสินค้ากับประโยชน์ในการสร้ างความสัมพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าหรื อ
                                                                                     ั
กลุ่มเป้ าหมายสามารถกระทาได้โดยผ่านกิจกรรมทางการตลาดที่หลากหลายซึ่งสามารถป้ องกันการโจมตี
จากคู่แข่งขันได้ แต่ไม่ได้ทาให้ลกษณะของสินค้าหรื อบริ การ มีความแตกต่างกันออกไป หากแต่สามารถ
                                       ั
สร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์และบทบาท หน้าที่ได้
     2.1 คุณสมบัตด้านบทบาทหน้ าที่ เช่ น
                     ิ
         2.1.1 การชี้ให้เห็นถึงความมันใจในตราสินค้าและทาให้เกิดการยอมรับโดยใช้สี สัญลักษณ์หรื อ
                                         ่
รู ปภาพเข้ามาช่วย
         2.1.2 ทาให้ลกค้าเกิดความง่ายในการเลือกสินค้าหรื อการบริ การโดยการสร้างความแตกต่างจากสาย
                       ู
ผลิตภัณฑ์อื่นหรื อตราสินค้าในประเภทเดียวกัน
         2.1.3 เป็ นการรับรองถึงแหล่งที่มา หลักฐานของผูทาหรื อผูจดส่งสินค้าหรื อบริ การ
                                                          ้        ้ั
         2.1.4 เป็ นการยืนยันคุณภาพบนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ ความมีชื่อเสียงและการยอมรับที่สร้างโดย
เจ้าของตราสินค้า
2.2 ส่ วนคุณสมบัตด้านอารมณ์ เช่ น
                       ิ
        2.2.1 ลูกค้าอุ่นใจในตัวสินค้าและการบริ การที่แสดงออกถึงระดับที่มีคุณภาพ
        2.2.2 มีความสัมพันธ์กบความคิดหรื อแนวคิดในการยกระดับสินค้าให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าหรื อ
                                ั                                                 ่
กลุ่มที่คาดหวัง เพื่อให้ลกค้ามีความรู้สึกที่ชอบมากกว่าคู่แข่งรายอื่น
                           ู
        2.2.3 ต้องค้นพบความปรารถนาของลูกค้าโดยใช้ ‚เครื่ องหมายที่แสดงถึงการเป็ นสมาชิก‛ โดยมีการ
แสดงความคิดเห็นในเรื่ องความเชื่อ การยอมรับหรื อความคาดหวัง ของผูใช้    ้
        2.2.4 มีการเตรี ยมรู ปแบบที่ให้ลกค้าแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลในประเด็นของการใช้ตราสินค้า
                                        ู
องค์ประกอบเหล่านี้ไม่ได้มกฎหมายที่คอยสนับสนุนโดยเฉพาะ ดังนั้นจึงต้องมีการสร้างตราสินค้าให้เกิด
                              ี
ความแข็งแรงในสายสัมพันธ์กบลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย โดยทัวไปแล้วการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าและตรา
                                  ั                          ่                          ั
สินค้าที่เกิดขึ้นจะช่วยสนับสนุนรายได้ขององค์กรให้รุดหน้าและมันคงสืบต่อไป
                                                                    ่
           3. ตราสินค้ากับประโยชน์ทางด้ านการเงิน การทาความเข้ าใจในเรื่องตราสินค้า นอกจากเป็ นมุมมอง
ทางด้านกฎหมายและการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าแล้วยังต้องพิจารณาถึงประโยชน์ทางด้านการเงินอีก
                                                 ั
ด้วย ซึ่งแนวทางของการสร้างคุณค่าตราสินค้าสาหรับองค์กรมีดงนี้     ั
    3.1 รู ปแบบของการสร้างตราสินค้าเป็ นสิ่งสาคัญซึ่งจะทาให้ตราสินค้านั้นยังคงดารงอยูในตลาดและ
                                                                                      ่
สามารถสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นทั้งจากลูกค้าปัจจุบนและอนาคต
                                                   ั
    3.2 ตราสินค้าที่มการตั้งราคาสูงเนื่องจากความต้องการสร้างคุณค่าให้กบ
                         ี                                                ั
ตราสินค้า อีกทั้งยังใช้เพื่อรักษาราคาให้คงอยูในเวลาที่ยอดขายถดถอยหรื อมีการแข่งขันตราสินค้าที่รุนแรง
                                               ่
    3.3 ความแข็งแรงของตราสินค้าช่วยทาให้เกิดปริ มาณการขายที่ดีกว่าการที่ไม่มี ตราสินค้า จึงเป็ นการเพิม
                                                                                                      ่
ปริ มาณการเงินของธุรกิจดีข้ ึน
    3.4 การยินยอมให้ตราสินค้าขยายไปสู่ตลาดใหม่ การจาได้ในชื่อตราสินค้าทาให้ตราสินค้านั้น ๆ ง่ายต่อ
การเข้าสู่ตลาดที่ตองการ
                    ้
    3.5 ความแข็งแรงของตราสินค้าช่วยให้การแนะนาสินค้าที่จะเข้าสู่ตลาดใหม่ง่ายขึ้น ซึ่งการแนะนาเพียง
เล็กน้อยก็ยงดีกว่าการปล่อยให้ลกค้าไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับสินค้าหรื อบริ การนั้น ๆ
              ั                     ู
    3.6 ตราสินค้าสามารถเข้าสู่พ้ืนที่ใหม่ได้เพื่อหาลูกค้ากลุ่มแรกและทาให้เกิดการยอมรับในโลกธุรกิจ ทั้งนี้
เพื่อกาจัดความไม่รู้หรื อความไม่มีตราสินค้าของผลิตภัณฑ์
    3.7 ความแข็งแกร่ งของตราสินค้าสามารถทาให้นกการตลาดและนักสื่อสารการตลาดเข้าไปในส่วนใหม่
                                                      ั
ๆ ของโลกธุรกิจและยังลดการต่อต้านจากผูใช้รายใหม่ได้เป็ นอย่างดี
                                             ้
ตราสินค้าที่แข็งแรงต้องมีคุณค่าและมีประโยชน์ดวยการสื่อสารที่หลากหลายอย่างสม่าเสมอและมี
                                                       ้
ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งหลักของการสร้างตราสินค้านั้น ประกอบด้วยสามส่วนคือ (1) ความต่อเนื่อง
(2) ความชัดเจน และ (3) ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทุกองค์ประกอบจะต้องทางานร่ วมกันเพื่อให้ลกค้า
                                                                                               ู
ได้รับความพึงพอใจในตราสินค้ามากที่สุด ดังนั้นนักการตลาดและนักสื่อสารการตลาดจึงจาเป็ นต้องมีการ
บริ หาร คุณค่าตราสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ตราสินค้านั้นอยูในความทรงจาของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย
                                                                 ่
และสามารถนาไปสู่การตัดสินใจซื้อในอนาคตได้และสิ่งที่ทาให้ลกค้ารู้จกตราสินค้าและเชื่อถือในตรา
                                                               ู    ั
สินค้านั้นมี 2 ประเด็นหลักที่สาคัญคือ หัวใจของตราสินค้าและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตราสินค้า
กับลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย

    อานาจของตราสินค้า (Brand Power) ว่าสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่ขอมูลเกี่ยวกับ ตราสินค้าที่ได้รับ ทา
                                                                     ้
ให้เกิดความเชื่อถือจากสองแหล่งดังนี้ (1) จากการรับรูจากมุมมองของตัวลูกค้าเองว่าตราสินค้านั้นเป็ นเช่น
                                                    ้
ไร และ (2) จากการรู้อย่างลึกซึ้งถึงคุณค่าตราสินค้าและความหมายของตราสินค้า หากลูกค้ามีความเชื่อกับ
สิ่งเหล่านี้ก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายและความยุงยากในการเลือกตราสินค้าช่วยให้ลกค้าลดเวลาในการเลือก
                                             ่                              ู
สินค้าได้ถาหากตราสินค้านั้น ๆ สามารถทาให้ลกค้าเชื่อถือ นอกจากนั้นตราสินค้ายังสามารถแยกความ
             ้                                 ู
แตกต่างในตัวสินค้าออกจากคู่แข่งได้ดวยการกาหนดส่วนแบ่งการตลาดที่ชดเจน เพื่อกาหนดคุณสมบัติของ
                                      ้                                ั
ตราสินค้าและมีการกาหนดลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายอย่างถูกต้อง การบริ หารตราสินค้าให้เกิดความแข็งแกร่ ง
นอกจากจะเป็ นการเพิ่มพฤติกรรมการซื้อให้ กับลูกค้าแล้วยังเป็ นการเพิ่มความจงรักภักดีต่อตราสินค้าและ
ยังช่วยป้ องกันตราสินค้าจากคู่แข่งขันในตลาดได้อีกด้วย

   การบริ หารตราสินค้าเป็ นส่วนหนึ่งของการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่นกการตลาดและนักสื่อสารการตลาดกาลัง
                                                               ั
ให้ความสนใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากธุรกิจในปัจจุบนต้องแข่งขันกันสูงมากทาให้การบริ หารตราสินค้ามี
                                                  ั
พลังและอานาจเพียงพอที่จะช่วยธุรกิจต่อสูกบกระแสการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็ น
                                         ้ ั
การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมของลูกค้า อิทธิพลจากคู่แข่งขัน เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมทางการตลาด
ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ตราสินค้าใดที่สามารถดารงอยูได้เกิน 50 ปี จะเกิดการยอมรับในกลุ่มนักการ
                     ่                                     ่
ตลาดและนักสื่อสารการตลาดโดยทัวไปว่าเป็ น ‚ตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง‛ (Powerful Brand) และถือว่าเป็ น
                                    ่
ทรัพย์สิน (Asset) ที่มีมลค่ามหาศาลของธุรกิจ คุณสมบัติพ้นฐานของตราสินค้าที่แข็งแกร่ งมี 6 ประการดังนี้
                         ู                             ื
(1) ความแตกต่างที่ลกค้าต้องการ (2) ต้องประทับใจลูกค้า (3) ต้องต่อเนื่องและมีความสม่าเสมอ (4) ต้องมี
                       ู
ลิขสิทธิ์คุมครอง (5) ต้องมีความเป็ นสากล และ (6) ต้องอยูรอดทนทานและนานข้ามยุค (Extend period of
           ้                                             ่
time)
คุณสมบัตพนฐานของตราสินค้าที่แข็งแกร่ งและหลักการทีเ่ กียวข้ องกับการบริหารคุณค่าตราสินค้า
                       ิ ื้                                         ่
1. การยึดในสิ่งที่ควรยาอย่างสมาเสมอ (Consistency)
                                ้   ่
     ส่วนนั้นไว้อย่างเหนียวแน่นคือหัวใจหลักของการทาให้ตราสินค้าอยูทนนาน เนื่องจากการรักษาความ
                                                                        ่
สม่าเสมอจะให้ประโยชน์กบตราสินค้า 3 ประการคือ
                                  ั
     1.1 ยึดจุดครองตาแหน่งในตลาด (Positioning) โดยอัตโนมัติ ซึ่งทาให้ค่แข่งยากที่จะเข้ามาแย่งชิง
                                                                            ู
ตาแหน่งนั้นได้ เช่น ในประเทศไทย แชมพู ‚Sun silk‛ ครองจุดยืนที่ถกยอมรับจากช่างผมมืออาชีพมานาน
                                                                      ู
พร้อมกับทากิจกรรมทางการตลาดที่ตอกย้าอย่างต่อเนื่องทาให้แชมพู ‚Rejoice‛ ไม่สามารถยึดครองใจลูกค้า
ด้วยการใช้ช่างผมมืออาชีพเหมือนกับแชมพู ‚Sun silk‛ ได้
      1.2 ยึดครองเอกลักษณ์ (Ownership of Identity Symbol) ซึ่งเป็ นได้ท้งสัญลักษณ์ สโลแกน ทานองเพลง
                                                                          ั
คาหรื อตัวบุคคล เช่น กรณี คลาสสิกของบุหรี่ ‚Marlboro‛ ที่ยดครองภาพของคาวบอย แม้ค่แข่งจะพยายาม
                                                            ึ                           ู
สร้างสรรค์ภาพให้ได้ความรู้สึกที่ใกล้เคียงกันแต่กลับยิงไปช่วยเสริ มและตอกย้าความเป็ น Marlboro มาก
                                                      ่
ยิงขึ้น
  ่
      1.3 ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพด้านการใช้เงิน (Cost Effective) เพราะการสร้างเอกลักษณ์ตราสินค้าขึ้นมา
ใหม่ไม่ใช่เรื่ องง่ายและต้องใช้เงินจานวนมาก อีกทั้งไม่อาจรับ- ประกันความสาเร็ จได้ เช่น การที่ตราสินค้า
เกิดใหม่ตองใช้เงินลงทุนสูงในการสร้างคุณค่า ตราสินค้า ดังนั้นการที่ตราสินค้ามีความสม่าเสมอจึง
             ้
เปรี ยบเสมือนการมีตนทุนเก่าที่สร้างและสะสมมาเป็ นเวลานาน
                            ้
2. การปรับในสิ่งทีควรปรับ (Change)
                     ่
     การเปลี่ยนเอกลักษณ์ (Identity) และตาแหน่งในตลาด (Positioning) ของตราสินค้าเป็ นเรื่ องที่ค่อนข้าง
เสี่ยง เพราะหากใช้กลยุทธ์ที่ไม่เหมาะสมอาจส่งผลกระทบทางอ้อมต่อตราสินค้าในระยะยาวได้ เช่น การ
เปลี่ยนมาใช้กลยุทธ์ลดราคาบ่อย ๆ ทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายเชื่อมโยงตราสินค้ากับสินค้าลดราคา การ
                                           ู
เปลี่ยนเอกลักษณ์ที่อยูมานานจึงต้องใคร่ ครวญให้รอบคอบ หากมีเหตุผลที่จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงก็สามารถ
                              ่
ทาได้ดงเช่นเหตุผลต่อไปนี้
          ั
     2.1 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นไม่ชดเจน ไม่มคนสนใจ
                                        ั         ี
     2.2 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นล้าสมัย เช่น กรณี ไก่ทอด ‚Kentucky Fried Chicken‛ ที่ตองเปลี่ยน
                                                                                          ้
เอกลักษณ์จากความเป็ นอาหารทอดเนื่องจากลูกค้าไม่กล้าบริ โภคอาหารที่มีไขมันมาก
     2.3 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นมีกลุ่มเป้ าหมายแคบหรื อจากัดจนเกินไป
     2.4 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นถูกใช้มานานจนกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายเกิดความเบื่อหน่าย
บทที่ 2
                                          ทฤษฏีที่เกียวข้ อง
                                                     ่

           เป็ นที่ยอมรับกันในหมู่นกการตลาดว่า ‚ตรายีหอ‛ เป็ นปัจจัยสาคัญอย่างยิงต่อความสาเร็ จทาง
                                      ั                    ่ ้                      ่
การตลาด ตรายีหอช่วยให้นกการตลาดแยกแยะสินค้าหรื อบริ การของตนออกจากผูอื่น ตรายีหอช่วยให้
                    ่ ้            ั                                                    ้     ่ ้
ผูบริ โภคจาได้ว่า ประทับใจสินค้าหรื อบริ การใด ซึ่งจะมีผลต่อการกลับมาหาซื้อยีหอให้ถกใจได้
   ้                                                                                  ่ ้   ู
ศาสตราจารย์ สตีเว่น คิง ปรมาจารย์ทางการตลาดได้กล่าวไว้ว่า ‚สินค้าคือสิ่งที่ผลิตในโรงงาน ตรายีหอ       ่ ้
คือสิ่งที่ผบริ โภคเลือกซื้อ สินค้าคือสิ่งที่ผบริ โภคใช้‛ คากล่าวประโยคนี้สะท้อนสัจธรรมทางการตลาดถึง
            ู้                                   ู้
ความสาคัญของตรายีหอ สินค้าที่ผลิตจากโรงงานเดียวกัน แต่ยหอต่างกัน ความนิยมชมชอบของผูบริ โภค
                          ่ ้                                     ี่ ้                              ้
ย่อมแตกต่างกันด้วย
           ขั้นตอนการสร้ างตราสินค้า
1.การเลือกชื่อตราสินค้า
2.การสร้างความเกี่ยวพันทางบวก
3.การสร้างเอกลักษณ์ตราสินค้า
           3.1 ชื่อของตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง
           3.2 การใช้สีสนที่เหมาะสมมาช่วยในการจดจาตราสินค้า
                            ั
           3.3 อ้างอิงกับเรื่ องราวของบริ ษทหรื อตราสินค้า
                                               ั
4.การประเมินความมีประสิทธิผลของตราสินค้า
1. การเลือกชื่อตราสินค้า เป็ นขั้นตอนแรกของการสร้างตราสินค้า ซึ่งต้องมีความสอดคล้องกับการวาง
ตาแหน่งคุณค่าของตราสินค้า สามารถเลือกชื่อได้หลายวิธี เช่น ใช้ชื่อบุคคล สถานที่ต้ง คุณภาพ รู ปแบบ
                                                                                          ั
ชีวิต หรื อชื่อตั้งขึ้นเอง สิ่งที่ควรคานึงถึงในการคัดเลือกชื่อของตราสินค้า ได้แก่ 1) บ่งบอกถึงประโยชน์ของ
สินค้า 2) บ่งบอกถึงประเภทของสินค้าหรื อบริ การ 3) บ่งบอกถึงคุณภาพของสินค้า 4) ออกเสียงได้ง่าย เป็ นที่
รู้จกและจดจาได้ง่าย เป็ นชื่อสั้นๆ 5) ต้องมีความโดดเด่น 6) ต้องระมัดระวังไม่ให้มีความหมายที่ไม่ดีเมื่อใช้
     ั
ในบางประเทศหรื อบางภาษา โดยทัวไปแล้ว องค์กรจะเลือกชื่อตราสินค้าด้วยการทาบัญชีรายชื่อของชื่อ
                                           ่
ต่างๆที่องค์กรสนใจ อภิปรายถึงข้อดีขอเสียของแต่ละชื่อ และคัดเหลือเพียงไม่กี่ชื่อ จากนั้นนาชื่อเหล่านี้ไป
                                             ้
ทดสอบกับกลุ่มเป้ าหมาย แล้วทาการตัดสินใจ ซึ่งในปัจจุบนมีองค์กรวิจยการตลาดที่รับจ้างทาขั้นตอนต่างๆ
                                                               ั          ั
เหล่านี้
2.การสร้ างความเกียวพันทางบวก ผูบริ หารควรพิจารณาถึงมิติต่างๆที่สามารถสื่อถึงความหมายของตรา
                        ่                ้
สินค้าได้ คือ เรื่ องของคุณสมบัติ เรื่ องผลประโยชน์ เรื่ องค่านิยมขององค์กร บุคลิกภาพ และกลุ่มผูใช้
                                                                                                  ้
3.การสร้ างเอกลักษณ์ตราสินค้า ต้องมีการตัดสินใจในเรื่ องของชื่อ รู ปแบบสัญลักษณ์ สี ถ้อยคาเฉพาะ และ
สัญลักษณ์ โดยเอกลักษณ์ท่ีสร้างขึ้น ต้องแสดงถึงคามันสัญญาของนักการตลาดที่ให้ไว้ ในรู ปแบบของ
                                                         ่
คุณลักษณะ คุณประโยชน์หรื อบริ การที่สม่าเสมอแก่ผซ้ือ เอกลักษณ์ตราสินค้าไม่สามารถสร้างจากการ
                                                           ู้
โฆษณา แต่จะสร้างจากประสบการณ์ของตราสินค้านั้นๆ
            3.1 ชื่อของตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง เมื่อเอ่ยกับกลุ่มเป้ าหมาย เป็ นชื่อที่กระตุนให้นึกถึงคาอื่นๆ ซึ่งเป็ น
                                                                                          ้
คาที่ชื่นชอบ นอกจากถ้อยคาเฉพาะแล้ว หลายองค์กรประสบความสาเร็ จกับการใช้คาขวัญ หรื อข้อความ
ห้อยท้ายชื่อองค์กรหรื อตราสินค้า โดยกล่าวซ้ าๆในโฆษณาทุกชิ้นอย่างสม่าเสมอจนสามารถสร้างให้เป็ น
เอกลักษณ์ตราสินค้าได้ 13 อย่างไรก็ตาม การสร้างคาขวัญไม่ใช่เรื่ องง่ายเสมอไป เพราะถ้ามีการเปลี่ยนคา
ขวัญบ่อยๆจะทาให้ลกค้าจาไม่ได้ หรื อถ้าเลือกใช้คาขวัญที่ไม่น่าสนใจจะทาให้ลกค้าละเลยได้
                         ู                                                              ู
            3.2 การใช้สีสนที่เหมาะสมมาช่วยในการจดจาตราสินค้า มีการใช้สญลักษณ์และโลโก้ในการ
                           ั                                                       ั
สื่อสารกับตราสินค้า โดยอาจใช้ดารา พิธีกร หรื อนักกีฬาชื่อดังในการโฆษณา เพื่อต้องการให้กลุ่มเป้ าหมาย
เข้าใจว่า สัญลักษณ์หรื อบุคคลดังกล่าวสามารถถ่ายทอดคุณสมบัติไปที่ตราสินค้าด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้
บุคคลที่มชื่อเสียง นอกจากต้องลงทุนสูงแล้ว ยังอาจมีความเสี่ยงที่บุคคลเหล่านี้จะไปพัวพันกับเรื่ องอื้อฉาว
              ี
ซึ่งจะส่งผลร้ายต่อภาพลักษณ์สินค้าด้วย
            3.3 อ้างอิงกับเรื่ องราวของบริ ษทหรื อตราสินค้า ซึ่งเป็ นที่ชื่นชมและน่าสนใจ อาจเป็ นเรื่ องราว
                                             ั
เกี่ยวกับผูก่อตั้งหรื อการต่อสูเ้ พื่อสร้างบริ ษทนั้นๆขึ้นมา หรื อเป็ นเรื่ องราวในการบริ จาคหรื อช่วยเหลือสังคม
                ้                               ั
ที่เป็ นที่ชื่นชมของบริ ษท โดยเรื่ องราวต่างๆนี้จะช่วยตอกย้าความรู้สึกชื่นชมที่มีต่อตราสินค้าของลูกค้า
                             ั
ทั้งหลาย
4.การประเมินความมีประสิทธิผลของตราสินค้า มุ่งที่การประเมินคุณสมบัติสองประการคือ 1) ความ
สามารถในการอยูรอดของตราสินค้า (brand vitality) และ 2) ระดับความสาเร็ จของตราสินค้า (brand
                      ่
statue)13 โดยความสามารถในการอยูรอดของตราสินค้า จะแสดงถึงความสามารถในการทาให้ตราสินค้า
                                           ่
นั้นมีความแตกต่างจากคู่แข่งในความคิดของลูกค้าหรื อไม่ และความแตกต่างนั้นจะต้องมีความเกี่ยวพันกับ
ความต้องการของลูกค้าด้วย ในขณะที่ระดับความสาเร็ จของตราสินค้า จะวัดได้จากการได้รับความนิยมยก
ย่องในระดับสูง และเป็ นที่รู้จกคุนเคยอย่างสูงในกลุ่มเป้ าหมาย
                                   ั ้
การสร้ างตราสิ นค้าในยุคเศรษฐกิจใหม่
        ส่วนใหญ่ทฤษฎีในการสร้างตราสินค้าได้มการพัฒนามาจากองค์กรผูผลิตและจาหน่ายสินค้า
                                                   ี                         ้
อุปโภคบริ โภคต่างๆ (Consumer goods) โดยจะต้องสร้างให้เกิดความแตกต่างของสินค้าหรื อสัญญาลักษณ์
มีการใช้งบประมาณจานวนมากในการโฆษณา โดยหวังว่าจะสร้างให้เกิดการทดลองใช้และความภักดีต่อ
สินค้าในที่สุดอย่างไรก็ตามในยุคเศรษฐกิจใหม่น้ ี (Schultz) เชื่อว่าทฤษฎีดงกล่าวอาจไม่เหมาะสมกับธุรกิจ
                                                                           ั
บางอย่าง เช่น ธุรกิจบริ การ ธุรกิจเทคโนโลยี หรื อธุรกิจการเงิน เป็ นต้น โดยได้เสนอแนะให้องค์กรเหล่านี้
ใช้แนวคิดที่แตกต่างจากเดิมในการสร้างตราสินค้า ดังนี้
1. องค์กรควรทาความเข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับค่านิยมพื้นฐานของบริ ษท และการสร้างตราสินค้าองค์กร
                                                                         ั
(corporate brand)
2.องค์กรควรใช้ผบริ หารตราสินค้าเป็ นผูบริ หารกลยุทธ์ในการสร้างตราสินค้า แต่ความสาเร็ จของการสร้าง
                  ู้                   ้
ตราสินค้าจะขึ้นกับบุคลากรทุกคนในองค์กรที่ตองยอมรับและดาเนินชีวิตไปในแนวทางของตาแหน่งคุณค่า
                                               ้
ของตราสินค้าที่วางไว้
3.องค์กรจาเป็ นต้องพัฒนาตราสินค้าที่จะช่วยสร้างประสบการณ์เชิงบวกให้แก่ลกค้า ในทุกจุดสัมผัสของ
                                                                               ู
ตราสินค้า เช่น การมีกิจกรรม สัมมนา ข่าวสาร การติดต่อแบบตัวต่อตัว โทรศัพท์ และอีเมล์ เป็ นต้น
4. องค์กรต้องกาหนดแก่นแท้พ้ืนฐานของตราสินค้า (brands basic essence) เพื่อการสื่อสารและส่งมอบ ทา
ให้สามารถเปลี่ยนแปลงการบริ การได้ในแต่ละตลาด โดยคงความรู้สึกพื้นฐานเอาไว้
5. องค์กรต้องยึดมันในข้อเสนอคุณค่าของตราสินค้า (brand-value proposition) ในการวางกลยุทธ์ การ
                     ่
ปฏิบติการ การบริ การและในการพัฒนาสินค้าใหม่ๆ
     ั
6.ในการวัดความสาเร็ จของตราสินค้าจะไม่เพียงวัดโดยวิธีเก่าๆ เช่น การวัดการตระหนักรู้ หรื อ
ความสามารถในการจดจา แต่จะต้องเข้าใจถึงวิธีการวัดความพึงพอใจของลูกค้า การวัดคุณค่ารับรู้ของลูกค้า
และการรักษาลูกค้าเดิมไว้ดวย ้

                                        กลยุทธ์ การบริหารคุณค่าตราสินค้า
      1. กลยุทธ์ตอกย้า (Reinforcing Brands)
      1.1 ยิงตอกย้ายิงแกร่ ง (Maintaining Brand Consistency)
            ่        ่
      การตอกย้าในสิ่งที่ให้ผลเชิงบวกจะส่งผลให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมีการรับรู้ในตราสินค้าตลอดจนความ
                                                   ู
ภักดีต่อตราสินค้าที่ต่อเนื่อง แม้ตราสินค้าที่อยูมานานก็จาเป็ น ต้องตอกย้าอยูเ่ สมอ เช่น บริ ษท เชลล์ จากัด ที่
                                                 ่                                           ั
อยูในตลาดค้าน้ ามันมานาน โดยในปี ค.ศ. 1970 บริ ษท เชลล์ จากัด เป็ นผูนาตลาดทาให้ ลูกค้ามีภาพลักษณ์
    ่                                                   ั                ้
ที่ดีต่อตราสินค้ามาก ครั้นถึงช่วงปี ค.ศ. 1980 ด้วยเหตุผลต่าง ๆ บริ ษท เชลล์ จากัดได้ลดค่าใช้จ่ายการ
                                                                       ั
สื่อสารและกิจกรรมการตลาดที่เคยทามาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริ ษทไม่สามารถครองภาพลักษณ์ที่ดีในใจ
                                                                     ั
ลูกค้าได้ดงเดิม จึงทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมองว่าบริ ษท เชลล์ จากัด ก็เหมือนกับตราสินค้าน้ ามันทัวไป
              ั               ู                           ั                                          ่
ความสม่าเสมอไม่ได้หมายความว่า ตราสินค้านั้นไม่สามารถเปลี่ยนเอกลักษณ์ ของตราสินค้าได้เลย
ตรงกันข้ามการพัฒนาตลอดเวลาให้เข้ากับสถานการณ์น้ น ๆ กลับจะเป็ นผลดีต่อตราสินค้า ความสม่าเสมอ
                                                      ั
และการเปลี่ยนแปลง (Consistency and Change) คือ การยึดสิ่งที่ควรย้าและปรับสิ่งที่ควรเปลี่ยน ตลอด
อายุขยของตราสินค้าที่ดาเนินมาอาจมีการปรับราคาขึ้นหรื อลงได้ อาจมีการปรับสูตรหรื อมีการออกแคมเปญ
       ั
ใหม่ ๆ ได้ อาจมีการออกสินค้าใหม่หรื อถอนสินค้าออกจากตลาดได้แต่สิ่งสาคัญที่ไม่ควรเปลี่ยนคือ
ความรู้สึกที่ลกค้ามีต่อตราสินค้า เช่น ‚McDonald‛ มีการเปลี่ยนแปลงแคมเปญการสื่อ สารการตลาดหลาย
                ู
ครั้ง เช่น เปลี่ยนจาก ‚Have You Had Your Brake Today?‛ เป็ น ‚You Deserve A Brake Today‛ เป็ นการ
เปลี่ยนที่ช่วยสะท้อนภาพลักษณ์ของ ‚McDonald‛ ให้เด่นชัดขึ้นแต่ยงคงไว้ซ่ึงความสนุกสนาน ความ
                                                                ั
สะดวกสบายและมิตรภาพที่ดีไว้ได้ เป็ นต้น

     1.2 การปกป้ องคุณค่าตราสินค้า (Protecting Sources of Brand Equity)
     หากตราสินค้าใดไม่ระวังตัว ก็เป็ นไปได้ว่าตราสินค้าคู่แข่งอาจแย่งชิงคุณค่าตราสินค้า นั้นไปได้ เช่น ใน
กรณีของน้ ายาล้างจาน ‚Cascade‛ ของค่ายพีแอนด์จีที่ได้ปรับสูตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตส่งผลให้
ประสิทธิภาพการขจัดคราบลดน้อยลง ทาให้น้ ายาล้างจาน ‚Sunlight‛ ของบริ ษท ยูนิลีเวอร์ จากัด มาช่วงชิง
                                                                                ั
จุดขาย ‚Spotless‛ จากน้ ายาล้างจาน ‚Cascade‛ ไปจากเหตุการณ์ดงกล่าว บริ ษท พีแอนด์จี จากัด ได้ปกป้ อง
                                                                 ั            ั
คุณค่าตราสินค้าไว้ดวยการใช้สูตรเดิมและฟ้ องร้องการทาโฆษณาเปรี ยบเทียบของ บริ ษท ยูนิลีเวอร์ จากัด
                      ้                                                               ั
อีกด้วย
     1.3 การปรับเพื่อพิชิตโปรแกรมการตลาด (Fine-tuning the Support Marketing Program)
     กลยุทธ์ตราสินค้าอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ในกรณี ที่มีสญญาณบางอย่างเตือนให้ทราบว่าคุณค่าตราสินค้า
                                                          ั
นั้นไม่แกร่ งต่อไปอีกแล้วหรื อเป็ นการปรับตัวเพื่อให้ทนยุคสมัย แสดงถึงการมีพฒนาการใหม่ ๆ ตลอดเวลา
                                                      ั                           ั
เช่น ในกรณีของนาฬิกา ‚Timex‛ หลังจากที่มองเห็นการทาตลาดของนาฬิกา ‚Swatch‛ และ ‚Casio‛ ที่ได้
นาเอาเทคโนโลยีดิจิตอลมาผสมผสานกับแฟชันจนประสบความสาเร็ จอย่างสูง ส่งผลให้นาฬิกา ‚Timex‛
                                              ่
ตัดสินใจออกนาฬิการุ่ นใหม่คือ ‚Indigto glow-in-the-dark‛ พร้อมกับทาการออกแคมเปญ โฆษณาชุดใหม่
เป็ นต้น
2. กลยุทธ์ชุบชีวิตชีวา (Revitalizing Brand)
     หากตราสินค้านั้นยังคงมีคุณค่าและมีภาพที่ชดเจนในสายตาลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายแต่กลับนิ่งเป็ นเวลานาน
                                                ั
นันอาจเป็ นเพราะรสนิยมของลูกค้าเปลี่ยนไปหรื ออาจมีค่แข่งรายใหม่เข้ามาแทรกแซงหรื ออาจเกิดการ
   ่                                                    ู
เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสภาพตลาด
โดยรวม ถ้าไม่ตองการให้ตราสินค้านั้นเป็ นเพียงตานานก็ตองทาการปลุกตราสินค้าให้ตื่นด้วยกลยุทธ์
                 ้                                          ้
ดังต่อไปนี้
     2.1 ขยายการรับรู้ในตราสินค้า (Expanding Brand Awareness) ซึ่งสามารถทาได้ดงนี้  ั
2.1.1 เพิ่มปริ มาณการใช้สินค้าหรื อบริ การนั้น ๆ ในแต่ละครั้งหรื อเพิ่มความถี่ในการใช้ เช่น ซุปไก่
สกัดตราแบรนด์พยายามสื่อสารให้ลกค้าเพิ่มความถี่ในการดื่มจากการดื่มเมื่อมีปัญหาเป็ นดื่มเพื่อเตรี ยมตัว
                                     ู
ให้พร้อมตลอดเวลาทุกวันด้วยการผูกตราสินค้าไว้กบความสาเร็ จแทนที่จะเป็ นการดื่มเมื่อป่ วยเท่านั้น เช่น
                                                     ั
ดื่มแบรนด์เมื่อสอบ ดื่มแบรนด์ในที่ทางาน เป็ นต้น
       2.1.2 มองหาวิธีการใช้สินค้าใหม่ ๆ ก็เป็ นการขยายการรับรู้ในตราสินค้าให้กว้างขวางขึ้น เช่น สาร
Baking Soda สินค้าของอาร์มและแฮมเมอร์สามารถนามาใช้ไม่ใช่แค่การปรุ งอาหารแต่ช่วยทาความสะอาด
และลดกลิ่นอับได้ดวยหรื อกรณี Johnson Baby Oil ที่ไม่ใช่แค่หยดลงไปในอ่างน้ าหยดสองหยดขณะอาบน้ า
                       ้
ให้เด็กทารกแต่ยงสามารถใช้ลางเครื่ องสาอาง บารุ งเส้นผม ลูบผิวหลังอาบน้ าเพื่อป้ องกันผิวแห้งได้ จากที่
                  ั           ้
กล่าวมาล้วนเป็ นการเพิมยอดขายและขยายการรับรู้ในตราสินค้าไปพร้อม ๆ กัน
                         ่

        2.1.3 ออกผลิตภัณฑ์ใหม่โดยใช้กลยุทธ์ ‚Leveraging Brand‛ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์น้น เช่น การ
                                                                                               ั
ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุ่มสินค้าที่ต่างไปจากเดิม (Brand Extensions) เช่น เครื่ องดื่มไมโลออกสินค้าใหม่
เป็ นไอศกรี มไมโล การออกผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ภายใต้สินค้าเดิม (Line Extensions) เช่น น้ าผลไม้มาลี
ออกน้ ามะม่วง น้ าเสาวรสและน้ าฝรั่ง เป็ นต้น การใช้ผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่โดยอิงกับตราสินค้าเดิม (Sub-brand)
เช่น คอมพิวเตอร์ ‚Prolinea‛ คือ Sub-brand ที่ ‚Compaq‛ ใช้เป็ นตราสินค้าสาหรับตลาดระดับไม่สูงมากนัก
เป็ นต้น
    2.2 ยกระดับภาพลักษณ์ของตราสินค้า (Improving Brand Image)
ตราสินค้าที่อยูมานานมักมีภาพลักษณ์ในแง่ดี เช่น จริ งใจ ซื่อสัตย์ อบอุ่น
                ่
เป็ นมิตรและน่าเชื่อถือ การที่ลกค้าคุนเคยและมีประสบการณ์ในวัยเด็กถือว่าเป็ นสิ่งมีค่ายิงเพราะตราสินค้า
                               ู ้                                                      ่
ใหม่ไม่สามารถสร้างได้ชวข้ามคืน ตราสินค้าที่อยูมานานมักมีปัญหาคล้าย ๆ กันคือ มักจะดูเชยโบราณและ
                           ่ั                     ่
น่าเบื่อ การพัฒนาภาพลักษณ์ของตราสินค้าให้มชีวตชีวาน่าตื่นเต้นจึงเป็ นสิ่งจาเป็ นซึ่งสามารถทาได้ 3 วิธี
                                                ี ิ
ดังนี้
        2.2.1 การปรับตาแหน่งของตราสินค้า (Repositioning the brand) ปัญหาที่พบบ่อยของตราสินค้าที่อยู่
ในช่วงเติบโตเต็มที่ก็คือ ต้องทาตราสินค้าให้มีความร่ วมสมัยมากขึ้นเพื่อไม่ให้เข้าสู่ช่วงถดถอย เพราะตรา
สินค้าที่อยูมานานแม้จะมีความเก่าแก่น่าเชื่อถือมีความน่าเบื่อ วิธีที่นิยมคือปรับตาแหน่งตราสินค้าให้
            ่
ทันสมัยขึ้นพร้อมกับปรับส่วนประกอบ ต่าง ๆ ของสินค้า เช่น เปลี่ยนบรรจุภณฑ์ ออกสินค้าใหม่หรื อมีการ
                                                                              ั
โฆษณาและแผนสื่อสาร การตลาดในรู ปแบบใหม่ กรณี ของสบู่ตรา ‚นกแก้ว‛ ที่มีภาพลักษณ์ดูเชย โบราณ
ได้ออกสินค้าใหม่คือ นกแก้วโกลด์เพื่อยกระดับภาพลักษณ์ ตราสินค้าโดยรวมและสินค้ายังได้กลุ่มลูกค้า
ใหม่ไปในตัวอีกด้วย
        2.2.2 การปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของตราสินค้า (Changing Brand Element) เช่น การเปลี่ยนสูตร
การเปลี่ยนบรรจุภณฑ์ การปรับปรุ งโลโก้ตราสินค้าหรื อการเปลี่ยนชื่อที่นบว่าเป็ นเรื่ องใหญ่ก็สามารถทาได้
                   ั                                                       ั
ถ้ามีเหตุผลสาคัญจริ ง ๆ เช่น การที่ ‚Kentucky Fried Chicken‛ เปลี่ยนชื่อเป็ น ‚KFC‛ ให้เรี ยกง่าย ฟัง
ทันสมัยขึ้นและไม่ตองการผูกติดกับอาหารทอดที่มีไขมันสูงพร้อมเปลี่ยนโลโก้ใหม่หรื อในกรณี ของซอส
                    ้
‚ตราสามแม่ครัว‛ เปลี่ยนบรรจุภณฑ์และโฆษณาใหม่ให้ดร่วมสมัยขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
                               ั                      ู
ควรคานึงถึงและให้ความสาคัญกับคุณค่าตราสินค้าที่สงสมมานานไม่ให้ถกทาลายไปด้วย
                                                   ั่                 ู
     2.2.3 การนาตราสินค้าเข้าสู่ตลาดใหม่ (Entering New Market) การเข้าสู่ตลาด ใหม่น้ นจะเป็ นการ
                                                                                          ั
ขยายวงกว้างของการรับรู้ในตราสินค้าไปยังตลาดที่ตราสินค้านั้นยังไม่เป็ นที่รู้จกเพื่อเพิ่มโอกาสในการสร้าง
                                                                             ั
ฐานลูกค้าใหม่ แต่ที่สาคัญจะต้องมองให้ชดเจนว่าใคร คือ กลุ่มเป้ าหมายใหม่และคู่แข่งในตลาดใหม่น้ นคือ
                                        ั                                                        ั
ใครเพื่อวางแผนเชิงกลยุทธ์ได้อย่างถูกต้อง




   2.3 การเพิ่มคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกของตราสินค้า (Adding an Emotional Benefit)
   การทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมีความรู้สึกชอบและมีส่วนร่ วม ผูกพันในตราสินค้านับเป็ นทางออกที่ดี
               ู
สาหรับสินค้าที่ไม่สามารถเล่นกับรู ปแบบและคุณสมบัติของสินค้าได้ มากนัก เช่น ‚Smirnoff Vodka‛ ที่อยู่
ในตลาดมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1946 มีการปรับปรุ ง แคมเปญโฆษณาตลอดเวลา ปัจจุบนใช้แคมเปญ ‚Pure
                                                                             ั
Surprise‛ โดยแสดงภาพความเป็ นจริ งที่ซ่อนอยูผานความใสของ ‚Smirnoff‛ ทาให้ลกค้ากล่มเป้ าหมายมี
                                              ่่                                ู
ความรู้สึกร่ วมชอบในอารมณ์ขนและอยากติดตามโฆษณาชิ้นต่อไป ซึ่งก็ช่วยสร้างความรู้สึกที่ดีต่อตรา
                                ั
สินค้าได้เป็ นอย่างดี
3. กลยุทธ์เกษียณตราสินค้า (Retiring Brand)
   เนื่องจากเกิดการแข่งขันทางการตลาดอย่างรุ นแรง บางตราสินค้าไม่คุมค่าที่จะรักษาไว้ บางตราสินค้ามี
                                                                        ้
คุณค่าตราสินค้าก็จริ งแต่ก็ทรุ ดโทรมและยากที่จะทาให้ฟ้ื นขึ้น มาอีกหรื อขนาดของกลุ่มลูกค้าเหลือน้อยมาก
อาจต้องยอมรับว่าถึงเวลาเกษียณอายุของตราสินค้านั้นแล้ว ซึ่งมีอีกแนวทางที่จะดาเนินการกับตราสินค้า
เหล่านั้น เช่น ลดจานวนและประเภทของสินค้าลง ซึ่งส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายและกิจกรรมทางการตลาด
อาจทากาไรให้แก่องค์กรได้ เช่น สบู่ลกส์บิวตี้และแชมพูทิมโมเท แม้ไม่มีกิจกรรมการทางตลาดมากนักก็
                                     ั
ยังคงขายได้และทากาไรให้กบบริ ษทหรื อการรวมตัวของตราสินค้าที่อ่อนแอกับตราสินค้าที่แข็งแรงก็เป็ น
                              ั    ั
อีกแนวทางหนึ่งที่ผบริ หารตราสินค้านิยมใช้กบสาหรับกลยุทธ์เกษียณตราสินค้า เป็ นต้น
                      ู้                    ั
บทที่ 3
                                           วิธีการดาเนินงาน

1.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงและการเกิดขึ้นของแนวโน้ม
     ปัจจุบน ในยุคที่ธุรกิจมีการแข่งขันที่สูง สมรภูมการแข่งขันของบางอุตสาหกรรมแทบจะลุกเป็ นไฟเพื่อ
            ั                                       ิ
แย่งลูกค้าด้วยวิธีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการออก Promotion กระหน่าเพื่อสร้างยอดขาย การออกผลิตภัณฑ์ที่มี
ความหลากหลาย รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กบตัวผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความคุมค่าให้กบลูกค้าให้มาก
                                           ั                            ้       ั
ที่สุด

     แต่ปัจจัยหลักสาคัญที่จะเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบตัวบริ ษทในระยะยาวนั้น อยูที่การสร้าง Brand
                                                        ั        ั                 ่
ของบริ ษท ซึ่งเป็ นปัจจัยที่บริ ษทต่างๆจะต้องให้ความสาคัญในลาดับต้นๆ
        ั                        ั

     ‚Brand Equity‛ คือ มูลค่าสิ นทรัพย์และคุณค่าของแบรนด์ที่อยูในใจของลูกค้าหรื อผูบริ โภค จนทาให้
                                                                ่                   ้
แบรนด์หรื อตราสินค้านั้นๆสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มสูงๆให้กบเจ้าของได้ หรื อจะกล่าวถึงประโยชน์ก็คือ แบ
                                                       ั
รนด์หรื อตราสินค้า ที่ไปติดอยูบนตัวสินค้าใดสินค้าหนึ่ง แล้วสามารถขายในราคาที่สูงมากกว่าสินค้นอื่นๆที่
                              ่
เป็ นสินค้าแบบเดียวกันแต่ไม่มี Brand ได้

     วิธีการสร้าง Brand สามารถเริ่ มได้ง่ายๆ โดยการทาให้คนอื่น รู้จกแบรนด์ของเรา หรื อ เรี ยกว่าเป็ นการ
                                                                   ั
สร้าง Brand Awareness ซึ่งทาได้โดยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ไปสู่กลุ่มเป้ าหมายของสินค้าและบริ การที่
ต้องการ โดยอาศัย สื่อ (Media) เป็ นช่องทางในการนาส่งข้อความหรื อเนื้อหาสาระที่เจ้าของแบรนด์น้ นๆ
                                                                                              ั




     ตัวอย่าง Brand ที่มีมลค่าสูง คือ brand ‚Intel‛ ที่สามารถสร้างมูลค่าให้กบผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ส่วน
                          ู                                                 ั
บุคคล (PC) ได้อย่างมหาศาล แม้ว่า Intel จะไม่ใช่ผผลิต PC เลยก็ตาม
                                                ู้
2.External Influences, Internal Influences ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน

            2.2. Internal Influences ปัจจัยภายใน
การรับรู้

            Brand เกิดจากการรับสื่อผ่านทางโฆษณา หรื อ จากคนรอบข้างครอบครัว เพื่อน ซึ้งใช้brand นั้นอยู่
ว่ามีประโยชน์อย่างไรทาไมถึงเลือกbrand ที่ใช่อยู่ อาจเกิดจากครอบครัวที่ใช้brandนั้ นมานานแล้ว จึงติด
brand นั้นและอาจจะพิจราณา brand นั้นเป็ นอันดับแรก

ความจาเป็ น

            สิ่งสาคัญ brand อาทิ แชมพู สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก กระเป๋ าถือ เรื่ อยไปจนถึงเครื่ องสาอางต่างๆ
แต่เรามักจะเรี ยกที่ “แบรนด์ ” หรื อ ตราสินค้านั้นๆ โดยตรง เช่น จะไปซื้อ โดฟ ลักส์ คอลเกต บรี ส โค้ช
หลุยส์ วิตตอง คลีนิค ลาแมร์ ฯลฯ เทรนด์น้ ีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ยากที่จะบอก รู้แค่เพียงมันเกิดขึ้นแล้ว และ
โอกาสที่จะกลับไปในโลกลักษณะเดิมที่จะเรี ยกสินค้าตามประเภทคงจะไม่มี ในฐานะที่เป็ นนักการตลาด
หรื อเจ้าของสินค้าควรจะจับตามองปรากฏการณ์น้ ี และให้ความสาคัญกับการปรับตัวให้เข้าไปอยูในโลก
                                                                                      ่
ของผูบริ โภคปัจจุบนให้ได้ ว่าทาอย่างไรตราสินค้าเราจึงจะเป็ นที่หนึ่งในใจของผูบริ โภคได้
     ้            ั                                                          ้

แรงจูงใจ

            แรงจูงใจ เกิดจากแรงผลักดันของคนรอบข้าง ที่ใช้แบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งอย่างต่ อเนื่องแล้วมีผคน
                                                                                                  ู้
อีกหลายคนยอมรับแบรนด์ดงกล่าวว่าดี จึงเกิดแรงจูงใจให้บุคคลนั้นเลือกที่จะใช้แบรนด์ดงกล่าวด้วย เช่น
                      ั                                                          ั
เราเห็นโฆษณาสินค้าแบรนด์หนึ่งแล้วมีผบริ โภคมีการบริ โภคอย่างแพร่ หลายจึงเกิดแรงจูงใจที่จะใช้แบรนด์
                                    ู้
นั้นแม้จะไม่รู้วาแบรนด์น้ นดีหรื อไม่ดีกตาม
                ่         ั             ็

ทัศนคติ

ความสัมพันธต่อตรา (Brand Relationship)ที่ดีต่อลูกค้า ทาให้เกิดความเชื่อถือในแบรนด์ เมื่อออกสินค้าใหม่
ๆ ลูกค้าก็ตดสินใจซื้อแบรนด์น้ นไม่ยาก เนื่องมาจาก ประวัติตรา ภาพพจน์ และสังคมตรา(Brand
           ั                  ั
Association)
2.1. External Influences ปัจจัยภายนอก
ชนชั้นทางสังคม

        คนบางคนซื้อbrand ที่มีราคาสูงเพื่อบ่งบอกชนชั้นทางสังคม หรื อ การซื้อbrand เข้าสังคม เพราะ
brand บางอย่างสามารถบอกได้ถึงชนชั้นทางสังคม ซึ่งโดยทัวไปสามารถแบ่งชั้นทางสังคมออกเป็ น 3
                                                     ่
ระดับชั้นด้วยกัน คือ
             1. ชนชั้นระดับสูง (upper class)
             2. ชนชั้นระดับกลาง (middle class)
             3. ชนชั้นระดับล่าง (lower class)

วัฒนธรรม

        สินค้าที่กลุ่มคนกลุ่มคนหนึ่งใช้แล้วรู้สึกประทับใจและใช้แบรนด์น้ นมาเป็ นเวลายาวนาน จึงเกิด
                                                                        ั
วัฒนธรรมในการใช้แบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งอย่างต่อเนื่องโดยการบอกกันโดยปากต่อปาก หรื อบุคคลใน
ชุมชนหรื อในสังคมใช้มาก ก็จะใช้ตามคนในสังคมนั้นๆเพราะว่าคนในสังคมนั้นยอมรับแบรนด์น้ นว่าดี
                                                                                    ั
ยกตัวอย่างเช่น แบรนด์สินค้าแบรนด์หนึ่งที่มผบริ โภคในสังคมนั้นๆ ใช้เยอะก็จะเป็ นแรงผลักดันด้าน
                                          ี ู้
วัฒนธรรมที่จะให้ผบริ โภคที่ไม่เคยใช้สินค้าแบรนด์น้ นมาใช้แบรนด์น้ นด้วย
                 ู้                                ั              ั
             เป็ นปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อความต้องการและพฤติกรรมของคน โดยเด็กที่กาลังเติบโต จะ
ได้รับอิทธิพลของค่านิยม (values), การรับรู้ (perceptions), ความชอบ (preferences) และพฤติกรรม
(behaviors) มาจากครอบครัว และสถาบันที่สาคัญ ๆ เช่น โรงเรี ยน เป็ นต้น

วัฒนธรรมย่อย
             ในแต่ละวัฒนธรรมจะประกอบไปด้วยวัฒนธรรมย่อย ๆ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันออกไป ซึ่ง
จะนาไปสู่การแบ่งส่วนตลาด และการออกแบบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด (4 P's) ที่แตกต่างกันออกไป
ประกอบด้วย
                - เชื้อชาติ, สัญชาติ เช่น ไทย จีน อเมริ กา อังกฤษ ลาว เป็ นต้น
                - ศาสนา เช่น พุทธ อิสลาม คริ สต์ ซิกข์ เป็ นต้น
                - พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ เป็ นต้น
สถานภาคทางสังคม

        จากการสารวจผูบริ โภคคนไทย พบว่ากลุ่มใหญ่สุด คือกลุมมองหาสภานภาพของตนเอง เป็ นกลุ่มที่
                     ้                                    ่
ห่วงภาพลักษณ์ตนเอง และต้องการมีสถานภาพที่ดีทางสังคม โดยผูบริ โภคชาวไทยติดอันดับ 1 ในผลสารวจ
                                                         ้
ประเด็นใช้แบรนด์เพื่อเสริ มภาพลักษณ์และสถานภาพให้ดดี ไฮโซในสังคม ในสัดส่วนถึง 92% จากค่าเฉลี่ย
                                                  ู
เอเชียอยูที่ 74% ทั้งนี้ แนวโน้มของผูบริ โภคคนไทยที่ใช้แบรนด์เนม เสริ มภาพลักษณ์ไฮโซ และสถานภาพ
         ่                           ้
ทางสังคม มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเอเชียตั้งแต่ปี 2550-2551 และเชื่อว่าปี นี้ค่าเฉลี่ยยังอยูในอันดับต้นๆ
                                                                                               ่
แม้ว่าภาพรวมเศรษฐกิจจะอยูในภาวะถดถอย แต่กลุ่มผูบริ โภคที่มีฐานะยังคงให้ความสาคัญกับการใช้แบ
                         ่                     ้
รนด์เนมและการจับจ่าย
        ‚การห่วงภาพลักษณ์และสถานภาพทางสังคมของคนไทย รวมทั้งการเลือกใช้แบรนด์เนมเพื่อเสริ ม
ภาพลักษณ์ให้ดูดี

        จะเป็ นไปตามฐานะของแต่ละกลุ่ม ในกลุ่มระดับสูง จะเลือกแบรนด์เนมระดับพรี เมียม ส่วนกลุ่ม
ระดับกลางจะเลือกใช้แบรนด์ที่ได้รับการยอมรับในระดับกลาง
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value
Brand value

More Related Content

Viewers also liked

แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeVitsanu Nittayathammakul
 
Marketing Decision Making_Instant Noodles
Marketing Decision Making_Instant NoodlesMarketing Decision Making_Instant Noodles
Marketing Decision Making_Instant NoodlesRaveena Balani
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยChatchamon Uthaikao
 
Mcdonald case-study & analysis
Mcdonald case-study & analysisMcdonald case-study & analysis
Mcdonald case-study & analysisiipmff2
 
Mc donald case study 1
Mc donald case study 1Mc donald case study 1
Mc donald case study 1umarshk
 
Mit2 092 f09_lec10
Mit2 092 f09_lec10Mit2 092 f09_lec10
Mit2 092 f09_lec10Rahman Hakim
 
Adopting Intelligence-Driven Security
Adopting Intelligence-Driven SecurityAdopting Intelligence-Driven Security
Adopting Intelligence-Driven SecurityEMC
 
Friday atlas lesson
Friday atlas lessonFriday atlas lesson
Friday atlas lessonTravis Klein
 
Tuesday marginal analysis
Tuesday marginal analysisTuesday marginal analysis
Tuesday marginal analysisTravis Klein
 
Stalking the Kill Chain
Stalking the Kill ChainStalking the Kill Chain
Stalking the Kill ChainEMC
 

Viewers also liked (19)

Mama Marketing Plan
Mama Marketing PlanMama Marketing Plan
Mama Marketing Plan
 
ปตท
ปตทปตท
ปตท
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
Marketing Decision Making_Instant Noodles
Marketing Decision Making_Instant NoodlesMarketing Decision Making_Instant Noodles
Marketing Decision Making_Instant Noodles
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
McDonald Global Brand
McDonald Global BrandMcDonald Global Brand
McDonald Global Brand
 
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อยกรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย
 
Mcdonald case-study & analysis
Mcdonald case-study & analysisMcdonald case-study & analysis
Mcdonald case-study & analysis
 
Mc donald case study 1
Mc donald case study 1Mc donald case study 1
Mc donald case study 1
 
Topic 9 final accounts
Topic 9 final accountsTopic 9 final accounts
Topic 9 final accounts
 
Mit2 092 f09_lec10
Mit2 092 f09_lec10Mit2 092 f09_lec10
Mit2 092 f09_lec10
 
Adopting Intelligence-Driven Security
Adopting Intelligence-Driven SecurityAdopting Intelligence-Driven Security
Adopting Intelligence-Driven Security
 
Windows 8 Hyper-V: Scalability
Windows 8 Hyper-V: ScalabilityWindows 8 Hyper-V: Scalability
Windows 8 Hyper-V: Scalability
 
DATALOGIC Magellan 9800i - Multi-Plane Imaging Scanner and Scales
DATALOGIC Magellan 9800i - Multi-Plane Imaging Scanner and ScalesDATALOGIC Magellan 9800i - Multi-Plane Imaging Scanner and Scales
DATALOGIC Magellan 9800i - Multi-Plane Imaging Scanner and Scales
 
Friday atlas lesson
Friday atlas lessonFriday atlas lesson
Friday atlas lesson
 
Tuesday marginal analysis
Tuesday marginal analysisTuesday marginal analysis
Tuesday marginal analysis
 
Stalking the Kill Chain
Stalking the Kill ChainStalking the Kill Chain
Stalking the Kill Chain
 

Similar to Brand value

Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Businessdewberry
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity PümPüy Ża
 
Integrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in ThaiIntegrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in Thaicenutry movie plaza
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุดการประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุดKai Janghoo
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัดPongsa Pongsathorn
 

Similar to Brand value (20)

Business Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food BusinessBusiness Model Canvas Handbook - Food Business
Business Model Canvas Handbook - Food Business
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity
 
Integrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in ThaiIntegrated Brand Communication in Thai
Integrated Brand Communication in Thai
 
Siwaakr 023
Siwaakr 023Siwaakr 023
Siwaakr 023
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
Brand equity 1
Brand equity 1Brand equity 1
Brand equity 1
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Market
MarketMarket
Market
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุดการประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
การประชาสัมพันธ์กับห้องสมุด
 
กลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher marketกลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher market
 
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัดกลยุทธ์การจัดการองค์การ  บริษัทมติชน จำกัด
กลยุทธ์การจัดการองค์การ บริษัทมติชน จำกัด
 

Brand value

  • 1. ศึกษาแนวโน้ มพฤติกรรมผู้บริ โภค BRAND VALUE นาย ฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ ั รหัสนักศึกษา 54010911172 นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย รหัสนักศึกษา 54010911139 นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล รหัสนักศึกษา 54010911124 นาย พีนิธิ พฤทธิ์ พรชนัน รหัสนักศึกษา 54010911041 นาย ธงไท โพธิยนต์ ั รหัสนักศึกษา 54010911027 รายงานนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา พฤติกรรมผู้บริ โภค (Consumer Behavior) ่ คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปี การศึกษา 2/2554
  • 2. ชื่อโครงการ BRAND VALUE ผู้จดทา ั นาย ฐิศิวฒน์ ด่านประเสริ ฐ ั 54010911172 นาย ศราวุฒิ ปิ ตะฝ่ าย 54010911139 นาย พงศ์พิสุทธิ์ แสนธรรมพล 54010911124 นาย พีนิธิ พฤทธิ์ พรชนัน 54010911041 นาย ธงไท โพธิยนต์ ั 54010911027 หลักสู ตร ระดับ ปริ ญญาตรี คณะการบัญชีและการจัดการ สาขาการตลาด อาจารย์ประจาวิชา อาจารย์วจนะ ภูผานี ปี การศึกษา 2554 บทคัดย่ อ การวิเคราะห์ผ้ บริโภคเพื่อการโฆษณา ศึกษาความหมาย บทบาท และความสาคัญของตราสินค้ า ู ในการดาเนินงานทางการตลาด แนวคิด ทฤษฎี และกลยุทธ์การสร้ างตราสินค้ า กระบวนการสื่อสารตรา สินค้ าโดยอาศัยเทคนิคในการสื่อสารรูปแบบต่างๆ กรณีศกษาการบริหารตราสินค้ าทังที่ประสบความสาเร็จ ึ ้ และล้ มเหลว ตลอดจนถึงการประเมินคุณค่าของตราสินค้า
  • 3. กิตติกรรมประกาศ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็ จได้ดวยความอนุเคราะห์ของ บุคคล ้ หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ท้งหมด ซึ่งผูมีพระคุณท่านแรกที่ผศกษาใคร่ ขอกราบพระคุณคือ ท่าน ั ้ ู้ ึ ขอขอบคุณ อาจารย์วจนะ ภูผานี อาจารย์ผสอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่ อง ู้ ต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด คณะผู้จดทา ั กุมภาพันธ์ 2555
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย …………………………………………………………………………………ก กิตติกรรมประกาศ …………………………………………………………………………………ข สารบัญ ……………………………………………..………………………………………………ค สารบัญต่อ……………………………………………..……………………………………………ง บทที่ 1 บทนา BRAND VALUEตราสินค้า ………………………………………..………………….….1 ตราสินค้ากับประโยชน์ในการป้ องกันด้านกฎหมายตรสินค้า……………………………..1 ตราสินค้ากับประโยชน์ในการสร้างความสัมพันธ์……………………………………..….1 ตราสินค้ากับประโยชน์ทางด้านการเงิน การทาความเข้าใจในเรื่ องตราสินค้า…………….2 คุณสมบัติพ้ืนฐาน…………………………………………………………………….……4 การปรับในสิ่งที่ควรปรับ……………………………………………………………..….. .4 บทที่ 2ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการสร้างตราสินค้า………………………………………….…………….………5 การสร้างตราสินค้าในยุคเศรษฐกิจใหม่…..………………………………………..…….. 7 กลยุทธ์การบริ หารคุณค่าตราสินค้า…………………………………………………..….... 7 บทที่ 3วิธีการดาเนินงาน ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงและการเกิดขึ้นของแนวโน้ม………………….……….….….11 Internal Influences ปัจจัยภายใน………………………………………….….…….….…..12 External Influences ปัจจัยภายนอก………………………………………..………..…….13 บทที่4บริ ษท ั สัญลักษณ์ของโตโยต้า…………………………………………………,..……………...…15 Business Analysis Market Size…………………………………………..………….…… 21 Business Analysis Market Chare…………………………………………..…………..... . 22 คู่แข่งขันบริ ษทโตโยต้า………………………………………………………..….…...….. 24 ั บริ ษท ฮอนด้า……………………………………………………….…..………. .25 ั บริ ษท นิสสัน…………………………………………………………..……...….27 ั บริ ษทฟอร์ดประเทศไทย……………………………………………….........…... 29 ั 6 W 1 H …………………………………………….……………….…….……. 31 สารบัญ (ต่ อ)
  • 5. หน้ า Segmentation การแบ่งส่วนตลาด32 19 Targeting ตลาดเป้ าหมาย ………………………………………………………………...…32 Positioning การวางตาแหน่งผลิตภัณฑ์……………………………………………………...32 STP…………………………………………………………….............................................33 การตลาดToyota หรื อ 4P's………………………………………………………………..…34 บทที่ 5สรุ ปผลโครงการ สรุ ปผลการดาเนินงาน……………………………………………………………...………. 36 สรุ ป ........................................................................................................................................36 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………....................... 37
  • 6. บทที1 ่ บทนา BRAND VALUE ตราสินค้า ( BRAND VALUE )หมายถึง ชื่อ เครื่ องหมายทางการค้า สัญลักษณ์หรื อการออกแบบต่าง ๆ ที่เป็ นการระบุถึงสินค้าหรื อบริ การของผูขาย และเพื่อทาให้สินค้าของตนเองแตกต่างจากคู่แข่งขัน ในขณะที่ ้ ให้ความหมายของตราสินค้า ว่าเป็ นเครื่ องหมายทางการค้าที่ตองมีการจัดการผ่านความชานาญในการ ้ ส่งเสริ มการตลาด และทาให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าเพื่อให้เกิดการยอมรับในคุณค่าและคุณสมบัติที่กาหนด ่ ไว้ท้งสิ่งที่สมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ ส่วนสมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กาได้ให้ความหมาย ของตรา ั ั สินค้าว่าเป็ นชื่อ การตั้งชื่อ เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ การออกแบบหรื อการรวมกันทั้งหมดและตราสินค้ายัง เป็ นมากกว่าที่กล่าวมา แล้วคือเป็ นการให้คาสัญญาของบริ ษทที่มีต่อลูกค้าว่าผลิตภัณฑ์ที่ทาออกไปจะถูก ั ถ่ายทอดและดาเนินการอย่างไรให้เหมาะสมกับธุรกิจได้สรุ ปมุมมองเกี่ยวกับตราสินค้าไว้ 3 มุมมอง ดังนี้ 1. ตราสินค้ากับประโยชน์ในการปองกันด้ านกฎหมายตราสินค้า ซึ่งอาจจะเป็ นชื่อ คาอธิบาย ้ สัญลักษณ์ หรื อตราสัญลักษณ์ของบริ ษท หีบห่อหรื อบรรจุภณฑ์หรื อแม้กระทัง การโฆษณาที่เกี่ยวข้องกับ ั ั ่ ตราสินค้าสามารถป้ องกันได้ในด้านของกฎหมาย การจดทะเบียน ยินยอมเป็ นเจ้าของซึ่งสามารถใช้เป็ น ข้อบังคับด้านกฎหมาย การจดทะเบียนทาให้ตราสินค้า นาไปสู่ความแตกต่างในตัวผลิตภัณฑ์และความเป็ น เจ้าของและที่สาคัญคือการสร้างตราสินค้าที่มีลกษณะผูกขาดโดยใช้กฎหมายมาช่วยสาหรับองค์กรที่เป็ น ั เจ้าของไม่เช่นนั้น ตราสินค้าอื่น ๆ ก็จะสามารถออกตราสินค้าในลักษณะที่เหมือนกันได้ 2. ตราสินค้ากับประโยชน์ในการสร้ างความสัมพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าหรื อ ั กลุ่มเป้ าหมายสามารถกระทาได้โดยผ่านกิจกรรมทางการตลาดที่หลากหลายซึ่งสามารถป้ องกันการโจมตี จากคู่แข่งขันได้ แต่ไม่ได้ทาให้ลกษณะของสินค้าหรื อบริ การ มีความแตกต่างกันออกไป หากแต่สามารถ ั สร้างความสัมพันธ์ทางด้านอารมณ์และบทบาท หน้าที่ได้ 2.1 คุณสมบัตด้านบทบาทหน้ าที่ เช่ น ิ 2.1.1 การชี้ให้เห็นถึงความมันใจในตราสินค้าและทาให้เกิดการยอมรับโดยใช้สี สัญลักษณ์หรื อ ่ รู ปภาพเข้ามาช่วย 2.1.2 ทาให้ลกค้าเกิดความง่ายในการเลือกสินค้าหรื อการบริ การโดยการสร้างความแตกต่างจากสาย ู ผลิตภัณฑ์อื่นหรื อตราสินค้าในประเภทเดียวกัน 2.1.3 เป็ นการรับรองถึงแหล่งที่มา หลักฐานของผูทาหรื อผูจดส่งสินค้าหรื อบริ การ ้ ้ั 2.1.4 เป็ นการยืนยันคุณภาพบนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ ความมีชื่อเสียงและการยอมรับที่สร้างโดย เจ้าของตราสินค้า
  • 7. 2.2 ส่ วนคุณสมบัตด้านอารมณ์ เช่ น ิ 2.2.1 ลูกค้าอุ่นใจในตัวสินค้าและการบริ การที่แสดงออกถึงระดับที่มีคุณภาพ 2.2.2 มีความสัมพันธ์กบความคิดหรื อแนวคิดในการยกระดับสินค้าให้เข้าไปอยูในใจของลูกค้าหรื อ ั ่ กลุ่มที่คาดหวัง เพื่อให้ลกค้ามีความรู้สึกที่ชอบมากกว่าคู่แข่งรายอื่น ู 2.2.3 ต้องค้นพบความปรารถนาของลูกค้าโดยใช้ ‚เครื่ องหมายที่แสดงถึงการเป็ นสมาชิก‛ โดยมีการ แสดงความคิดเห็นในเรื่ องความเชื่อ การยอมรับหรื อความคาดหวัง ของผูใช้ ้ 2.2.4 มีการเตรี ยมรู ปแบบที่ให้ลกค้าแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคลในประเด็นของการใช้ตราสินค้า ู องค์ประกอบเหล่านี้ไม่ได้มกฎหมายที่คอยสนับสนุนโดยเฉพาะ ดังนั้นจึงต้องมีการสร้างตราสินค้าให้เกิด ี ความแข็งแรงในสายสัมพันธ์กบลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย โดยทัวไปแล้วการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าและตรา ั ่ ั สินค้าที่เกิดขึ้นจะช่วยสนับสนุนรายได้ขององค์กรให้รุดหน้าและมันคงสืบต่อไป ่ 3. ตราสินค้ากับประโยชน์ทางด้ านการเงิน การทาความเข้ าใจในเรื่องตราสินค้า นอกจากเป็ นมุมมอง ทางด้านกฎหมายและการสร้างความสัมพันธ์กบลูกค้าแล้วยังต้องพิจารณาถึงประโยชน์ทางด้านการเงินอีก ั ด้วย ซึ่งแนวทางของการสร้างคุณค่าตราสินค้าสาหรับองค์กรมีดงนี้ ั 3.1 รู ปแบบของการสร้างตราสินค้าเป็ นสิ่งสาคัญซึ่งจะทาให้ตราสินค้านั้นยังคงดารงอยูในตลาดและ ่ สามารถสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นทั้งจากลูกค้าปัจจุบนและอนาคต ั 3.2 ตราสินค้าที่มการตั้งราคาสูงเนื่องจากความต้องการสร้างคุณค่าให้กบ ี ั ตราสินค้า อีกทั้งยังใช้เพื่อรักษาราคาให้คงอยูในเวลาที่ยอดขายถดถอยหรื อมีการแข่งขันตราสินค้าที่รุนแรง ่ 3.3 ความแข็งแรงของตราสินค้าช่วยทาให้เกิดปริ มาณการขายที่ดีกว่าการที่ไม่มี ตราสินค้า จึงเป็ นการเพิม ่ ปริ มาณการเงินของธุรกิจดีข้ ึน 3.4 การยินยอมให้ตราสินค้าขยายไปสู่ตลาดใหม่ การจาได้ในชื่อตราสินค้าทาให้ตราสินค้านั้น ๆ ง่ายต่อ การเข้าสู่ตลาดที่ตองการ ้ 3.5 ความแข็งแรงของตราสินค้าช่วยให้การแนะนาสินค้าที่จะเข้าสู่ตลาดใหม่ง่ายขึ้น ซึ่งการแนะนาเพียง เล็กน้อยก็ยงดีกว่าการปล่อยให้ลกค้าไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับสินค้าหรื อบริ การนั้น ๆ ั ู 3.6 ตราสินค้าสามารถเข้าสู่พ้ืนที่ใหม่ได้เพื่อหาลูกค้ากลุ่มแรกและทาให้เกิดการยอมรับในโลกธุรกิจ ทั้งนี้ เพื่อกาจัดความไม่รู้หรื อความไม่มีตราสินค้าของผลิตภัณฑ์ 3.7 ความแข็งแกร่ งของตราสินค้าสามารถทาให้นกการตลาดและนักสื่อสารการตลาดเข้าไปในส่วนใหม่ ั ๆ ของโลกธุรกิจและยังลดการต่อต้านจากผูใช้รายใหม่ได้เป็ นอย่างดี ้
  • 8. ตราสินค้าที่แข็งแรงต้องมีคุณค่าและมีประโยชน์ดวยการสื่อสารที่หลากหลายอย่างสม่าเสมอและมี ้ ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งหลักของการสร้างตราสินค้านั้น ประกอบด้วยสามส่วนคือ (1) ความต่อเนื่อง (2) ความชัดเจน และ (3) ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทุกองค์ประกอบจะต้องทางานร่ วมกันเพื่อให้ลกค้า ู ได้รับความพึงพอใจในตราสินค้ามากที่สุด ดังนั้นนักการตลาดและนักสื่อสารการตลาดจึงจาเป็ นต้องมีการ บริ หาร คุณค่าตราสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ตราสินค้านั้นอยูในความทรงจาของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย ่ และสามารถนาไปสู่การตัดสินใจซื้อในอนาคตได้และสิ่งที่ทาให้ลกค้ารู้จกตราสินค้าและเชื่อถือในตรา ู ั สินค้านั้นมี 2 ประเด็นหลักที่สาคัญคือ หัวใจของตราสินค้าและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างตราสินค้า กับลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย อานาจของตราสินค้า (Brand Power) ว่าสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่ขอมูลเกี่ยวกับ ตราสินค้าที่ได้รับ ทา ้ ให้เกิดความเชื่อถือจากสองแหล่งดังนี้ (1) จากการรับรูจากมุมมองของตัวลูกค้าเองว่าตราสินค้านั้นเป็ นเช่น ้ ไร และ (2) จากการรู้อย่างลึกซึ้งถึงคุณค่าตราสินค้าและความหมายของตราสินค้า หากลูกค้ามีความเชื่อกับ สิ่งเหล่านี้ก็จะสามารถลดค่าใช้จ่ายและความยุงยากในการเลือกตราสินค้าช่วยให้ลกค้าลดเวลาในการเลือก ่ ู สินค้าได้ถาหากตราสินค้านั้น ๆ สามารถทาให้ลกค้าเชื่อถือ นอกจากนั้นตราสินค้ายังสามารถแยกความ ้ ู แตกต่างในตัวสินค้าออกจากคู่แข่งได้ดวยการกาหนดส่วนแบ่งการตลาดที่ชดเจน เพื่อกาหนดคุณสมบัติของ ้ ั ตราสินค้าและมีการกาหนดลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายอย่างถูกต้อง การบริ หารตราสินค้าให้เกิดความแข็งแกร่ ง นอกจากจะเป็ นการเพิ่มพฤติกรรมการซื้อให้ กับลูกค้าแล้วยังเป็ นการเพิ่มความจงรักภักดีต่อตราสินค้าและ ยังช่วยป้ องกันตราสินค้าจากคู่แข่งขันในตลาดได้อีกด้วย การบริ หารตราสินค้าเป็ นส่วนหนึ่งของการตลาดเชิงกลยุทธ์ที่นกการตลาดและนักสื่อสารการตลาดกาลัง ั ให้ความสนใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากธุรกิจในปัจจุบนต้องแข่งขันกันสูงมากทาให้การบริ หารตราสินค้ามี ั พลังและอานาจเพียงพอที่จะช่วยธุรกิจต่อสูกบกระแสการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็ น ้ ั การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมของลูกค้า อิทธิพลจากคู่แข่งขัน เทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมทางการตลาด ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ตราสินค้าใดที่สามารถดารงอยูได้เกิน 50 ปี จะเกิดการยอมรับในกลุ่มนักการ ่ ่ ตลาดและนักสื่อสารการตลาดโดยทัวไปว่าเป็ น ‚ตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง‛ (Powerful Brand) และถือว่าเป็ น ่ ทรัพย์สิน (Asset) ที่มีมลค่ามหาศาลของธุรกิจ คุณสมบัติพ้นฐานของตราสินค้าที่แข็งแกร่ งมี 6 ประการดังนี้ ู ื (1) ความแตกต่างที่ลกค้าต้องการ (2) ต้องประทับใจลูกค้า (3) ต้องต่อเนื่องและมีความสม่าเสมอ (4) ต้องมี ู ลิขสิทธิ์คุมครอง (5) ต้องมีความเป็ นสากล และ (6) ต้องอยูรอดทนทานและนานข้ามยุค (Extend period of ้ ่ time)
  • 9. คุณสมบัตพนฐานของตราสินค้าที่แข็งแกร่ งและหลักการทีเ่ กียวข้ องกับการบริหารคุณค่าตราสินค้า ิ ื้ ่ 1. การยึดในสิ่งที่ควรยาอย่างสมาเสมอ (Consistency) ้ ่ ส่วนนั้นไว้อย่างเหนียวแน่นคือหัวใจหลักของการทาให้ตราสินค้าอยูทนนาน เนื่องจากการรักษาความ ่ สม่าเสมอจะให้ประโยชน์กบตราสินค้า 3 ประการคือ ั 1.1 ยึดจุดครองตาแหน่งในตลาด (Positioning) โดยอัตโนมัติ ซึ่งทาให้ค่แข่งยากที่จะเข้ามาแย่งชิง ู ตาแหน่งนั้นได้ เช่น ในประเทศไทย แชมพู ‚Sun silk‛ ครองจุดยืนที่ถกยอมรับจากช่างผมมืออาชีพมานาน ู พร้อมกับทากิจกรรมทางการตลาดที่ตอกย้าอย่างต่อเนื่องทาให้แชมพู ‚Rejoice‛ ไม่สามารถยึดครองใจลูกค้า ด้วยการใช้ช่างผมมืออาชีพเหมือนกับแชมพู ‚Sun silk‛ ได้ 1.2 ยึดครองเอกลักษณ์ (Ownership of Identity Symbol) ซึ่งเป็ นได้ท้งสัญลักษณ์ สโลแกน ทานองเพลง ั คาหรื อตัวบุคคล เช่น กรณี คลาสสิกของบุหรี่ ‚Marlboro‛ ที่ยดครองภาพของคาวบอย แม้ค่แข่งจะพยายาม ึ ู สร้างสรรค์ภาพให้ได้ความรู้สึกที่ใกล้เคียงกันแต่กลับยิงไปช่วยเสริ มและตอกย้าความเป็ น Marlboro มาก ่ ยิงขึ้น ่ 1.3 ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพด้านการใช้เงิน (Cost Effective) เพราะการสร้างเอกลักษณ์ตราสินค้าขึ้นมา ใหม่ไม่ใช่เรื่ องง่ายและต้องใช้เงินจานวนมาก อีกทั้งไม่อาจรับ- ประกันความสาเร็ จได้ เช่น การที่ตราสินค้า เกิดใหม่ตองใช้เงินลงทุนสูงในการสร้างคุณค่า ตราสินค้า ดังนั้นการที่ตราสินค้ามีความสม่าเสมอจึง ้ เปรี ยบเสมือนการมีตนทุนเก่าที่สร้างและสะสมมาเป็ นเวลานาน ้ 2. การปรับในสิ่งทีควรปรับ (Change) ่ การเปลี่ยนเอกลักษณ์ (Identity) และตาแหน่งในตลาด (Positioning) ของตราสินค้าเป็ นเรื่ องที่ค่อนข้าง เสี่ยง เพราะหากใช้กลยุทธ์ที่ไม่เหมาะสมอาจส่งผลกระทบทางอ้อมต่อตราสินค้าในระยะยาวได้ เช่น การ เปลี่ยนมาใช้กลยุทธ์ลดราคาบ่อย ๆ ทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายเชื่อมโยงตราสินค้ากับสินค้าลดราคา การ ู เปลี่ยนเอกลักษณ์ที่อยูมานานจึงต้องใคร่ ครวญให้รอบคอบ หากมีเหตุผลที่จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงก็สามารถ ่ ทาได้ดงเช่นเหตุผลต่อไปนี้ ั 2.1 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นไม่ชดเจน ไม่มคนสนใจ ั ี 2.2 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นล้าสมัย เช่น กรณี ไก่ทอด ‚Kentucky Fried Chicken‛ ที่ตองเปลี่ยน ้ เอกลักษณ์จากความเป็ นอาหารทอดเนื่องจากลูกค้าไม่กล้าบริ โภคอาหารที่มีไขมันมาก 2.3 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นมีกลุ่มเป้ าหมายแคบหรื อจากัดจนเกินไป 2.4 เอกลักษณ์ของตราสินค้านั้นถูกใช้มานานจนกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายเกิดความเบื่อหน่าย
  • 10. บทที่ 2 ทฤษฏีที่เกียวข้ อง ่ เป็ นที่ยอมรับกันในหมู่นกการตลาดว่า ‚ตรายีหอ‛ เป็ นปัจจัยสาคัญอย่างยิงต่อความสาเร็ จทาง ั ่ ้ ่ การตลาด ตรายีหอช่วยให้นกการตลาดแยกแยะสินค้าหรื อบริ การของตนออกจากผูอื่น ตรายีหอช่วยให้ ่ ้ ั ้ ่ ้ ผูบริ โภคจาได้ว่า ประทับใจสินค้าหรื อบริ การใด ซึ่งจะมีผลต่อการกลับมาหาซื้อยีหอให้ถกใจได้ ้ ่ ้ ู ศาสตราจารย์ สตีเว่น คิง ปรมาจารย์ทางการตลาดได้กล่าวไว้ว่า ‚สินค้าคือสิ่งที่ผลิตในโรงงาน ตรายีหอ ่ ้ คือสิ่งที่ผบริ โภคเลือกซื้อ สินค้าคือสิ่งที่ผบริ โภคใช้‛ คากล่าวประโยคนี้สะท้อนสัจธรรมทางการตลาดถึง ู้ ู้ ความสาคัญของตรายีหอ สินค้าที่ผลิตจากโรงงานเดียวกัน แต่ยหอต่างกัน ความนิยมชมชอบของผูบริ โภค ่ ้ ี่ ้ ้ ย่อมแตกต่างกันด้วย ขั้นตอนการสร้ างตราสินค้า 1.การเลือกชื่อตราสินค้า 2.การสร้างความเกี่ยวพันทางบวก 3.การสร้างเอกลักษณ์ตราสินค้า 3.1 ชื่อของตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง 3.2 การใช้สีสนที่เหมาะสมมาช่วยในการจดจาตราสินค้า ั 3.3 อ้างอิงกับเรื่ องราวของบริ ษทหรื อตราสินค้า ั 4.การประเมินความมีประสิทธิผลของตราสินค้า 1. การเลือกชื่อตราสินค้า เป็ นขั้นตอนแรกของการสร้างตราสินค้า ซึ่งต้องมีความสอดคล้องกับการวาง ตาแหน่งคุณค่าของตราสินค้า สามารถเลือกชื่อได้หลายวิธี เช่น ใช้ชื่อบุคคล สถานที่ต้ง คุณภาพ รู ปแบบ ั ชีวิต หรื อชื่อตั้งขึ้นเอง สิ่งที่ควรคานึงถึงในการคัดเลือกชื่อของตราสินค้า ได้แก่ 1) บ่งบอกถึงประโยชน์ของ สินค้า 2) บ่งบอกถึงประเภทของสินค้าหรื อบริ การ 3) บ่งบอกถึงคุณภาพของสินค้า 4) ออกเสียงได้ง่าย เป็ นที่ รู้จกและจดจาได้ง่าย เป็ นชื่อสั้นๆ 5) ต้องมีความโดดเด่น 6) ต้องระมัดระวังไม่ให้มีความหมายที่ไม่ดีเมื่อใช้ ั ในบางประเทศหรื อบางภาษา โดยทัวไปแล้ว องค์กรจะเลือกชื่อตราสินค้าด้วยการทาบัญชีรายชื่อของชื่อ ่ ต่างๆที่องค์กรสนใจ อภิปรายถึงข้อดีขอเสียของแต่ละชื่อ และคัดเหลือเพียงไม่กี่ชื่อ จากนั้นนาชื่อเหล่านี้ไป ้ ทดสอบกับกลุ่มเป้ าหมาย แล้วทาการตัดสินใจ ซึ่งในปัจจุบนมีองค์กรวิจยการตลาดที่รับจ้างทาขั้นตอนต่างๆ ั ั เหล่านี้ 2.การสร้ างความเกียวพันทางบวก ผูบริ หารควรพิจารณาถึงมิติต่างๆที่สามารถสื่อถึงความหมายของตรา ่ ้ สินค้าได้ คือ เรื่ องของคุณสมบัติ เรื่ องผลประโยชน์ เรื่ องค่านิยมขององค์กร บุคลิกภาพ และกลุ่มผูใช้ ้ 3.การสร้ างเอกลักษณ์ตราสินค้า ต้องมีการตัดสินใจในเรื่ องของชื่อ รู ปแบบสัญลักษณ์ สี ถ้อยคาเฉพาะ และ สัญลักษณ์ โดยเอกลักษณ์ท่ีสร้างขึ้น ต้องแสดงถึงคามันสัญญาของนักการตลาดที่ให้ไว้ ในรู ปแบบของ ่
  • 11. คุณลักษณะ คุณประโยชน์หรื อบริ การที่สม่าเสมอแก่ผซ้ือ เอกลักษณ์ตราสินค้าไม่สามารถสร้างจากการ ู้ โฆษณา แต่จะสร้างจากประสบการณ์ของตราสินค้านั้นๆ 3.1 ชื่อของตราสินค้าที่แข็งแกร่ ง เมื่อเอ่ยกับกลุ่มเป้ าหมาย เป็ นชื่อที่กระตุนให้นึกถึงคาอื่นๆ ซึ่งเป็ น ้ คาที่ชื่นชอบ นอกจากถ้อยคาเฉพาะแล้ว หลายองค์กรประสบความสาเร็ จกับการใช้คาขวัญ หรื อข้อความ ห้อยท้ายชื่อองค์กรหรื อตราสินค้า โดยกล่าวซ้ าๆในโฆษณาทุกชิ้นอย่างสม่าเสมอจนสามารถสร้างให้เป็ น เอกลักษณ์ตราสินค้าได้ 13 อย่างไรก็ตาม การสร้างคาขวัญไม่ใช่เรื่ องง่ายเสมอไป เพราะถ้ามีการเปลี่ยนคา ขวัญบ่อยๆจะทาให้ลกค้าจาไม่ได้ หรื อถ้าเลือกใช้คาขวัญที่ไม่น่าสนใจจะทาให้ลกค้าละเลยได้ ู ู 3.2 การใช้สีสนที่เหมาะสมมาช่วยในการจดจาตราสินค้า มีการใช้สญลักษณ์และโลโก้ในการ ั ั สื่อสารกับตราสินค้า โดยอาจใช้ดารา พิธีกร หรื อนักกีฬาชื่อดังในการโฆษณา เพื่อต้องการให้กลุ่มเป้ าหมาย เข้าใจว่า สัญลักษณ์หรื อบุคคลดังกล่าวสามารถถ่ายทอดคุณสมบัติไปที่ตราสินค้าด้วย อย่างไรก็ตาม การใช้ บุคคลที่มชื่อเสียง นอกจากต้องลงทุนสูงแล้ว ยังอาจมีความเสี่ยงที่บุคคลเหล่านี้จะไปพัวพันกับเรื่ องอื้อฉาว ี ซึ่งจะส่งผลร้ายต่อภาพลักษณ์สินค้าด้วย 3.3 อ้างอิงกับเรื่ องราวของบริ ษทหรื อตราสินค้า ซึ่งเป็ นที่ชื่นชมและน่าสนใจ อาจเป็ นเรื่ องราว ั เกี่ยวกับผูก่อตั้งหรื อการต่อสูเ้ พื่อสร้างบริ ษทนั้นๆขึ้นมา หรื อเป็ นเรื่ องราวในการบริ จาคหรื อช่วยเหลือสังคม ้ ั ที่เป็ นที่ชื่นชมของบริ ษท โดยเรื่ องราวต่างๆนี้จะช่วยตอกย้าความรู้สึกชื่นชมที่มีต่อตราสินค้าของลูกค้า ั ทั้งหลาย 4.การประเมินความมีประสิทธิผลของตราสินค้า มุ่งที่การประเมินคุณสมบัติสองประการคือ 1) ความ สามารถในการอยูรอดของตราสินค้า (brand vitality) และ 2) ระดับความสาเร็ จของตราสินค้า (brand ่ statue)13 โดยความสามารถในการอยูรอดของตราสินค้า จะแสดงถึงความสามารถในการทาให้ตราสินค้า ่ นั้นมีความแตกต่างจากคู่แข่งในความคิดของลูกค้าหรื อไม่ และความแตกต่างนั้นจะต้องมีความเกี่ยวพันกับ ความต้องการของลูกค้าด้วย ในขณะที่ระดับความสาเร็ จของตราสินค้า จะวัดได้จากการได้รับความนิยมยก ย่องในระดับสูง และเป็ นที่รู้จกคุนเคยอย่างสูงในกลุ่มเป้ าหมาย ั ้
  • 12. การสร้ างตราสิ นค้าในยุคเศรษฐกิจใหม่ ส่วนใหญ่ทฤษฎีในการสร้างตราสินค้าได้มการพัฒนามาจากองค์กรผูผลิตและจาหน่ายสินค้า ี ้ อุปโภคบริ โภคต่างๆ (Consumer goods) โดยจะต้องสร้างให้เกิดความแตกต่างของสินค้าหรื อสัญญาลักษณ์ มีการใช้งบประมาณจานวนมากในการโฆษณา โดยหวังว่าจะสร้างให้เกิดการทดลองใช้และความภักดีต่อ สินค้าในที่สุดอย่างไรก็ตามในยุคเศรษฐกิจใหม่น้ ี (Schultz) เชื่อว่าทฤษฎีดงกล่าวอาจไม่เหมาะสมกับธุรกิจ ั บางอย่าง เช่น ธุรกิจบริ การ ธุรกิจเทคโนโลยี หรื อธุรกิจการเงิน เป็ นต้น โดยได้เสนอแนะให้องค์กรเหล่านี้ ใช้แนวคิดที่แตกต่างจากเดิมในการสร้างตราสินค้า ดังนี้ 1. องค์กรควรทาความเข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับค่านิยมพื้นฐานของบริ ษท และการสร้างตราสินค้าองค์กร ั (corporate brand) 2.องค์กรควรใช้ผบริ หารตราสินค้าเป็ นผูบริ หารกลยุทธ์ในการสร้างตราสินค้า แต่ความสาเร็ จของการสร้าง ู้ ้ ตราสินค้าจะขึ้นกับบุคลากรทุกคนในองค์กรที่ตองยอมรับและดาเนินชีวิตไปในแนวทางของตาแหน่งคุณค่า ้ ของตราสินค้าที่วางไว้ 3.องค์กรจาเป็ นต้องพัฒนาตราสินค้าที่จะช่วยสร้างประสบการณ์เชิงบวกให้แก่ลกค้า ในทุกจุดสัมผัสของ ู ตราสินค้า เช่น การมีกิจกรรม สัมมนา ข่าวสาร การติดต่อแบบตัวต่อตัว โทรศัพท์ และอีเมล์ เป็ นต้น 4. องค์กรต้องกาหนดแก่นแท้พ้ืนฐานของตราสินค้า (brands basic essence) เพื่อการสื่อสารและส่งมอบ ทา ให้สามารถเปลี่ยนแปลงการบริ การได้ในแต่ละตลาด โดยคงความรู้สึกพื้นฐานเอาไว้ 5. องค์กรต้องยึดมันในข้อเสนอคุณค่าของตราสินค้า (brand-value proposition) ในการวางกลยุทธ์ การ ่ ปฏิบติการ การบริ การและในการพัฒนาสินค้าใหม่ๆ ั 6.ในการวัดความสาเร็ จของตราสินค้าจะไม่เพียงวัดโดยวิธีเก่าๆ เช่น การวัดการตระหนักรู้ หรื อ ความสามารถในการจดจา แต่จะต้องเข้าใจถึงวิธีการวัดความพึงพอใจของลูกค้า การวัดคุณค่ารับรู้ของลูกค้า และการรักษาลูกค้าเดิมไว้ดวย ้ กลยุทธ์ การบริหารคุณค่าตราสินค้า 1. กลยุทธ์ตอกย้า (Reinforcing Brands) 1.1 ยิงตอกย้ายิงแกร่ ง (Maintaining Brand Consistency) ่ ่ การตอกย้าในสิ่งที่ให้ผลเชิงบวกจะส่งผลให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมีการรับรู้ในตราสินค้าตลอดจนความ ู ภักดีต่อตราสินค้าที่ต่อเนื่อง แม้ตราสินค้าที่อยูมานานก็จาเป็ น ต้องตอกย้าอยูเ่ สมอ เช่น บริ ษท เชลล์ จากัด ที่ ่ ั อยูในตลาดค้าน้ ามันมานาน โดยในปี ค.ศ. 1970 บริ ษท เชลล์ จากัด เป็ นผูนาตลาดทาให้ ลูกค้ามีภาพลักษณ์ ่ ั ้ ที่ดีต่อตราสินค้ามาก ครั้นถึงช่วงปี ค.ศ. 1980 ด้วยเหตุผลต่าง ๆ บริ ษท เชลล์ จากัดได้ลดค่าใช้จ่ายการ ั สื่อสารและกิจกรรมการตลาดที่เคยทามาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริ ษทไม่สามารถครองภาพลักษณ์ที่ดีในใจ ั ลูกค้าได้ดงเดิม จึงทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมองว่าบริ ษท เชลล์ จากัด ก็เหมือนกับตราสินค้าน้ ามันทัวไป ั ู ั ่
  • 13. ความสม่าเสมอไม่ได้หมายความว่า ตราสินค้านั้นไม่สามารถเปลี่ยนเอกลักษณ์ ของตราสินค้าได้เลย ตรงกันข้ามการพัฒนาตลอดเวลาให้เข้ากับสถานการณ์น้ น ๆ กลับจะเป็ นผลดีต่อตราสินค้า ความสม่าเสมอ ั และการเปลี่ยนแปลง (Consistency and Change) คือ การยึดสิ่งที่ควรย้าและปรับสิ่งที่ควรเปลี่ยน ตลอด อายุขยของตราสินค้าที่ดาเนินมาอาจมีการปรับราคาขึ้นหรื อลงได้ อาจมีการปรับสูตรหรื อมีการออกแคมเปญ ั ใหม่ ๆ ได้ อาจมีการออกสินค้าใหม่หรื อถอนสินค้าออกจากตลาดได้แต่สิ่งสาคัญที่ไม่ควรเปลี่ยนคือ ความรู้สึกที่ลกค้ามีต่อตราสินค้า เช่น ‚McDonald‛ มีการเปลี่ยนแปลงแคมเปญการสื่อ สารการตลาดหลาย ู ครั้ง เช่น เปลี่ยนจาก ‚Have You Had Your Brake Today?‛ เป็ น ‚You Deserve A Brake Today‛ เป็ นการ เปลี่ยนที่ช่วยสะท้อนภาพลักษณ์ของ ‚McDonald‛ ให้เด่นชัดขึ้นแต่ยงคงไว้ซ่ึงความสนุกสนาน ความ ั สะดวกสบายและมิตรภาพที่ดีไว้ได้ เป็ นต้น 1.2 การปกป้ องคุณค่าตราสินค้า (Protecting Sources of Brand Equity) หากตราสินค้าใดไม่ระวังตัว ก็เป็ นไปได้ว่าตราสินค้าคู่แข่งอาจแย่งชิงคุณค่าตราสินค้า นั้นไปได้ เช่น ใน กรณีของน้ ายาล้างจาน ‚Cascade‛ ของค่ายพีแอนด์จีที่ได้ปรับสูตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตส่งผลให้ ประสิทธิภาพการขจัดคราบลดน้อยลง ทาให้น้ ายาล้างจาน ‚Sunlight‛ ของบริ ษท ยูนิลีเวอร์ จากัด มาช่วงชิง ั จุดขาย ‚Spotless‛ จากน้ ายาล้างจาน ‚Cascade‛ ไปจากเหตุการณ์ดงกล่าว บริ ษท พีแอนด์จี จากัด ได้ปกป้ อง ั ั คุณค่าตราสินค้าไว้ดวยการใช้สูตรเดิมและฟ้ องร้องการทาโฆษณาเปรี ยบเทียบของ บริ ษท ยูนิลีเวอร์ จากัด ้ ั อีกด้วย 1.3 การปรับเพื่อพิชิตโปรแกรมการตลาด (Fine-tuning the Support Marketing Program) กลยุทธ์ตราสินค้าอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ในกรณี ที่มีสญญาณบางอย่างเตือนให้ทราบว่าคุณค่าตราสินค้า ั นั้นไม่แกร่ งต่อไปอีกแล้วหรื อเป็ นการปรับตัวเพื่อให้ทนยุคสมัย แสดงถึงการมีพฒนาการใหม่ ๆ ตลอดเวลา ั ั เช่น ในกรณีของนาฬิกา ‚Timex‛ หลังจากที่มองเห็นการทาตลาดของนาฬิกา ‚Swatch‛ และ ‚Casio‛ ที่ได้ นาเอาเทคโนโลยีดิจิตอลมาผสมผสานกับแฟชันจนประสบความสาเร็ จอย่างสูง ส่งผลให้นาฬิกา ‚Timex‛ ่ ตัดสินใจออกนาฬิการุ่ นใหม่คือ ‚Indigto glow-in-the-dark‛ พร้อมกับทาการออกแคมเปญ โฆษณาชุดใหม่ เป็ นต้น 2. กลยุทธ์ชุบชีวิตชีวา (Revitalizing Brand) หากตราสินค้านั้นยังคงมีคุณค่าและมีภาพที่ชดเจนในสายตาลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายแต่กลับนิ่งเป็ นเวลานาน ั นันอาจเป็ นเพราะรสนิยมของลูกค้าเปลี่ยนไปหรื ออาจมีค่แข่งรายใหม่เข้ามาแทรกแซงหรื ออาจเกิดการ ่ ู เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสภาพตลาด โดยรวม ถ้าไม่ตองการให้ตราสินค้านั้นเป็ นเพียงตานานก็ตองทาการปลุกตราสินค้าให้ตื่นด้วยกลยุทธ์ ้ ้ ดังต่อไปนี้ 2.1 ขยายการรับรู้ในตราสินค้า (Expanding Brand Awareness) ซึ่งสามารถทาได้ดงนี้ ั
  • 14. 2.1.1 เพิ่มปริ มาณการใช้สินค้าหรื อบริ การนั้น ๆ ในแต่ละครั้งหรื อเพิ่มความถี่ในการใช้ เช่น ซุปไก่ สกัดตราแบรนด์พยายามสื่อสารให้ลกค้าเพิ่มความถี่ในการดื่มจากการดื่มเมื่อมีปัญหาเป็ นดื่มเพื่อเตรี ยมตัว ู ให้พร้อมตลอดเวลาทุกวันด้วยการผูกตราสินค้าไว้กบความสาเร็ จแทนที่จะเป็ นการดื่มเมื่อป่ วยเท่านั้น เช่น ั ดื่มแบรนด์เมื่อสอบ ดื่มแบรนด์ในที่ทางาน เป็ นต้น 2.1.2 มองหาวิธีการใช้สินค้าใหม่ ๆ ก็เป็ นการขยายการรับรู้ในตราสินค้าให้กว้างขวางขึ้น เช่น สาร Baking Soda สินค้าของอาร์มและแฮมเมอร์สามารถนามาใช้ไม่ใช่แค่การปรุ งอาหารแต่ช่วยทาความสะอาด และลดกลิ่นอับได้ดวยหรื อกรณี Johnson Baby Oil ที่ไม่ใช่แค่หยดลงไปในอ่างน้ าหยดสองหยดขณะอาบน้ า ้ ให้เด็กทารกแต่ยงสามารถใช้ลางเครื่ องสาอาง บารุ งเส้นผม ลูบผิวหลังอาบน้ าเพื่อป้ องกันผิวแห้งได้ จากที่ ั ้ กล่าวมาล้วนเป็ นการเพิมยอดขายและขยายการรับรู้ในตราสินค้าไปพร้อม ๆ กัน ่ 2.1.3 ออกผลิตภัณฑ์ใหม่โดยใช้กลยุทธ์ ‚Leveraging Brand‛ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์น้น เช่น การ ั ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุ่มสินค้าที่ต่างไปจากเดิม (Brand Extensions) เช่น เครื่ องดื่มไมโลออกสินค้าใหม่ เป็ นไอศกรี มไมโล การออกผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ภายใต้สินค้าเดิม (Line Extensions) เช่น น้ าผลไม้มาลี ออกน้ ามะม่วง น้ าเสาวรสและน้ าฝรั่ง เป็ นต้น การใช้ผลิตภัณฑ์รุ่นใหม่โดยอิงกับตราสินค้าเดิม (Sub-brand) เช่น คอมพิวเตอร์ ‚Prolinea‛ คือ Sub-brand ที่ ‚Compaq‛ ใช้เป็ นตราสินค้าสาหรับตลาดระดับไม่สูงมากนัก เป็ นต้น 2.2 ยกระดับภาพลักษณ์ของตราสินค้า (Improving Brand Image) ตราสินค้าที่อยูมานานมักมีภาพลักษณ์ในแง่ดี เช่น จริ งใจ ซื่อสัตย์ อบอุ่น ่ เป็ นมิตรและน่าเชื่อถือ การที่ลกค้าคุนเคยและมีประสบการณ์ในวัยเด็กถือว่าเป็ นสิ่งมีค่ายิงเพราะตราสินค้า ู ้ ่ ใหม่ไม่สามารถสร้างได้ชวข้ามคืน ตราสินค้าที่อยูมานานมักมีปัญหาคล้าย ๆ กันคือ มักจะดูเชยโบราณและ ่ั ่ น่าเบื่อ การพัฒนาภาพลักษณ์ของตราสินค้าให้มชีวตชีวาน่าตื่นเต้นจึงเป็ นสิ่งจาเป็ นซึ่งสามารถทาได้ 3 วิธี ี ิ ดังนี้ 2.2.1 การปรับตาแหน่งของตราสินค้า (Repositioning the brand) ปัญหาที่พบบ่อยของตราสินค้าที่อยู่ ในช่วงเติบโตเต็มที่ก็คือ ต้องทาตราสินค้าให้มีความร่ วมสมัยมากขึ้นเพื่อไม่ให้เข้าสู่ช่วงถดถอย เพราะตรา สินค้าที่อยูมานานแม้จะมีความเก่าแก่น่าเชื่อถือมีความน่าเบื่อ วิธีที่นิยมคือปรับตาแหน่งตราสินค้าให้ ่ ทันสมัยขึ้นพร้อมกับปรับส่วนประกอบ ต่าง ๆ ของสินค้า เช่น เปลี่ยนบรรจุภณฑ์ ออกสินค้าใหม่หรื อมีการ ั โฆษณาและแผนสื่อสาร การตลาดในรู ปแบบใหม่ กรณี ของสบู่ตรา ‚นกแก้ว‛ ที่มีภาพลักษณ์ดูเชย โบราณ ได้ออกสินค้าใหม่คือ นกแก้วโกลด์เพื่อยกระดับภาพลักษณ์ ตราสินค้าโดยรวมและสินค้ายังได้กลุ่มลูกค้า ใหม่ไปในตัวอีกด้วย 2.2.2 การปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของตราสินค้า (Changing Brand Element) เช่น การเปลี่ยนสูตร การเปลี่ยนบรรจุภณฑ์ การปรับปรุ งโลโก้ตราสินค้าหรื อการเปลี่ยนชื่อที่นบว่าเป็ นเรื่ องใหญ่ก็สามารถทาได้ ั ั ถ้ามีเหตุผลสาคัญจริ ง ๆ เช่น การที่ ‚Kentucky Fried Chicken‛ เปลี่ยนชื่อเป็ น ‚KFC‛ ให้เรี ยกง่าย ฟัง
  • 15. ทันสมัยขึ้นและไม่ตองการผูกติดกับอาหารทอดที่มีไขมันสูงพร้อมเปลี่ยนโลโก้ใหม่หรื อในกรณี ของซอส ้ ‚ตราสามแม่ครัว‛ เปลี่ยนบรรจุภณฑ์และโฆษณาใหม่ให้ดร่วมสมัยขึ้น อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ั ู ควรคานึงถึงและให้ความสาคัญกับคุณค่าตราสินค้าที่สงสมมานานไม่ให้ถกทาลายไปด้วย ั่ ู 2.2.3 การนาตราสินค้าเข้าสู่ตลาดใหม่ (Entering New Market) การเข้าสู่ตลาด ใหม่น้ นจะเป็ นการ ั ขยายวงกว้างของการรับรู้ในตราสินค้าไปยังตลาดที่ตราสินค้านั้นยังไม่เป็ นที่รู้จกเพื่อเพิ่มโอกาสในการสร้าง ั ฐานลูกค้าใหม่ แต่ที่สาคัญจะต้องมองให้ชดเจนว่าใคร คือ กลุ่มเป้ าหมายใหม่และคู่แข่งในตลาดใหม่น้ นคือ ั ั ใครเพื่อวางแผนเชิงกลยุทธ์ได้อย่างถูกต้อง 2.3 การเพิ่มคุณค่าทางอารมณ์และความรู้สึกของตราสินค้า (Adding an Emotional Benefit) การทาให้ลกค้ากลุ่มเป้ าหมายมีความรู้สึกชอบและมีส่วนร่ วม ผูกพันในตราสินค้านับเป็ นทางออกที่ดี ู สาหรับสินค้าที่ไม่สามารถเล่นกับรู ปแบบและคุณสมบัติของสินค้าได้ มากนัก เช่น ‚Smirnoff Vodka‛ ที่อยู่ ในตลาดมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1946 มีการปรับปรุ ง แคมเปญโฆษณาตลอดเวลา ปัจจุบนใช้แคมเปญ ‚Pure ั Surprise‛ โดยแสดงภาพความเป็ นจริ งที่ซ่อนอยูผานความใสของ ‚Smirnoff‛ ทาให้ลกค้ากล่มเป้ าหมายมี ่่ ู ความรู้สึกร่ วมชอบในอารมณ์ขนและอยากติดตามโฆษณาชิ้นต่อไป ซึ่งก็ช่วยสร้างความรู้สึกที่ดีต่อตรา ั สินค้าได้เป็ นอย่างดี 3. กลยุทธ์เกษียณตราสินค้า (Retiring Brand) เนื่องจากเกิดการแข่งขันทางการตลาดอย่างรุ นแรง บางตราสินค้าไม่คุมค่าที่จะรักษาไว้ บางตราสินค้ามี ้ คุณค่าตราสินค้าก็จริ งแต่ก็ทรุ ดโทรมและยากที่จะทาให้ฟ้ื นขึ้น มาอีกหรื อขนาดของกลุ่มลูกค้าเหลือน้อยมาก อาจต้องยอมรับว่าถึงเวลาเกษียณอายุของตราสินค้านั้นแล้ว ซึ่งมีอีกแนวทางที่จะดาเนินการกับตราสินค้า เหล่านั้น เช่น ลดจานวนและประเภทของสินค้าลง ซึ่งส่งผลต่อการลดค่าใช้จ่ายและกิจกรรมทางการตลาด อาจทากาไรให้แก่องค์กรได้ เช่น สบู่ลกส์บิวตี้และแชมพูทิมโมเท แม้ไม่มีกิจกรรมการทางตลาดมากนักก็ ั ยังคงขายได้และทากาไรให้กบบริ ษทหรื อการรวมตัวของตราสินค้าที่อ่อนแอกับตราสินค้าที่แข็งแรงก็เป็ น ั ั อีกแนวทางหนึ่งที่ผบริ หารตราสินค้านิยมใช้กบสาหรับกลยุทธ์เกษียณตราสินค้า เป็ นต้น ู้ ั
  • 16. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 1.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงและการเกิดขึ้นของแนวโน้ม ปัจจุบน ในยุคที่ธุรกิจมีการแข่งขันที่สูง สมรภูมการแข่งขันของบางอุตสาหกรรมแทบจะลุกเป็ นไฟเพื่อ ั ิ แย่งลูกค้าด้วยวิธีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการออก Promotion กระหน่าเพื่อสร้างยอดขาย การออกผลิตภัณฑ์ที่มี ความหลากหลาย รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กบตัวผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความคุมค่าให้กบลูกค้าให้มาก ั ้ ั ที่สุด แต่ปัจจัยหลักสาคัญที่จะเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบตัวบริ ษทในระยะยาวนั้น อยูที่การสร้าง Brand ั ั ่ ของบริ ษท ซึ่งเป็ นปัจจัยที่บริ ษทต่างๆจะต้องให้ความสาคัญในลาดับต้นๆ ั ั ‚Brand Equity‛ คือ มูลค่าสิ นทรัพย์และคุณค่าของแบรนด์ที่อยูในใจของลูกค้าหรื อผูบริ โภค จนทาให้ ่ ้ แบรนด์หรื อตราสินค้านั้นๆสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มสูงๆให้กบเจ้าของได้ หรื อจะกล่าวถึงประโยชน์ก็คือ แบ ั รนด์หรื อตราสินค้า ที่ไปติดอยูบนตัวสินค้าใดสินค้าหนึ่ง แล้วสามารถขายในราคาที่สูงมากกว่าสินค้นอื่นๆที่ ่ เป็ นสินค้าแบบเดียวกันแต่ไม่มี Brand ได้ วิธีการสร้าง Brand สามารถเริ่ มได้ง่ายๆ โดยการทาให้คนอื่น รู้จกแบรนด์ของเรา หรื อ เรี ยกว่าเป็ นการ ั สร้าง Brand Awareness ซึ่งทาได้โดยการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ไปสู่กลุ่มเป้ าหมายของสินค้าและบริ การที่ ต้องการ โดยอาศัย สื่อ (Media) เป็ นช่องทางในการนาส่งข้อความหรื อเนื้อหาสาระที่เจ้าของแบรนด์น้ นๆ ั ตัวอย่าง Brand ที่มีมลค่าสูง คือ brand ‚Intel‛ ที่สามารถสร้างมูลค่าให้กบผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ส่วน ู ั บุคคล (PC) ได้อย่างมหาศาล แม้ว่า Intel จะไม่ใช่ผผลิต PC เลยก็ตาม ู้
  • 17. 2.External Influences, Internal Influences ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน 2.2. Internal Influences ปัจจัยภายใน การรับรู้ Brand เกิดจากการรับสื่อผ่านทางโฆษณา หรื อ จากคนรอบข้างครอบครัว เพื่อน ซึ้งใช้brand นั้นอยู่ ว่ามีประโยชน์อย่างไรทาไมถึงเลือกbrand ที่ใช่อยู่ อาจเกิดจากครอบครัวที่ใช้brandนั้ นมานานแล้ว จึงติด brand นั้นและอาจจะพิจราณา brand นั้นเป็ นอันดับแรก ความจาเป็ น สิ่งสาคัญ brand อาทิ แชมพู สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก กระเป๋ าถือ เรื่ อยไปจนถึงเครื่ องสาอางต่างๆ แต่เรามักจะเรี ยกที่ “แบรนด์ ” หรื อ ตราสินค้านั้นๆ โดยตรง เช่น จะไปซื้อ โดฟ ลักส์ คอลเกต บรี ส โค้ช หลุยส์ วิตตอง คลีนิค ลาแมร์ ฯลฯ เทรนด์น้ ีเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ยากที่จะบอก รู้แค่เพียงมันเกิดขึ้นแล้ว และ โอกาสที่จะกลับไปในโลกลักษณะเดิมที่จะเรี ยกสินค้าตามประเภทคงจะไม่มี ในฐานะที่เป็ นนักการตลาด หรื อเจ้าของสินค้าควรจะจับตามองปรากฏการณ์น้ ี และให้ความสาคัญกับการปรับตัวให้เข้าไปอยูในโลก ่ ของผูบริ โภคปัจจุบนให้ได้ ว่าทาอย่างไรตราสินค้าเราจึงจะเป็ นที่หนึ่งในใจของผูบริ โภคได้ ้ ั ้ แรงจูงใจ แรงจูงใจ เกิดจากแรงผลักดันของคนรอบข้าง ที่ใช้แบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งอย่างต่ อเนื่องแล้วมีผคน ู้ อีกหลายคนยอมรับแบรนด์ดงกล่าวว่าดี จึงเกิดแรงจูงใจให้บุคคลนั้นเลือกที่จะใช้แบรนด์ดงกล่าวด้วย เช่น ั ั เราเห็นโฆษณาสินค้าแบรนด์หนึ่งแล้วมีผบริ โภคมีการบริ โภคอย่างแพร่ หลายจึงเกิดแรงจูงใจที่จะใช้แบรนด์ ู้ นั้นแม้จะไม่รู้วาแบรนด์น้ นดีหรื อไม่ดีกตาม ่ ั ็ ทัศนคติ ความสัมพันธต่อตรา (Brand Relationship)ที่ดีต่อลูกค้า ทาให้เกิดความเชื่อถือในแบรนด์ เมื่อออกสินค้าใหม่ ๆ ลูกค้าก็ตดสินใจซื้อแบรนด์น้ นไม่ยาก เนื่องมาจาก ประวัติตรา ภาพพจน์ และสังคมตรา(Brand ั ั Association)
  • 18. 2.1. External Influences ปัจจัยภายนอก ชนชั้นทางสังคม คนบางคนซื้อbrand ที่มีราคาสูงเพื่อบ่งบอกชนชั้นทางสังคม หรื อ การซื้อbrand เข้าสังคม เพราะ brand บางอย่างสามารถบอกได้ถึงชนชั้นทางสังคม ซึ่งโดยทัวไปสามารถแบ่งชั้นทางสังคมออกเป็ น 3 ่ ระดับชั้นด้วยกัน คือ 1. ชนชั้นระดับสูง (upper class) 2. ชนชั้นระดับกลาง (middle class) 3. ชนชั้นระดับล่าง (lower class) วัฒนธรรม สินค้าที่กลุ่มคนกลุ่มคนหนึ่งใช้แล้วรู้สึกประทับใจและใช้แบรนด์น้ นมาเป็ นเวลายาวนาน จึงเกิด ั วัฒนธรรมในการใช้แบรนด์ใดแบรนด์หนึ่งอย่างต่อเนื่องโดยการบอกกันโดยปากต่อปาก หรื อบุคคลใน ชุมชนหรื อในสังคมใช้มาก ก็จะใช้ตามคนในสังคมนั้นๆเพราะว่าคนในสังคมนั้นยอมรับแบรนด์น้ นว่าดี ั ยกตัวอย่างเช่น แบรนด์สินค้าแบรนด์หนึ่งที่มผบริ โภคในสังคมนั้นๆ ใช้เยอะก็จะเป็ นแรงผลักดันด้าน ี ู้ วัฒนธรรมที่จะให้ผบริ โภคที่ไม่เคยใช้สินค้าแบรนด์น้ นมาใช้แบรนด์น้ นด้วย ู้ ั ั เป็ นปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อความต้องการและพฤติกรรมของคน โดยเด็กที่กาลังเติบโต จะ ได้รับอิทธิพลของค่านิยม (values), การรับรู้ (perceptions), ความชอบ (preferences) และพฤติกรรม (behaviors) มาจากครอบครัว และสถาบันที่สาคัญ ๆ เช่น โรงเรี ยน เป็ นต้น วัฒนธรรมย่อย ในแต่ละวัฒนธรรมจะประกอบไปด้วยวัฒนธรรมย่อย ๆ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันออกไป ซึ่ง จะนาไปสู่การแบ่งส่วนตลาด และการออกแบบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด (4 P's) ที่แตกต่างกันออกไป ประกอบด้วย - เชื้อชาติ, สัญชาติ เช่น ไทย จีน อเมริ กา อังกฤษ ลาว เป็ นต้น - ศาสนา เช่น พุทธ อิสลาม คริ สต์ ซิกข์ เป็ นต้น - พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้ เป็ นต้น
  • 19. สถานภาคทางสังคม จากการสารวจผูบริ โภคคนไทย พบว่ากลุ่มใหญ่สุด คือกลุมมองหาสภานภาพของตนเอง เป็ นกลุ่มที่ ้ ่ ห่วงภาพลักษณ์ตนเอง และต้องการมีสถานภาพที่ดีทางสังคม โดยผูบริ โภคชาวไทยติดอันดับ 1 ในผลสารวจ ้ ประเด็นใช้แบรนด์เพื่อเสริ มภาพลักษณ์และสถานภาพให้ดดี ไฮโซในสังคม ในสัดส่วนถึง 92% จากค่าเฉลี่ย ู เอเชียอยูที่ 74% ทั้งนี้ แนวโน้มของผูบริ โภคคนไทยที่ใช้แบรนด์เนม เสริ มภาพลักษณ์ไฮโซ และสถานภาพ ่ ้ ทางสังคม มีแนวโน้มสูงกว่าค่าเฉลี่ยของเอเชียตั้งแต่ปี 2550-2551 และเชื่อว่าปี นี้ค่าเฉลี่ยยังอยูในอันดับต้นๆ ่ แม้ว่าภาพรวมเศรษฐกิจจะอยูในภาวะถดถอย แต่กลุ่มผูบริ โภคที่มีฐานะยังคงให้ความสาคัญกับการใช้แบ ่ ้ รนด์เนมและการจับจ่าย ‚การห่วงภาพลักษณ์และสถานภาพทางสังคมของคนไทย รวมทั้งการเลือกใช้แบรนด์เนมเพื่อเสริ ม ภาพลักษณ์ให้ดูดี จะเป็ นไปตามฐานะของแต่ละกลุ่ม ในกลุ่มระดับสูง จะเลือกแบรนด์เนมระดับพรี เมียม ส่วนกลุ่ม ระดับกลางจะเลือกใช้แบรนด์ที่ได้รับการยอมรับในระดับกลาง