SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
โครงงานคอมพิวเตอร์
COMPUTER PROJECT
1. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
3. ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์
4.
4. ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน4
2
3
1
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่
ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้
ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจ
และคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา
โปรแกรม ได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง
ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การ
พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ
ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อ
การศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้
นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม
จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงาน
คอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม
และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท
คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน
ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือราย
กลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น
การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชา
คณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความ
เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล
โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์
ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ
เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งาน
ในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับ
ซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวม
ความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็ นแนวคิด
แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย
คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การ
ทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ
การออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงาน
ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลง
ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือ
ทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้
เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรม
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกม
การคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ
โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้
สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามา
ปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
1) ได้พัฒนาผลงานตามความรู้ ความสนใจ และศักยภาพของตนเอง ซึ่งตอบสนองการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ คือ โครงงานคอมพิวเตอร์จะเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติได้เลือกหัวข้อที่สนใจเพื่อมาพัฒนาด้วยตนเอง
2) ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ กล่าวคือ โครงงาน
คอมพิวเตอร์มีขั้นตอนในการพัฒนาผลงานที่ผู้ปฏิบัติเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนาหรือประดิษฐ์
คิดค้นผลงาน รวมทั้งสรุปและนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา
3) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือ
ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาได้
4) ได้ฝึกทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น รวมถึงมีความสามารถในการบริหารจัดการและทางานเป็นหมู่คณะ คือ โครงงาน
คอมพิวเตอร์เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติทาโครงงานเป็นกลุ่ม ทั้งยังมีการปรึกษาผู้อื่นตลอดเวลา
5) ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ คือ ผู้ปฏิบัติต้องศึกษาและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาโครงงานที่มี
คุณภาพ
6) สามารถสื่อสารความคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งวิธีการพูดและการเขียน รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอให้ผู้อื่น
เข้าใจได้อย่างเหมาะสม คือ ผู้ปฏิบัติต้องมีการนาเสนอผลงานให้ครู ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้สนใจเข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่าง
ชัดเจน
7) ทาให้เกิดจิตสานึกและความรับผิดชอบในการพัฒนาระบบ เนื่องจากผู้ปฏิบัติจะต้องมีการวิเคราะห์ผลกระทบของผลงานที่
พัฒนาขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจะต้องตระหนักและออกแบบโครงงานที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหากับบุคคลอื่นและสังคม
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ถือเป็นกระบวนการในการทางานที่ต้องดาเนินการอย่างเป็นลาดับขั้นตอน
เพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดต่อการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
หัวข้อส่วนใหญ่ที่นามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ การ
สังเกตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
ปัญหาที่นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นได้จากแหล่งที่ต่างกัน ได้แก่ การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์
หรือวารสารต่าง ๆ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการทางวิทยุและโทรทัศน์ ข้อมูลข่าวสาร
จากอินเทอร์เน็ต รวมทั้งการสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่น ๆ กิจกรรม
การเรียนการสอนในโรงเรียน งานอดิเรกของนักเรียน การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอความปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้เกิดแนวคิดในการกาหนด
ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและการ
วางแผนดาเนินการทาโครงงานได้อย่างเหมาะสม
ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้
ทรัพยากรอะไร ทากับใคร และจะเสนอผลงานอย่างไร
3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทาเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้
3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงาน
โครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง
3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วน
ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมาก
ยิ่งขึ้น
3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไข เพราะในการวางแผน
การศึกษา ความคิดของนักเรียนอาจจะไม่ครอบคลุมทุกด้านเนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้
ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคาแนะนา และนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
4. การพัฒนาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจึงเป็นการลงมือพัฒนาโครงงานตาม
ขั้นตอนที่วางไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้
ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็น
ระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นนั้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้ าหมายและเกิด
ประสิทธิภาพตามขั้นตอนดังนี้
4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาให้พร้อมและควร
เตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้ มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างทา
โครงงาน ได้แก่ การดาเนินการเป็นอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง ๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนที่วาง ไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่า
จะช่วยทาให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลงรายละเอียดในการ
เชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและ
ครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น
ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้ าหมายและมีประสิทธิภาพ
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัด
ครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงานและทาการอภิปรายผล เพื่อพิจารณา
ข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการ
นาหลักการ ทฤษฎีหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต
ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะสาหรับผู้สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้เกิดประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
5. การเขียนรายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงาน เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจความคิด วิธีการดาเนินการศึกษา ค้นคว้าหา
ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น ควรใช้ภาษาที่อ่าน
ง่าย ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา รวมทั้งให้ผู้จัดทาคู่มือการใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
5.1 ชื่อโครงงาน
5.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้กับโครงงานนั้น
5.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่จะให้โครงงานนั้นทางานได้
อย่างสมบูรณ์
5.4 คุณลักษณะของโครงงาน ซึ่งอธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และอะไรที่ออกมา
เป็นข้อมูลขาออก
5.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่ มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชั่น
หนึ่ง ๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยเป็นการ
นาเสนอรายงานสรุปผลการดาเนินการในการจัดทาโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการและ
ผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้น จึงจัดเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลผลิต
ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html
https://sites.google.com/a/kts.ac.th/it_kts/unit5/subunit5-1
นางสาว ชลรดา ยงใจยุทธ เลขที่ 2
นางสาว สิริทิพย์ อาษาสุข เลขที่ 14
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์atipa49855
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Sukanya Mueangjai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Darunee Ongmin
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..Noot Ting Tong
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานLerts Prasert
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226Me'e Mildd
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญjjrrwnd
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Darunee Ongmin
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีNattaphong Kaewtathip
 

What's hot (19)

Computer Project
Computer ProjectComputer Project
Computer Project
 
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer3
Computer3Computer3
Computer3
 
Computer3.1
Computer3.1Computer3.1
Computer3.1
 
Com3com
Com3comCom3com
Com3com
 
ใบความรู้1
ใบความรู้1ใบความรู้1
ใบความรู้1
 
Work.com3
Work.com3Work.com3
Work.com3
 
Klong ngan3
Klong ngan3Klong ngan3
Klong ngan3
 
Com puter-project
Com puter-projectCom puter-project
Com puter-project
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Poy at 3
Poy at 3Poy at 3
Poy at 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
กิจกรรม 2 3 4
กิจกรรม 2 3 4กิจกรรม 2 3 4
กิจกรรม 2 3 4
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
 

Similar to Com

กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1Toei Natchaya
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..Noot Ting Tong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์supatra2011
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์Chonlamas Supsomboon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานJames Piroon
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานBest Deelai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Plai Plaifah
 

Similar to Com (16)

กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1กิจกรรมที่ 1
กิจกรรมที่ 1
 
โครงงานคอ..
โครงงานคอ..โครงงานคอ..
โครงงานคอ..
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2 3
2 32 3
2 3
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation1 1
Presentation1 1Presentation1 1
Presentation1 1
 
fghfghfgh
fghfghfghfghfghfgh
fghfghfgh
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3
 
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงาน โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานเรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Presentation (1)
Presentation (1)Presentation (1)
Presentation (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Com

  • 2. 1. ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ 2. ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 3. ประโยชน์ของโครงงานคอมพิวเตอร์ 4. 4. ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน4 2 3 1
  • 3. หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ ตนเองสนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ ความรู้ทางกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจ และคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนา โปรแกรม ได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่อง ดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การ พัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือ ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อ การศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้ นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรม จริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 4. คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงาน คอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
  • 5. 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือราย กลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชา คณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความ เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งาน ในงานพิมพ์ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สาหรับ ซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรมประเภท 3D
  • 6. 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวม ความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็ นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลองทฤษฎีด้วย คอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การ ทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ การออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงาน ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือ ทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้ เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้วิธีทางวิศวกรรม ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย
  • 7. 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกม การคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้ สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามา ปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ
  • 8. 1) ได้พัฒนาผลงานตามความรู้ ความสนใจ และศักยภาพของตนเอง ซึ่งตอบสนองการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ คือ โครงงานคอมพิวเตอร์จะเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติได้เลือกหัวข้อที่สนใจเพื่อมาพัฒนาด้วยตนเอง 2) ได้ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ กล่าวคือ โครงงาน คอมพิวเตอร์มีขั้นตอนในการพัฒนาผลงานที่ผู้ปฏิบัติเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนาหรือประดิษฐ์ คิดค้นผลงาน รวมทั้งสรุปและนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา 3) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือ ที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาได้ 4) ได้ฝึกทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น รวมถึงมีความสามารถในการบริหารจัดการและทางานเป็นหมู่คณะ คือ โครงงาน คอมพิวเตอร์เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติทาโครงงานเป็นกลุ่ม ทั้งยังมีการปรึกษาผู้อื่นตลอดเวลา 5) ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ คือ ผู้ปฏิบัติต้องศึกษาและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาโครงงานที่มี คุณภาพ 6) สามารถสื่อสารความคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งวิธีการพูดและการเขียน รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนาเสนอให้ผู้อื่น เข้าใจได้อย่างเหมาะสม คือ ผู้ปฏิบัติต้องมีการนาเสนอผลงานให้ครู ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้สนใจเข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่าง ชัดเจน 7) ทาให้เกิดจิตสานึกและความรับผิดชอบในการพัฒนาระบบ เนื่องจากผู้ปฏิบัติจะต้องมีการวิเคราะห์ผลกระทบของผลงานที่ พัฒนาขึ้น ดังนั้นผู้จัดทาจะต้องตระหนักและออกแบบโครงงานที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหากับบุคคลอื่นและสังคม
  • 9. การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ถือเป็นกระบวนการในการทางานที่ต้องดาเนินการอย่างเป็นลาดับขั้นตอน เพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดต่อการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน หัวข้อส่วนใหญ่ที่นามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรื่องต่าง ๆ การ สังเกตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์หรือสิ่งต่าง ๆ รอบตัว ปัญหาที่นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นได้จากแหล่งที่ต่างกัน ได้แก่ การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการทางวิทยุและโทรทัศน์ ข้อมูลข่าวสาร จากอินเทอร์เน็ต รวมทั้งการสนทนา อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่น ๆ กิจกรรม การเรียนการสอนในโรงเรียน งานอดิเรกของนักเรียน การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ 2. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอความปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้เกิดแนวคิดในการกาหนด ขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นและได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จนสามารถใช้ออกแบบและการ วางแผนดาเนินการทาโครงงานได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลจะต้องได้คาตอบว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทา ต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ ทรัพยากรอะไร ทากับใคร และจะเสนอผลงานอย่างไร
  • 10. 3. การจัดทาข้อเสนอโครงงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานเป็นการจัดทาเค้าโครงของโครงงานเพื่อเสนอครูที่ปรึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงงานที่จะพัฒนา 3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษาโปรแกรม และ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้ 3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทาโครงงานและสรุปรายงาน โครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง 3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วน ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมาก ยิ่งขึ้น 3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่อครูที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาปรับปรุงแก้ไข เพราะในการวางแผน การศึกษา ความคิดของนักเรียนอาจจะไม่ครอบคลุมทุกด้านเนื่องจากยังขาดประสบการณ์ จึงควรถ่ายทอดความคิดที่ได้ ศึกษาและบันทึกไว้ให้ครูทราบเพื่อรับคาแนะนา และนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์
  • 11. 4. การพัฒนาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบของครูที่ปรึกษาแล้ว ขั้นตอนต่อไปจึงเป็นการลงมือพัฒนาโครงงานตาม ขั้นตอนที่วางไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการกาหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาโครงงานเป็น ระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นนั้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้ าหมายและเกิด ประสิทธิภาพตามขั้นตอนดังนี้ 4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอื่น ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาให้พร้อมและควร เตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้ มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างทา โครงงาน ได้แก่ การดาเนินการเป็นอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง ๆ ที่พบ 4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนที่วาง ไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ หากพบว่า จะช่วยทาให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลงรายละเอียดในการ เชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและ ครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้ าหมายและมีประสิทธิภาพ 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัด ครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงานและทาการอภิปรายผล เพื่อพิจารณา ข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการ นาหลักการ ทฤษฎีหรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะสาหรับผู้สนใจจะนาไปพัฒนาผลงานให้เกิดประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น
  • 12. 5. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน เป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจความคิด วิธีการดาเนินการศึกษา ค้นคว้าหา ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น โดยในการเขียนรายงานนั้น ควรใช้ภาษาที่อ่าน ง่าย ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา รวมทั้งให้ผู้จัดทาคู่มือการใช้งาน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ 5.1 ชื่อโครงงาน 5.2 ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้กับโครงงานนั้น 5.3 ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่จะให้โครงงานนั้นทางานได้ อย่างสมบูรณ์ 5.4 คุณลักษณะของโครงงาน ซึ่งอธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และอะไรที่ออกมา เป็นข้อมูลขาออก 5.5 วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่ มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชั่น หนึ่ง ๆ 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จเรียบร้อยตามเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยเป็นการ นาเสนอรายงานสรุปผลการดาเนินการในการจัดทาโครงงาน และโปรแกรมที่ได้พัฒนาขึ้นมาให้กับคณะกรรมการและ ผู้เกี่ยวข้องของโครงงานนั้น จึงจัดเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลผลิต ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น
  • 14. นางสาว ชลรดา ยงใจยุทธ เลขที่ 2 นางสาว สิริทิพย์ อาษาสุข เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6