SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
คาสาคัญ
ความจากัดของทรัพยากร
(Limited Resources)
ความต้องการมาก
(Umlimited Want)
ความขาดแคลน
( Scarcity)
การเลือก (Choice)
แนวคิดการเลือกทางเศรษฐศาสตร์
การเลือกทุกครั้งมีค่าเสียโอกาสเสมอ
แม้เราจะไม่อยากเสียอะไรเลยก็ตาม
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
มูลค่าของทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือก
ทั้งหลายที่ต้องสละไปเมื่อมีการตัดสินใจเลือกทางใด
ทางหนึ่งในการใช้ทรัพยากร
ตัวอย่าง : การตัดสินใจของนักศึกษาที่เพิ่งเรียนจบ
(พิจารณาเฉพาะรายได้)
1. ทางานเอกชน 20,000 บาท
2. ทาธุรกิจส่วนตัว 100,000 บาท
3. รับราชการ 8,000 บาท
(เทียบกับอาชีพที่มีค่าเสียโอกาสสูงสุด)
ถ้าเลือก 1 ค่าเสียโอกาสเท่ากับ 100,000 บาท
ถ้าเลือก 2 ค่าเสียโอกาสเท่ากับ 20,000 บาท
ถ้าเลือก 3 ค่าเสียโอกาสเท่ากับ 100,000 บาท
(เลิกอาชีพที่มีค่าเสียโอกาสต่าสุด คือ 2)
ความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์
-นักเศรษฐศาสตร์ชาวสก๊อตเขียน
ตาราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกชื่อ
“The Wealth ofNation”
“Adam Smith”
ความหมายเศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับปัจจัย
สาคัญ 2 ประการ คือ
1. ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
2. ความต้องการของมนุษย์ที่มี
มากมายไม่จากัด
วิชาเศรษฐศาสตร์
วิชาที่ว่าด้วยการนาเอาทรัพยากรหรือปัจจัยการ
ผลิตที่มีจานวนจากัดมาผลิตเป็นสินค้า และบริการ
เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีมากมาย
ไม่จากัด
ทรัพยากรการผลิต หรือปัจจัยการผลิต
(Factor ofProduction)
ที่ดิน (Land)
แรงงาน(Labor)
ทุน(Capital)
ผู้ประกอบการ (Entrepreneur)
ที่ดิน (Land)
แรงงาน(Labor)
ทุน(Capital)
ผู้ประกอบการ(Entrepreneur)
ผลตอบแทนแก่เจ้าของปัจจัยการลิต
ค่าเช่า
ค่าจ้าง
ดอกเบี้ย
กาไร
1. เศรษฐทรัพย์ (Economicgoods)
>สินค้าเอกชน (Private goods)
> สินค้าสาธารณะ (Public goods)
2. สินค้าไร้ราคา (FreeGood)
เศรษฐศาสตร์ได้แบ่งสินค้าออกเป็น 2 ชนิด
แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์
1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
เป็นการมองภาพเศรษฐกิจจากพฤติกรรมผู้เกี่ยวข้องแต่ละราย
2. เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
เป็นเรื่องเกี่ยวกับการดาเนินงานของเศรษฐกิจในภาพรวม
1. เศรษฐศาสตร์ กับการบริหารธุรกิจ
2. เศรษฐศาสตร์ กับรัฐศาสตร์
3. เศรษฐศาสตร์ กับนิติศาสตร์
4. เศรษฐศาสตร์ กับประวัติศาสตร์
5. เศรษฐศาสตร์ กับสังคมศาสตร์
6. เศรษฐศาสตร์ กับจิตวิทยา
เศรษฐศาสตร์ สัมพันธ์กับวิชาอื่นๆอย่างไร ??
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
แสวงหาความเข้าใจ
ควบคุมและแก้ไข
แบ่งออกเป็น 2 ประการ
ปัจจัยการผลิต ที่ดิน แรงงาน ทุน การประกอบการ
สินค้า และ บริการ
วงจรเศรษฐกิจขั้นมูลฐาน
รายได้ (ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย กาไร)
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
ธุรกิจ ครัวเรือน
ภาครัฐ
ภาคการเงินเงินกู้ เงินออม
ภาษี ภาษี
ตัวอย่างวงจรเศรษฐกิจขั้นมูลฐาน
รายได้จากการขายหมู
หมู
หมูแฮม
ค่าใช้จ่ายในการซื้อหมูแฮม
โรงงานหมูแฮม ฟาร์มเลี้ยงหมู
ภาครัฐ
ภาคการเงินเงินกู้ เงินออม
ภาษี ภาษี
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ปัญหาผลิตอะไร (WHAT)
ปัญหาผลิตเพื่อใคร (FOR
WHOM)
ปัญหาผลิตอย่างไร (HOW)
ระบบเศรษฐกิจ
 คือ การรวมตัวกันเป็นกลุ่มของหน่วยเศรษฐกิจซึ่ง
ประกอบด้วยบุคคลหรือสถาบันที่ทาหน้าที่เฉพาะอย่างใน
เศรษฐกิจ เพื่อกาหนดว่าผลิตอะไร ผลิตอย่างไร จานวน
เท่าไรและจาหน่ายแจกจ่ายให้ใครเพื่อให้เกิดประโยชน์
และมีประสิทธิภาพมากที่สุด
1.ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
หรือเสรีนิยม หรือระบบเศรษฐกิจตลาด เป็นระบบที่ให้
เสรีภาพ แก่ประชาชนมากกว่าระบบอื่นๆ
ข้อดี ระบบเศรษฐกิจพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก
มีการแข่งขันกันมากเพื่อหวังกาไร
ข้อเสีย เกิดปัญหาด้านการกระจายรายได้
2.ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
เป็นระบบที่รัฐบาลเข้าควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจไว้
ทั้งหมด
ข้อดี ไม่มีปัญหาเรื่องการกระจายรายได้
ข้อเสีย เกิดการด้อยในการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพราะขาดแรงจูงใจในรูปของกาไรเป็นตัวกระตุ้น
3.ระบบเศรษฐกิจผสม
มีลักษณะผสมผสานระหว่างระบบทุน
นิยมและระบบสังคมนิยมรัฐเข้ามีส่วนร่วม
ในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ แต่กิจกรรมทาง
เศรษฐกิจส่วนใหญ่ เอกชนยังมีเสรีภาพใน
การดาเนินงานอยู่

More Related Content

What's hot

1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจKunlaya Kamwut
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 

What's hot (20)

1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ2 ระบบเศรษฐกิจ
2 ระบบเศรษฐกิจ
 
Chp1
Chp1Chp1
Chp1
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 

Chapter1 บทนำหลักเศรษฐศาสตร์