SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ภาษาคอมพิวเตอร์ หายถึงอะไร มีกี่ระดับ อะไรบ้าง
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว
คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษา
โปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษา
โปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียน
โปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
มีทั้งหมด 2 ระดับ
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
- ภาษาระดับสูง (high level)
- ภาษาระดับต่า (low level)
ภาษาระดับสูงถูกออกถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสดกสบายกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียน
ถูกต้องตามเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (Compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้
คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วย
ภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (objet code)แล้วเปลี่ยนเป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งเป็นกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก(human-
readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออก
ถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่าน
ไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมคอมพิวเตอร์จะ
สามารถประมวลผลได้ง่ายกว่า
HTML ย่อมาจากอะไร หมายถึงอะไร?
HTML (ย่อมาจาก Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาประเภท Markup
Language ที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ มีแม่แบบมาจากภาษา SGML (Standard
Generalized Markup Language) ที่ตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้สามารถทา
ความเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย ปัจจุบันมีการพัฒนาและกาหนดมาตรฐานโดยองค์กร World Wide
Web Consortium (W3C)
ภาษา HTML ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ HTML Level 1, HTML 2.0, HTML
3.0, HTML 3.2 และ HTML 4.0 ในปัจจุบัน ทาง W3C ได้ผลักดัน รูปแบบของ HTML
แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่ง ที่มีหลักเกณฑ์ในการ
กาหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่
ในปัจจุบัน
HTML มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัย Tag ในการควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ
อื่น ๆ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สาหรับจัดรูปแบบเพิ่มเติม
การสร้างเว็บเพจ โดยใช้ภาษา HTML สามารถทาโดยใช้โปรแกรม Text Editor ต่างๆ เช่น
Notepad, EditPlus หรือจะอาศัยโปรแกรมที่เป็นเครื่องมือช่วยสร้างเว็บเพจ เช่น Microsoft
FrontPage, Dream Weaver ซึ่งอานวยความสะดวกในการสร้างหน้า HTML ในลักษณะ
WYSIWYG (What You See Is What You Get)
แต่มีข้อเสียคือ โปรแกรมเหล่านี้มัก generate code ที่เกินความจาเป็นมากเกินไป ทาให้ไฟล์
HTML มีขนาดใหญ่ และแสดงผลช้า ดังนั้นหากเรามีความเข้าใจภาษา HTML จะเป็นประโยชน์ให้เรา
สามารถแก้ไข code ของเว็บเพจได้ตามความต้องการ และยังสามารถนา script มาแทรก ตัดต่อ สร้าง
ลูกเล่นสีสันให้กับเว็บเพจของเราได้
การเขียนรหัสจาลอง( Pseudo Code)
การเขียนรหัสจาลอง(Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความ
หมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและ
ภาษา
อังกฤษก็ได้
โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความBegin แล้วอธิบายขั้นตอนการทางานโดยใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่
ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น
คาสั่ง read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้
คาสั่ง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน
การเขียนรหัสจาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่จะต้องนาไปใช้ภายใน
โปรแกรมด้วย
การสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกาหนดค่าตัวแปร
- ตัวอย่าง -
อัลกอริทึม Pseudo code ของการต้มไข่
1. เตรียมไข่ 1 ฟอง
2. ใสน้าเปล่าลงในหม้อ
3. นาหม้อตั้งบนไฟ
4. นาไข่ลงหม้อรอ 10 นาที
5. นาหม้อลงทิ้งไว้ให้เย็น
6. พร้อมรับประทาน
อัลกอริทึม Pseudo code ของรับค่าตัวเลขมา 3 ค่าแล้วหาผลรวม
1. set sum
2. input value1
3. input value2
4. input value3
5. calculate sum = value1 + value2 + value3
6. write sum
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ ชื่อ ความหมาย
Terminator สัญลักษณ์แทนจุดเริ่มต้น
และจุดสิ้นสุด
Process สัญลักษณ์การประมวลผล
Decision สัญลักษณ์เงื่อนไข
Data สัญลักษณืติดต่อผู้ใช้งาน
Manual Input สัญลักษณืการรับข้อมูล
ทางแป้นพิมพ์จากผู้ใช้
ชาน
คาสั่ง HTML
< !– ข้อความ –> คาสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้เขียนโปรแกรม
และอื่นๆ
<br> คาสั่งขึ้นบรรทัดใหม่
<p> ข้อความ </p> คาสั่งย่อหน้าใหม่
<hr width=”50%” size = “3”> คาสั่ง ตีเส้น, กาหนดขนาดเส้น
&nbsp; คาสั่ง เพิ่มช่องว่าง
<IMG SRC = “PHOTO.GIF”> คาสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif
<CENTER> ข้อความ
</CENTER>
คาสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง
<HTML> </HTML> คาสั่ง <HTML> คือคาสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML
และมีคาสั่ง </HTML> เพื่อบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม
<HEAD> </HEAD> คาสั่ง <HEAD> คือคาสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง โดยมีคาสั่ง
ย่อย <TITLE> อยู่ภายใน
<TITLE> </TITLE> คาสั่ง <TITLE> คือคาสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไปปรากฏที่ Title Bar
<BODY> </BODY> คาสั่ง <BODY> คือคาสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่จะถูกแสดงผล
ในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วยรูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น

More Related Content

What's hot

17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคSmart H Der
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)Non Thanawat
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2 เลขที่ 13
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2  เลขที่ 13นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2  เลขที่ 13
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2 เลขที่ 13RewV6
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคDai Punyawat
 
ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1Mrk Ji Črossovër
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคThitima Kpe
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาChatchaChantavaranurak
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคSilver Bullet
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคSilver Bullet
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคNon Thanawat
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาคDai Punyawat
 

What's hot (20)

โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาคการสอบคอมกลางภาค
การสอบคอมกลางภาค
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
1
11
1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2 เลขที่ 13
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2  เลขที่ 13นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2  เลขที่ 13
นาย กฤตพล ญาติจันทร์ ม.5/2 เลขที่ 13
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 

Similar to ข้อสอบกลางภาค

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาN'Name Phuthiphong
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์Adisak' Jame
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาtyt13
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีssuser5adb53
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 

Similar to ข้อสอบกลางภาค (20)

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
123456
123456123456
123456
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 

ข้อสอบกลางภาค

  • 1. ภาษาคอมพิวเตอร์ หายถึงอะไร มีกี่ระดับ อะไรบ้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้ว คอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้ คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษา โปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษา โปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียน โปรแกรมได้ แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม มีทั้งหมด 2 ระดับ ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ - ภาษาระดับสูง (high level) - ภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสดกสบายกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียน ถูกต้องตามเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (Compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้ คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วย ภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (objet code)แล้วเปลี่ยนเป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งเป็นกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก(human- readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออก ถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่าน ไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้ แต่ออกแบบมาเพื่อให้โค้ดกระชับซึ่งคอมคอมพิวเตอร์จะ สามารถประมวลผลได้ง่ายกว่า HTML ย่อมาจากอะไร หมายถึงอะไร? HTML (ย่อมาจาก Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาประเภท Markup Language ที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ มีแม่แบบมาจากภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) ที่ตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้สามารถทา ความเข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย ปัจจุบันมีการพัฒนาและกาหนดมาตรฐานโดยองค์กร World Wide Web Consortium (W3C) ภาษา HTML ได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ HTML Level 1, HTML 2.0, HTML 3.0, HTML 3.2 และ HTML 4.0 ในปัจจุบัน ทาง W3C ได้ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่ง ที่มีหลักเกณฑ์ในการ
  • 2. กาหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ ในปัจจุบัน HTML มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัย Tag ในการควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ อื่น ๆ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สาหรับจัดรูปแบบเพิ่มเติม การสร้างเว็บเพจ โดยใช้ภาษา HTML สามารถทาโดยใช้โปรแกรม Text Editor ต่างๆ เช่น Notepad, EditPlus หรือจะอาศัยโปรแกรมที่เป็นเครื่องมือช่วยสร้างเว็บเพจ เช่น Microsoft FrontPage, Dream Weaver ซึ่งอานวยความสะดวกในการสร้างหน้า HTML ในลักษณะ WYSIWYG (What You See Is What You Get) แต่มีข้อเสียคือ โปรแกรมเหล่านี้มัก generate code ที่เกินความจาเป็นมากเกินไป ทาให้ไฟล์ HTML มีขนาดใหญ่ และแสดงผลช้า ดังนั้นหากเรามีความเข้าใจภาษา HTML จะเป็นประโยชน์ให้เรา สามารถแก้ไข code ของเว็บเพจได้ตามความต้องการ และยังสามารถนา script มาแทรก ตัดต่อ สร้าง ลูกเล่นสีสันให้กับเว็บเพจของเราได้ การเขียนรหัสจาลอง( Pseudo Code) การเขียนรหัสจาลอง(Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความ หมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและ ภาษา อังกฤษก็ได้ โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความBegin แล้วอธิบายขั้นตอนการทางานโดยใช้คาสั่งต่าง ๆ ที่ ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คาสั่ง read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้ คาสั่ง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน การเขียนรหัสจาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่จะต้องนาไปใช้ภายใน โปรแกรมด้วย การสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมายเท่ากับ (= ) แทนการกาหนดค่าตัวแปร
  • 3. - ตัวอย่าง - อัลกอริทึม Pseudo code ของการต้มไข่ 1. เตรียมไข่ 1 ฟอง 2. ใสน้าเปล่าลงในหม้อ 3. นาหม้อตั้งบนไฟ 4. นาไข่ลงหม้อรอ 10 นาที 5. นาหม้อลงทิ้งไว้ให้เย็น 6. พร้อมรับประทาน อัลกอริทึม Pseudo code ของรับค่าตัวเลขมา 3 ค่าแล้วหาผลรวม 1. set sum 2. input value1 3. input value2 4. input value3 5. calculate sum = value1 + value2 + value3 6. write sum
  • 4. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน สัญลักษณ์ ชื่อ ความหมาย Terminator สัญลักษณ์แทนจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด Process สัญลักษณ์การประมวลผล Decision สัญลักษณ์เงื่อนไข Data สัญลักษณืติดต่อผู้ใช้งาน Manual Input สัญลักษณืการรับข้อมูล ทางแป้นพิมพ์จากผู้ใช้ ชาน
  • 5. คาสั่ง HTML < !– ข้อความ –> คาสั่ง หมายเหตุ ใช้อธิบายความหมาย ขื่อผู้เขียนโปรแกรม และอื่นๆ <br> คาสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <p> ข้อความ </p> คาสั่งย่อหน้าใหม่ <hr width=”50%” size = “3”> คาสั่ง ตีเส้น, กาหนดขนาดเส้น &nbsp; คาสั่ง เพิ่มช่องว่าง <IMG SRC = “PHOTO.GIF”> คาสั่งแสดงรูปภาพชื่อ Photo.gif <CENTER> ข้อความ </CENTER> คาสั่งจัดให้ข้อความอยู่กึ่งกลาง <HTML> </HTML> คาสั่ง <HTML> คือคาสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรม HTML และมีคาสั่ง </HTML> เพื่อบอกจุดสิ้นสุดโปรแกรม <HEAD> </HEAD> คาสั่ง <HEAD> คือคาสั่งบอกส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง โดยมีคาสั่ง ย่อย <TITLE> อยู่ภายใน <TITLE> </TITLE> คาสั่ง <TITLE> คือคาสั่งบอกชื่อเรื่อง จะไปปรากฏที่ Title Bar <BODY> </BODY> คาสั่ง <BODY> คือคาสั่งบอกส่วนเนื้อเรื่อง ที่จะถูกแสดงผล ในเวปบราวเซอร์ ประกอบด้วยรูปภาพ ตัวอักษร ตาราง เป็นต้น