SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
Computer Project
Contents
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลาย
เป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่
ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
• โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
• โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
• โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
• โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
• โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
(Educational Media)
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรม
บทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถาม
คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง
อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะ
เป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ
พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
ตัวอย่างของโครงงาน
พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
- สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย
- สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
- พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย
- โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ
- 76 จังหวัดของไทย
- สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก
- คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด
- ยาไทยและยาจีน
- โปรแกรมช่วยสอนการทางานของทรานซิสเตอร์
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วย
สร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูป
ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์
วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุใน
มุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้น
สร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้
เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้
โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย
สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับ
ช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
โปรแกรมอ่านอักษรไทย
โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
โปรแกรมเข้าและถอดรหัสข้อมูล
โปรแกรมบีบอัดข้อมูล
โปรแกรมประมวลผลคาไทยบน
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
โปรแกรมการออกแบบผังงาน
พอร์ตแบบขนานของไทย
การส่งสัญญาณควบคุม
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ
ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้
หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ
ศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ
สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย
คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่อง
นั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
- การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์
- การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์
- การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา
- การทดลองผสมสารเคมีต่าง ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
- ปัจจัยต่าง ๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน
- ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน
- การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล
- โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น
- โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง
ในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์
สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะ
มีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือ
ปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้
จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ
ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ
คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้
นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม
และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรม
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
- ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน
- ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล
- ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต
- ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
- โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง
- โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ
- โฮมเพจส่วนบุคคล
- โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ หรือความ
เพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ
คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่
รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน
ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น
เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย
ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
เกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่
เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
- เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี
- เกมอักษรเขาวงกต
- เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ
- เกมหมากฮอส
- เกมบวกลบเลขแสนสนุก
- เกมศึกรามเกียรติ์
- เกมมวยไทย
- เกมอักษรไขว้
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงาน
คอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
5. การจัดทารายงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา)
ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงาน
เรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่ว ๆ ไป จาก
ปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์
หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา
องค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้
- เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน
- ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
- สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้
- มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา
- มีเวลาเพียงพอ
- มีงบประมาณเพียงพอ
- มีความปลอดภัย
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ
ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผน
ดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุป
สาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จาก
งานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ
ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทา
ให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย
ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น
1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประกวด
โครงงานคอมพิวเตอร์
2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้
3.1 กาหนดขอบเขตงาน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการ
วางแผนจัดทาโครงงาน
3.2 การออกแบบการพัฒนา
การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้
กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน
3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น
การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนา
ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้
เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ
3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีก
ครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
4. การลงมือพัฒนาโครงงาน
เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้
ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียม
สถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มี
ปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา
4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา
ให้ผลงานดีขึ้น
4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงใน
การต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทางาน
4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้
ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้
ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อม
กับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี
หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ
การอภิปรายผลที่ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถ
เขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การจัดทารายงาน
เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอน
ต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด
วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ
เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และ
ตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนา
ประกอบด้วย
1.1 ปกนอก
1.2 ใบรองปก
1.3 ปกใน
1.4 บทคัดย่อ
1.5 กิตติกรรมประกาศ
1.6 สารบัญ
1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
2. ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย
2.1 บทที่ 1 บทนา
2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ
2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน
3. ส่วนอ้างอิง
เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก
3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
3.2 ภาคผนวก
3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน
ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
- ชื่อผลงาน
- ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้
- ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
- คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูล
เข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก
- วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด
- ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดีที่สุด
คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวก
ของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียน
รายงานซึ่งเป็นการเขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบาง
ประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สาคัญที่สุดที่
ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษา
ที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออก
ถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึง
ผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ
การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามาเสนอ
หรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1) ชื่อโครงงาน
2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6) การสาธิตผลงาน
7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่าง
ตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย
2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจ
ต้องใช้ในการตอบคาถาม
3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน
4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน
5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน
8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่
ทางานได้เป็นอย่างดี
การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม
ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์
ต่างๆ แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัยและ
ประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่ว
โลกขาดแคลนบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงน่า
ที่จะจัดให้การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนาไปสู่
การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/wirapons/khan-
txn-kar-tha-khorng-ngan-khxmphiwtexr
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/Com
puterProject/content1.html
https://sites.google.com/site/adbandon/ng-23102-
thekhnoloyi-sarsnthes-5/4-tawxyang-hawkhx-khorng-
ngan-khxmphiwtexr
นางสาวภาพิมล โชติชอบ ม.6/8 เลขที่ 20 นางสาววิวรรธณี ทองจ่าม ม.6/8 เลขที่ 21

More Related Content

What's hot

การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Fiction Lee'jslism
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้Nuties Electron
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์sarwsw
 
Computer Project 2
Computer Project 2Computer Project 2
Computer Project 2ssuserbdfc38
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานKtmaneewan
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..Noot Ting Tong
 
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02Sky Aloha'
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3melody_fai
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPuifai Sineenart Phromnin
 

What's hot (17)

การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
Presentation 2
Presentation 2Presentation 2
Presentation 2
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer Project 2
Computer Project 2Computer Project 2
Computer Project 2
 
K3ท
K3ทK3ท
K3ท
 
K311
K311K311
K311
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..
 
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละอองใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
ใบความรู้ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยครูละออง
 
3 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp023 120816125653-phpapp02
3 120816125653-phpapp02
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

Similar to กิจกรรมที่ 3

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Mookmanee Paiopree
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Utaiwoot Ponglar
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์apinoopook
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์kimaira99
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์atipa49855
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานPerm Ton
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Mind Just'Smile
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattarika Pijan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nutty_npk
 
Cream and black pitch deck presentation
Cream and black pitch deck presentationCream and black pitch deck presentation
Cream and black pitch deck presentationNatjaree Nameny
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ValenKung
 

Similar to กิจกรรมที่ 3 (20)

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K311
K311K311
K311
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
Com
ComCom
Com
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com puter-project
Com puter-projectCom puter-project
Com puter-project
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
 
Cream and black pitch deck presentation
Cream and black pitch deck presentationCream and black pitch deck presentation
Cream and black pitch deck presentation
 
ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์ใบงานที่ 3 แบงค์
ใบงานที่ 3 แบงค์
 

กิจกรรมที่ 3

  • 4. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลาย เป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ • โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) • โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) • โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) • โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) • โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 6. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรม บทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถาม คาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่ง อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการ พัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
  • 7. ตัวอย่างของโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา - สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย - สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล - พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย - โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ - 76 จังหวัดของไทย - สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก - คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด - ยาไทยและยาจีน - โปรแกรมช่วยสอนการทางานของทรานซิสเตอร์
  • 8.
  • 9. เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วย สร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูป ซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุใน มุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้น สร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้ เราใช้งานในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้ โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับ ช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 11.
  • 12. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการ ทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการ ศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่อง นั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การ ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
  • 13. - การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์ - การทดลองปัจจัยต่าง ๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์ - การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา - การทดลองผสมสารเคมีต่าง ๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ - ปัจจัยต่าง ๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน - ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน - การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล - โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น - โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
  • 14.
  • 15. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง ในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์ สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะ มีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือ ปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้ จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบ คุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรม ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 16. - ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน - ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล - ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต - ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง - โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง - โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ - โฮมเพจส่วนบุคคล - โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น - โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
  • 17.
  • 18. เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ หรือความ เพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการ คานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่ รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ เกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้ป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 19. - เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี - เกมอักษรเขาวงกต - เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร - เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ - เกมหมากฮอส - เกมบวกลบเลขแสนสนุก - เกมศึกรามเกียรติ์ - เกมมวยไทย - เกมอักษรไขว้
  • 20.
  • 21. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงาน คอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน 5. การจัดทารายงาน 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน
  • 22. 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน (การตั้งชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจจะทา) ปัญหาสาคัญในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประการหนึ่งคือ ผู้เรียนไม่ทราบว่าจะทาโครงงาน เรื่องอะไร โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากเรื่องทั่ว ๆ ไป จาก ปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว อย่างไรก็ตาม ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา องค์ประกอบสาคัญๆ ดังนี้ - เห็นประโยชน์และความคุ้มค่าของเรื่องที่จะทาโครงงาน - ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา - สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องได้ - มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษาซึ่งรวมถึงผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้คาปรึกษา - มีเวลาเพียงพอ - มีงบประมาณเพียงพอ - มีความปลอดภัย
  • 23. 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากครูผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จะช่วยให้ผู้เรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้ เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผน ดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว ผู้เรียนจะต้องบันทึกสรุป สาระสาคัญไว้ด้วย แหล่งข้อมูลที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งคือ การศึกษาผลงานของโครงงานคอมพิวเตอร์จาก งานแสดงนิทรรศการ หรือจากเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจค้นหาได้จากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก จะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้กับผู้เรียนในด้านความรู้ เทคนิคและวิธีการพัฒนา นอกจากนี้ยังทา ให้เกิดแนวคิดที่จะดัดแปลงผลงานดังกล่าว มาจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ในหัวข้อที่ตนสนใจด้วย ตัวอย่างเว็บไซต์ เช่น 1) http://oho.ipst.ac.th เป็นเว็บไซต์ของสาขาคอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประกวด โครงงานคอมพิวเตอร์ 2) http://www.nectec.or.th/nsc เป็นเว็บไซต์ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้ทุนวิจัยกับเยาวชนในการพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์เพื่อสร้างโครงงาน และจัดการแข่งขัน
  • 24. 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน โดยทั่วไป การทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์มีขั้นตอนที่สาคัญดังนี้ 3.1 กาหนดขอบเขตงาน วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนเอกสารวิชาการ เพื่อนามากาหนดขอบเขต ลักษณะ และแนวทางในการ วางแผนจัดทาโครงงาน 3.2 การออกแบบการพัฒนา การออกแบบพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ตัวแปล ภาษา และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้ กาหนด คุณลักษณะของผลงาน ระบุเทคนิคที่ใช้ในการพัฒนา พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงาน 3.3 พัฒนาโครงงานขั้นต้น การพัฒนาโครงงานขั้นต้น เป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจทาการพัฒนา ส่วนย่อยๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้โดยนาผลจากการปฏิบัติ ไปปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้ เหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้เป็นทางเลือกสาหรับผู้เสนอโครงงานที่ต้องการตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงงานและหลักการ 3.4 จัดทาและเสนอข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เขียนข้อเสนอโครงงานนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่ออาจารย์ที่ปรึกษาจะได้แนะนาในส่วนที่ยังบกพร่องอยู่อีก ครั้ง ซึ่งจะทาให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างราบรื่น
  • 25. 4. การลงมือพัฒนาโครงงาน เมื่อข้อเสนอโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่า50% ขั้นต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการทดลอง พร้อมทั้งจัดเตรียม สถานที่สาหรับใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึก หรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มี ปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา 4.2.1 ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทา ให้ผลงานดีขึ้น 4.2.2 จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ทาความตกลงใน การต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 4.2.3 พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน 4.2.4 คานึงถึงความประหยัด ความปลอดภัย และระยะเวลาในการทางาน
  • 26. 4.3 การตรวจสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้พร้อม กับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบ การอภิปรายผลที่ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว ผู้เรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถ เขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 27. 5. การจัดทารายงาน เมื่อทาโครงงานจนได้ข้อมูลอย่างเพียงพอและทาการวิเคราะห์ผล และสรุปผลแล้ว ขั้นตอน ต่อไปที่ต้องทาคือการจัดทารายงาน ซึ่งจะรวมถึงรายละเอียดต่างๆ ในการพัฒนา และคู่มือการใช้งาน รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียนรายงานนั้น ผู้เรียนควรใช้ภาษาที่อ่านและเข้าใจได้ง่าย ชัดเจน กระชับ และ ตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ส่วนนา ประกอบด้วย 1.1 ปกนอก 1.2 ใบรองปก 1.3 ปกใน 1.4 บทคัดย่อ 1.5 กิตติกรรมประกาศ 1.6 สารบัญ 1.7 คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (ถ้ามี)
  • 28. 2. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนนี้กาหนดให้ทาแบบเป็นบท จานวน 5 บท ประกอบด้วย 2.1 บทที่ 1 บทนา 2.2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.3 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ 2.4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 2.5 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน/อภิปรายผลการดาเนินงาน 3. ส่วนอ้างอิง เป็นส่วนท้ายของรายงานโครงงาน ประกอบด้วย รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และภาคผนวก 3.1 รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม 3.2 ภาคผนวก 3.3 คู่มือการใช้งาน (ถ้ามี)
  • 29. หากโครงงานที่ผู้เรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้ผู้เรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้งาน ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย - ชื่อผลงาน - ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ (ถ้ามี) ระบุรายละเอียดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ - ความต้องการของซอฟต์แวร์ (ถ้ามี) ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ - คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูล เข้า และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก - วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด - ข้อแนะนาในการใช้งาน เพื่อให้ผลงานนั้นสามารถทางานได้ดีที่สุด คู่มือการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานฉบับสมบูรณ์ หรือใส่ไว้เป็นภาคผนวก ของรายงานฉบับสมบูรณ์ก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา ที่กล่าวมานี้เป็นรูปแบบหนึ่งของการเขียน รายงานซึ่งเป็นการเขียนรายงานในลักษณะทั่วๆ ไป รูปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่เหมาะสมกับโครงงานบาง ประเภทก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน ซึ่งสิ่งที่สาคัญที่สุดที่ ผู้เขียนรายงานควรตระหนักไว้อยู่เสมอคือควรเขียนรายงานให้ชัดเจน ใช้ศัพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษา ที่เข้าใจง่าย ตรงไปตรงมา และครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของโครงงาน
  • 30. 6. การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออก ถึงผลิตผลของความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีที่ทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึง ผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์ และอธิบายด้วยคาพูด โดยผลงานที่นามาเสนอ หรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน 2) ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4) คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5) วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6) การสาธิตผลงาน 7) ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 31. ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้ 1) จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างเป็นระบบและนาเสนออย่าง ตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย 2) ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบายให้ดี รวมถึงเตรียมข้อมูลที่อาจ ต้องใช้ในการตอบคาถาม 3) หลีกเลี่ยงการนาเสนอด้วยวิธีอ่านรายงาน 4) ควรมองไปยังผู้ฟังขณะรายงาน 5) ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา 6) รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด 7) ควรใช้โปรแกรมนาเสนอประกอบการรายงาน 8) ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง 9) ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรจะอยู่ในสภาพที่ ทางานได้เป็นอย่างดี
  • 32. การแสดงผลงานในรูปแบบของนิทรรศการ การทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้นาความรู้ทางคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ ต่างๆ แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัยและ ประกอบอาชีพทางคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้หลายประเทศทั่ว โลกขาดแคลนบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงน่า ที่จะจัดให้การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
  • 34. นางสาวภาพิมล โชติชอบ ม.6/8 เลขที่ 20 นางสาววิวรรธณี ทองจ่าม ม.6/8 เลขที่ 21