SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4
2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9
2. นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
sherlock holmes
ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงบันเทิง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4
2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จะมีเด็กชายสักกี่รายที่ไม่หลงรักการผจญภัย และจะสักกี่คนที่ไม่เคยใฝ่ใจไปกับการเป็นนักสืบ และหนึ่งในตัวละคร
ต้นแบบของนิยายทานองนี้คือ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ชอร์ล็อค โฮล์มส์ เป็นปรากฏการณ์ใหม่ของเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1887
ก่อนข้ามน้าข้าทะเลสู่ภาคภาษาไทยในปี พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) และการปรากฏตัวของมันอีกครั้งที่แพรวสานักพิมพ์
นามาพิมพ์ใหม่ในปี 2552 ก็น่าสนใจในแง่ยอดขาย เพราะเพียงเจ็ดหรือแปดปีพิมพ์ซ้าไปหลายสิบยี่สิบครั้ง โดยเฉพาะ
เล่มแรก เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท พิมพ์ซ้าเป็นครั้งที่ 31 เข้าไปแล้ว ทั้งที่กินเวลาไม่ถึงสิบปี นี่ยังไม่นับ
สานวนอื่นๆ ของสานักพิมพ์อื่นๆ ที่มีการจัดพิมพ์นิยายนักสืบเจ้านี่เช่นกันโคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ไว้ทั้
งสิ้ นเป็ นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่อง เป็ นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร.
จอห์น เอช. วัตสัน หรือหมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่ โฮล์มส์เป็ นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น
เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly
Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้ นลงพิมพ์เป็ น คอลัมน์ประจาใน นิตยสารสแตรนด์เมื่อปี ค.ศ.
3
1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็ นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี
ค.ศ. 1914 SherlockHolmes เป็ นตัวละคร หนึ่งที่เป็ นที่นิยมทั้ งในนิยายวรรณกรรม ชื่อดังจนกระทังเป็ นภาพ
ยนตร์ เป็นเรื่องราวของการสืบสวนสอบสวนการไขคดีตัวละครHolmeเป็ นนักสืบชาวลอนดอน มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน
ทักษะการประมวลเหตุและผลและด้านนิติวิทยาศาสตร์โฮล์มส์มีชื่อเสียงโด่งดังมากจนได้รับการดัดแปลงมาเป็น
ภาพยนตร์ งานชิ้นแรกที่จัดว่าเป็นวรรณกรรมแห่งตรรก เจาะหาเหตุผลกันได้ เกิดขึ้นในปลายยุคที่อารมณ์อยู่เหนือ
เหตุผล เอ็ดการ์ อัลลัน โพ (Edgar Allan Poe: 1809-1849) คือแกะดาตัวแรกในฝูงแกะโรแมนติคที่มีความเห็น
พิลึกพิลั่กออกไปจากฝูงว่า งานศิลปะนั้นควรจะเป็นสิ่งที่จับต้องมองหาเหตุผลกันได้ มนุษย์หน้าไหนก็ตามถ้ามี
ความคิดเป็นเหตุเป็นผล จัดได้ว่ามนุษย์คนนั้นเข้าถึงธรรมชาติมากที่สุด นอกจากนี้งานเขียนชิ้นไหนก็ตาม ไม่ว่าจะเป็น
บทกวีหรืองานเล่าเรื่อง ถ้าหากจะให้ดีก็ต้องเป็นงานแบบที่อ่านแล้วเห็นความเคลื่อนไหวของภาษาได้ หรือเห็น action
ของมันได้นั่นเอง โพยังแหวกแนวไว้ว่าแม้จินตนาการก็ต้องอยู่ในขอบเขตที่สามารถจับต้องวิเคราะห์ได้ ซ้าความคิดริ่
เริ่มต่างๆ นานาก็สร้างไม่ได้ด้วยแรงบันดาลใจล้วนๆ แต่จะต้องเอาแรงบันดาลใจนั้นมาผูกรวมกันเข้าอย่างมี
จุดมุ่งหมายเสียก่อน ถึงจะเรียกว่าเป็นความคิดริเริ่ม
เอ็ดการ์ อัลลัน โพ ว่าเอาไว้อย่างนั้น และเขาก็มักจะได้รับการอ้างถึงว่าเป็นคนเริ่มต้นการผูกเรื่องลึกลับในแนว
สืบสวน เรื่องสั้นของโพเรื่องแรกที่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของวรรณกรรมนักสืบก็คือ "The Murders in the Rue Moque"
(ฆาตกรรมที่รูมอค)
เวลาล่วงมาจนถึงปี ค.ศ.1887 โลกก็มีนักเขียนแนวสืบสวนที่ยิ่งใหญ่เกิดขึ้นอีกคน เมื่อเซอร์ อาเธอร์ โคแนน ดอยล์
(Sir Arthur Conan Doyle : 1859-1930) เขียนงานชิ้นแรกเกี่ยวกับนักสืบชื่อดัง เชอร์ล็อค โฮล์มส (Sherlock
Holmers) ในเรื่อง A Study in Scarlet เสร็จแล้วก็ดังเป็นพลุ คนติดกันมากถึงขนาดเชอร์ล็อค โฮล์มส ตายแล้ว แต่
คนอ่านก็ยังไม่ยอมเลิกลาเรียกร้องให้โคแนน ดอยล์ เอาเชอร์ล็อค โฮล์มสกลับมาอีก จริงๆแล้วความสาเร็จของเชอร์
ล็อค โฮล์มสนี้ต้องยกเครดิตให้กับโพไปบ้างบางส่วน เพราะว่าเชอร์ล็อค โฮล์มสเกิดจากแรงบันดาลใจหรือมีต้นแบบมา
จากตัวละครในเรื่องสั้น The Purloined Letter ของโพนั่นเอง ใน A Study in Scarlet วัตสัน (Watson) ก็ได้
พาดพิงถึงมิสเตอร์ดูแปง (Mr. Dupin) ใน The Purloined Letter ไว้ว่า
"จากที่คุณ (โฮล์มส) อธิบายมามันก็ฟังดูง่ายนิดเดียว" วัตสันพูดยิ้มๆ "คุณทาให้ผมนึกถึงดูแปง ตัวละครของเอ็ดการ์
อัลลัน โพนะ ผมไม่นึกมาก่อนเลยว่าตัวละครที่บุคลิกเด่นอย่างนั้นจะมีตัวจริงอยู่นอกเรื่องด้วย" (A Study in Scarlet
น.25)
นอกเหนือไปจากนั้น เชอร์ล็อค โฮล์มส ยังถอดบุคลิกบางส่วนมาจากดร.โจเซฟ เบล (Dr. Joseph Bell) ศัลยแพทย์
และนักสืบมือเยี่ยมซึ่งสอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยเอดินเบอร์ก โคแนน ดอยล์รู้จักเขาระหว่าที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยนั่นเอง
ท่าทางของเชอร์ล็อค โฮล์มส ที่โคแนน ดอยล์ยืมมาจาก ดร.โจเซฟก็คือสไตล์การสูบไปป์นั่นเอง
จากการเริ่มต้นสร้างจินตนาการในแนวใหม่ หรือจินตนาการที่พิสูจน์ได้ โพก็กลายเป็นคนวางรากฐานรูปแบบการ
นาเสนอวรรณกรรมนักสืบไว้ให้กับนักเขียนรุ่นต่อมา ถึงแม้แรงบันดาลใจแรกเริ่มของนักเขียนทั้งจากฝั่งอังกฤษและ
อเมริกาจะมาจากคนๆเดียวกัน แต่ก็ยังมีความแตกต่างแสดงให้เห็นในแง่มุมที่ว่า วรรณกรรมนักสืบจากฝั่งอเมริกจะมี
ความตื่นเต้นเร้าใจ และตัวเรื่องก็มีความเคลื่อนไหวให้ความรู้สึกได้มากกว่า ผิดกับงานฝั่งอังกฤษที่ตัวงานมักจะมีการ
วางพล็อตเรื่องกระชับหนักแน่น และมีสไตล์การเดินเรื่องเนินนาบนุ่มนวลมากกว่า
โดยทั่วไปแล้ววรรณกรรมสืบสวนต่างๆมันจะออกมาในรูปของนวนิยายหรือเรื่องสั้นที่พัวพันกับอาชญากรรม และ
อาชญากรรมส่วนใหญ่ก็มักจะออกมาในรูปของการฆาตกรรม ฆาตกรมือลึกลับมักทางานได้อย่างแนบเนียน ชนิดที่ว่า
4
ตารวจระดับธรรดาคลาหาร่องรอยไม่พบ และแน่นอนว่าคนที่จะเปิดหน้ากากฆาตกรก็คือนักสืบนั่นเอง วิธีที่นักสืบเขา
ใช้กันในการสาวคดีไปให้ถึงต้นตอ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Science of Deduction หมายถึงการสาวจากหลักฐานทั่วไป
เท่าที่จะได้ในแต่ละคดีที่เกิด เพื่อนาไปสู่คาตอบว่าใครคตือตัวการในคดีนั้นๆ
เจ้าวิธีการ Deduction ที่ว่านี้ ถ้าจะยกตัวอย่างให้เห็นภาพกันได้ง่ายขึ้นก็ลองดูกันตอนที่โฮล์มสเจอวัตสันครั้งแรก
โฮล์มสบอกได้ทันทีว่าวัตสันเพิ่งกลับมาจากอัฟกานิสถาน โฮล์มสเรียกวิธีการของเขาว่าเป็นความคิดที่เข้าแถวเรียงว่า
(the train of thought) และมาอย่างเร็วจนไปถึงข้อสรุปได้อย่างไม่รู้ตัว ในเรื่อง A Study in Scarlet โฮล์มสไต่ไป
ตามความคิดว่า
1. ผู้ชายคนนี้เป็นหมอ แต่มีกลิ่นของความเป็นทหารอยู่
2. ถ้าอย่างนั้นก็ต้องเป็นหมอที่รับราชการในกองทัพน่ะสิ
3. ผิวหน้าคล้า ซึ่งไม่ใช่สีผิวของเขาจริงๆ เพราะข้อมือของเขาขาว บอกว่าเพิ่งกลับมาจากเมืองร้อน
4. หน้าตาซีดเซียวของเขาบอกให้รู้ว่าเขาเพิ่งผ่านการใช้ชีวิตอย่างลาบากมาและเพิ่มหายป่วย
5. แขนข้างซ้ายของเขาเจ็บ
6. ท่าทางที่เขาถือไม้เท้าก็ดูแปลกๆ
แล้วโฮล์มสก็มาถึงข้อสรุปว่าเมืองร้อนที่หมอจากกองทัพอังกฤษต้องไปผจญความยากเข็ญมา จะเป็นที่ไหนไปเสีย
ไม่ได้ นอกจากอัฟกานิสถาน
รูปแบบของวรรณกรรมนักสืบส่วนใหญ่เดินตามรอยนี้ แต่ก็ไม่ทั้งหมด มีบ้างบางเรื่องพลิกแพลงออกไป เช่นให้ตัว
นักสืบหายตัวไปอย่างลึกลับเสียเอง หรือฆาตกรไม่ได้ทิ้งอะไรเอาไว้ให้พอได้เป็นกุญแจสาหรับนักสืบเลย ถ้าเรื่อง
ออกมาแนวนี้ก็มักจะจัดเข้าเป็นเรื่องลึกลับที่ไม่ได้มีแต่การสืบสวนธรรมดาเสียแล้ว
วรรณกรรมนักสืบชุด เชอร์ล็อค โฮล์มส กลายเป็นเรื่องชุดคลาสสิคฮิตตลอดกาล และเป็นแบบอย่างเฉพาะที่โดดเด่น
เห็นได้ชัด เรื่องเฉพาะตัวที่ว่านั่นก็คือตัวเชอร์ล็อค โฮล์มสเองมีบุคลิกแบบที่เรียกได้ว่า "หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง"
เพราะโคแนน ดอยล์ ฉวยเอาแบบอย่างที่เป็นบุคลิกเด่นๆ ของตัวละครในงานของนักเขียนอื่นมารวมกันไว้ ว่ากันว่าใน
ตอนแรกโคแนน ดอยล์ กระอักกระอ่วนใจที่จะยอมรับ แต่ในที่สุดก็เปิดออกมาให้เห็นกันไปเลยว่าเชอร์ล็อค โฮล์มสนั้น
มีที่มาอย่างไร
จากบุคลิกที่เห็นได้ชัดว่าเป็นคนเชื่อมั่นในตัวเองสูง เป็นคนเอาแต่ใจตัวเอง เป็นคนที่มีความรู้ไม่หลากหลายสาขานัก
แต่รู้อะไรแล้วก็รู้จริงอย่างชนิดที่ว่าความรู้นั้นแทบจะฝังลงไปในทุกอณูของรายละเอียด เชอร์ล็อค โฮล์มส ก็ยังมีบุคลิก
ขัดแย้งปรากฎออกมาให้เห็น เช่น เขาเป็นนักสืบที่เก่งกาจหาตัวจับยาก แต่เขาก็เคยหน้าแตกกับวัตสัน เมื่อครั้งหนึ่ง
เขาตั้งสันนิษฐานเกี่ยวกับคดีหลงทางอย่างมั่นใจว่ามันจะต้องถูก โฮล์มสบอกวัตสันว่ามันต้องเป็นคดีแบ็คเมล์ที่ยิ่งใหญ่
เมื่อโฮล์มสสันนิษฐานว่าอดีตสามีที่หญิงสาวบอกกับสามีหนุ่มคนปัจจุบันว่าตายไปแล้วกลับมามีตัวตนขึ้นมาอีก เขา
บอกว่าสามีคนปัจจุบันซึ่งรักหญิงสาวมากจะต้องรับไม่ได้กับเรื่องอย่างนี้ และต้องพบกับความทุกข์ใหญ่หลวง แต่โฮล์
มสก็ยังไม่ทันจะได้พิสูจน์อะไร ชายหนุ่มก็ลุยไปเจอเสียก่อนว่าหน้าลึกลับที่มักจะเห็นที่หน้าต่างไม่ใช่อดีตสามี แต่เป็น
ลูกสาวน่าสงสารของหญิงสาว และด้วยความรักในตัวหญิงสาวเขาก็พร้อมจะรับเลี้ยงดูเด็กอย่างดี โดยไม่ได้มีความรู้สึก
ว่ารับไม่ได้อะไรเลย
นอกจากนั้น ความขัดแย้งยังปรากฏให้เห็นว่าโฮล์มสเป็นคนใช้ความคิดได้อย่างแหลมคม อะไรที่เขาเห็น คนอื่นมักจะ
มองไม่เห็นหรือมองข้าม แต่ในตอนเริ่มต้นของเรื่อง The Sign of Four โฮล์มสก็ช็อกความรู้สึกของวัตสันและคนอ่าน
เมื่อเขาเปิดเผยให้เห็นว่าเขาเป็นติดยาคนหนึ่ง (โฮล์มส ฉีดโคเคนเข้าเส้นหน้าตาเฉย) หรือในเรื่อง A Study in
5
Scarlet โฮล์มวิจารณ์เลอคอด (Lecoq ตัวละครในเรื่อง Monsieur Lecoq ของ Emile Gaboriau นักเขียนชาว
ฝรั่งเศส อีกหนึ่งในแบบอย่างที่โคแนน ดอยล์ยืมบุคลิกมา) และดูแปงอย่างไม่แยแส แต่โฮล์มสก็มีคาร์แรคเตอร์อย่าง
หนึ่งที่เหมือนลอคอดและดูแปงอย่างไม่ผิดเพี้ยน นั่นคือเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษเกี่ยวกับกลิ่นและชนิดของยาสูบ รวมถึง
ความสามารถในการอ่านรอยนิ้วมือคนเหมือนเลอคอด ทั้งยังมีความละเอียดละออในการสังเกต กระทั่งสามารถบอก
ได้ว่าคนนั้นหรือสิ่งนั้นมีความเป็นมายังไงเหมือนดูแปง
การที่โคแนน ดอยล์ ยกบุคลิกด้านเด่นให้กับเชอร์ล็อค โฮล์มส เพียงคนเดีย ทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มสเด่นกว่าใครๆ
ทั้งหมดในเรื่อง คนอื่นกลายเป็นตัวประกอบไปทันทีอย่างเห็นได้ชัด โฮล์มสได้รับการปรนเปรอจากผู้เขียนให้มีแต่ความ
สะดวกสบาย แม้แต่ตอนที่ต้องไปสืบคดีในที่ทุรกันดารอย่างดาร์ทมัวร์ (Dartmoor) เขาก็ยังมีเด็กรับใช้ตามไปบริการ
(ในเรื่อง The Hound of the Baskervilles)
ไม่ใช่ลูกค้าที่เอาคดีมาให้โฮล์มสทา ไม่ใช่ฆาตกรที่ก่อเรื่องร้ายกาจขึ้นมา แต่เป็นความไม่รู้และการคาดการณ์ของวัต
สันที่แหละ ทาให้โฮล์มสมีโอกาสแสดงฝีมือออกมาให้คนอ่านทึ่ง เรื่องนักสืบอย่างเชอร์ล็อค โฮล์มส จึงไม่สามารถให้ตัว
นักสืบเป็นคนเล่าเรื่องได้ หรือจะใช้สายตาพระเจ้า (ommiscience) เล่าเหมือนเรื่องเล่าอื่นๆ ก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน
เพราะนั่นจะทาให้เรื่องไม่มีความลับ แล้วก็ไม่มีความจาเป็นที่นักสืบจะต้องเฉลยอะไรต่อมิอะไรให้คนอ่านแปลกใจกันที
หลัง เพราะคนอ่านก็จะรู้เรื่องที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับตัวละครอยู่แล้ว เมื่อหยิบหนังสือขึ้นมาอ่านครั้งหนึ่ง จึงไม่ใช่แค่ตัว
ละครเท่านั้นที่มีมิติโลดแล่นไปตามบทบาท แต่คนอ่านก็หลุดเข้าไปอยู่ในมิตินั้นๆ ด้วย มิติของคนอ่านอย่างแรกคือเรา
ใช้สายตาของพระเจ้าอ่าน หรือเราเป็นคนที่รอบรู้ว่าอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในขณะที่ตัวละครยังรู้ไม่เท่าเราด้วยซ้าไป มิติที่
สองคือเราเป็นแค่คนติดตามเหตุการณ์ หรือบางครั้งทาได้แค่เดาเหตุการณ์เท่านั้น ส่วนความจริงที่เกิดขึ้นตัวละครจะ
เป็นคนเฉลยให้เรารู้ทีหลัง คนที่หยิบเชอร์ล็อค โฮล์มส ขึ้นมาอ่านและหลุดเข้าไปอยู่ในมิตินี้ เมื่อย้อนกลับไปดู
ความสัมพันธ์ระหว่างวัตสันกับคนอ่าน ก็จะเห็นว่าร่วมอยู่ในมิติเดียวกัน คือต่างก็เป็นส่วนที่ทาให้ความเป็นนักสืบของ
เชอร์ล็อค โฮล์มสสมบูรณ์เต็มความหมายนั่นเอง
ถึงจุดนี้ ถ้าจะถามว่าอะไรทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มส มีชีวิตโลดแล่นเป็นอมตะครองใจคนอ่านไม่เสื่อมคลาย คาตอบคง
จะหลีกไม่พ้นเหตุผลว่าวิธีการสืบสวนของเขานั่นเอง เพียงสังเกตรอยไหม้บนไปป์ โฮล์มสก็รู้ว่าคนสูบถนัดซ้ายหรือขวา
รายละเอียดเล็กน้อยแบบนี้ต่างหากที่ทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มส ยังคงอยู่เป็นเงาของโคแนน ดอยล์ตลอดไปในใจคนอ่าน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาประวัติของเชอร์ล็อก โฮมส์ และผู้แต่ง
2.เพื่อศึกษาผลงานหนังสือของเชอร์ล็อก โฮมส์
3.เพื่อศึกษาคุณค่าผลงานของเชอร์ล็อก โฮมส์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับเชอร์ล็อก โฮมส์
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
6
นวนิยายชื่อดังจากฝั่งยุโรป ที่ได้การยอมรับไปทั่วโลก โดยทั่วไปอาจไม่มีใครรู้จักแต่หากพูดถึง "ยอดนักสืบรุ่นจิ๋ว
โคนัน" หลายคนคงจะนึกออกทันที เพราะ เชอร์ล็อก โฮลม์ เปรียบเสมือน ไอดอลของโคนันเลย ชื่อของ โคนัน เองก็
ได้มาจากผู้แต่ง ก็คือ เซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นั้นเอง อันแน่~~ เริ่มสนใจชายยอดนักสืบคนนี้แล้วรึยังละ วันนี้ทาง
เราก็มีประวัติ และสิ่งที่น่าสนใจของชายผู้นี้ด้วย เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ( Sherlock Holmes) เป็นนวนิยายสืบสวนหรือ
รหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสก็อต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19
ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮล์มส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน
ทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลาย
คดีต่าง ๆ
โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็น
การบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร. จอห์น เอช. วัตสัน หรือ หมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮล์มส์เป็น
ผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี
ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้นลงพิมพ์เป็นคอลัมน์
ประจาใน นิตยสารสแตรนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878
ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี ค.ศ. 1914
ความโด่งดังของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ทาให้ผู้อ่านจานวนมากเชื่อว่าเขามีตัวตนจริงและพากันเขียนจดหมายไปหา
มีพิพิธภัณฑ์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตั้งขึ้นในตาแหน่งที่น่าจะเป็นบ้านในนวนิยายของเขาในกรุงลอนดอน นับเป็นพิพิธภัณฑ์
แห่งแรกที่สร้างขึ้นสาหรับตัวละครในนิยาย เรื่องราวของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ มีการนาไปดัดแปลงและแต่งเพิ่มเติมขึ้น
ใหม่อีกโดยนักเขียนคนอื่น ทั้งที่เขียนร่วมกับทายาทของโคนัน ดอยล์ และเขียนขึ้นใหม่เป็นเอกเทศ บทประพันธ์ของ
โคนัน ดอยล์ และนวนิยายที่แต่งขึ้นใหม่ ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และสื่ออื่นๆ อีก
มากมายนับไม่ถ้วน กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่า เชอร์ล็อก โฮล์มส์เป็น "ตัวละครที่มีผู้แสดงมากที่สุด"
ภาพลักษณ์ของโฮล์มส์กลายเป็นสัญลักษณ์ของนักสืบ และส่งอิทธิพลต่อวรรณกรรมและการแสดงในประเภทรหัสคดี
จานวนมาก
นิสัยและความสามารถ
โฮล์มส์มีอารมณ์แปลก ๆ บางครั้งก็เศร้าซึม พูดน้อย บางครั้งก็ร่าเริง หมอวัตสัน เพื่อนคู่หูของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ได้
บรรยายถึงลักษณะต่าง ๆ ของโฮล์มส์เอาไว้ในบันทึกคดีคราวต่าง ๆ กัน เช่น ในเวลาที่กาลังครุ่นคิดเรื่องคดี โฮล์มส์จะ
ไม่ทานข้าวเช้า โฮล์มส์ชอบทาการทดลองเคมี แล้วทิ้งข้าวของในห้องกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ โฮล์มส์สูบไปป์จัด
มาก มักกลั่นแกล้งตารวจโดยการให้ข้อมูลปลอมหรือปกปิดหลักฐานบางอย่าง แต่ก็มีความเป็นสุภาพบุรุษและให้
เกียรติแก่สตรีอย่างสูง แต่นิสัยที่หมอวัตสันเห็นว่าเลวร้ายและยอมรับไม่ได้เลย คือ การที่โฮล์มส์ชอบเสพโคเคนกับ
มอร์ฟีน ซึ่งวัตสันเห็นว่าเป็นความชั่วประการเดียวของโฮล์มส์
โฮล์มส์ยังเป็นนักแสดงที่เก่งกาจ ดังปรากฏในตอน ซ้อนกล (the Dying Detective) และ จดหมายนัดพบ (the
Reigate Squires) และตอนอื่น ๆ อีกหลายตอน เพื่อหันเหความสนใจของผู้ต้องสงสัย มิให้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของหลักฐานบางอย่าง ในตอน สัญญานาวี (the Naval Treaty) โฮล์มส์ได้แสดงให้เห็นว่าเขาชื่นชมนักอาชญวิทยา
ชาวฝรั่งเศส อัลฟองเซ เบอทิลลอง ผู้คิดค้นทฤษฎีการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุเพื่อช่วยระบุตัวตนของอาชญา
7
กร นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า โฮล์มส์เป็นนักอ่าน นักศึกษา มีความรู้ด้านอาชญวิทยาอย่าง
กว้างขวาง และให้ความนิยมนับถือบรรดานักสืบผู้ชานาญเป็นอย่างมาก
แม้โฮล์มส์จะชอบกลั่นแกล้งตารวจ แต่เขาก็เป็นมิตรที่ดีของสก๊อตแลนด์ยาร์ดโดยเฉพาะสารวัตรเลสเตรด และมักยก
ความดีความชอบในคดีให้แก่ฝ่ายตารวจอยู่เสมอ ในตอน สัญญานาวี โฮล์มส์เคยบอกว่า ในบรรดาคดีที่เขาสะสาง 53
คดี เขายกความสาเร็จให้เพื่อนตารวจไปเสีย 49 คดี คงมีแต่เพียงหมอวัตสันที่บรรยายถึงความสามารถของเขาผ่าน
ทางบันทึกเท่านั้น
โฮล์มส์มีความสามารถในการวิเคราะห์หลักฐานทางกายภาพอย่างถูกต้องแม่นยา กระบวนการตรวจสอบหลักฐานของ
เขามีหลายกรรมวิธี เช่น การเก็บรอยรองเท้า รอยเท้าสัตว์ หรือรอยล้อรถจักรยาน เพื่อวิเคราะห์การกระทาใด ๆ ที่
อาจเกิดขึ้นในระหว่างการเกิดอาชญากรรม หรือการวิเคราะห์ประเภทของยาสูบเพื่อระบุตัวตนของอาชญากร โฮล์มส์
เคยตรวจสอบร่องรอยผงดินปืน และเปรียบเทียบกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุ ทาให้แยกแยะได้ว่าฆาตกรมีสอง
คน นอกจากนี้ โฮล์มส์ยังเป็นคนแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการตรวจสอบลายนิ้วมืออีกด้วย
โฮล์มส์มีศัตรูตัวฉกาจ ชื่อ ศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี้ ผู้มีมันสมองปราดเปรื่องในด้านอาชญากรรม อีกทั้งยังเป็น
ตัวการเบื้องหลังในบางคดีที่เกิดขึ้นอีกด้วย คาพูดของโฮล์มส์ที่ติดปากกันดี คือ “ถ้าเราตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทั้งหมด
ออกไป สิ่งที่เหลืออยู่ ไม่ว่ามันจะดูเหลือเชื่อเพียงใด แต่มันก็เป็นความจริง”
ถิ่นที่อยู่อาศัย
ตามท้องเรื่อง โฮล์มส์และหมอวัตสันรู้จักกันครั้งแรก เนื่องจากต่างต้องการหาผู้ร่วมเช่าห้องพักอยู่ด้วยกันในกรุง
ลอนดอนเพื่อลดค่าใช้จ่าย ห้องพักที่ทั้งสองเช่าเป็นบ้านของมิสซิสฮัดสัน ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 221 บี ถนนเบเกอร์ โดย
พวกเขาเช่าพื้นที่ชั้นสองของบ้าน ส่วนมิสซิสฮัดสันอาศัยอยู่ชั้นล่าง และทาหน้าที่จัดเตรียมอาหารเช้าให้พวกเขาด้วย
หมอวัตสันเคยย้ายออกจากบ้านเช่านี้ไปเมื่อคราวแต่งงาน ทว่าหลังจากภรรยาเสียชีวิต หมอวัตสันก็ย้ายกลับมาอยู่กับ
เชอร์ล็อก โฮล์มส์อีก
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ข้อมูลเพื่อนาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- แผ่นซีดี
- หล่องใส่แผ่นซีดี
งบประมาณ
- ค่าแผ่นซีดีและกล่องใส่แผ่นซีดีราคารวมกัน 20 บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พันกรณ์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พันกรณ์
พงศภัค
3 จัดทาโครงร่างงาน พงศภัค
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พงศภัค
พันกรณ์
5 ปรับปรุงทดสอบ พันกรณ์
6 การทาเอกสารรายงาน พงศภัค
7 ประเมินผลงาน พันกรณ์
8 นาเสนอโครงงาน พงศภัค
พันกรณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
- ได้ทราบที่มาและประวัติของเชอร์ล็อกโฮมส์
- ได้ทราบวข้อมูลหนังสือของเชอร์ล็อกโฮมส์
- สาทารถเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่เริ่มจะเขียนหนังสือ
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
- ห้องคอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง
ttps://sites.google.com/site/heatheartsiteforyou/home/tanan-yxd-naksub

More Related Content

Similar to 2560 project

โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์Paphatsara Rueancome
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์joybh42
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมBoyle606
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chureekon MT
 

Similar to 2560 project (15)

โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
โครงงานคอม เชอร์ล็อกโฮมส์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
MmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmMmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Paphatsara Rueancome

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Paphatsara Rueancome
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2Paphatsara Rueancome
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศPaphatsara Rueancome
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์Paphatsara Rueancome
 

More from Paphatsara Rueancome (13)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Tb ม6 60
Tb ม6 60Tb ม6 60
Tb ม6 60
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ2
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นางสาว-ธีรนาฏ-วรรณเลิศ
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
ฉบับเต็ม
ฉบับเต็มฉบับเต็ม
ฉบับเต็ม
 
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4 2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 2. นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ยอดนักสืบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) sherlock holmes ประเภทโครงงาน ให้ความรู้เชิงบันเทิง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย พงศภัค คงมา เลขที่ 9 ชั้น ม.6ห้อง 4 2.นาย พันกรณ์ วัฒนาชัยพันธ์ เลขที่ 23 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จะมีเด็กชายสักกี่รายที่ไม่หลงรักการผจญภัย และจะสักกี่คนที่ไม่เคยใฝ่ใจไปกับการเป็นนักสืบ และหนึ่งในตัวละคร ต้นแบบของนิยายทานองนี้คือ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ชอร์ล็อค โฮล์มส์ เป็นปรากฏการณ์ใหม่ของเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1887 ก่อนข้ามน้าข้าทะเลสู่ภาคภาษาไทยในปี พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) และการปรากฏตัวของมันอีกครั้งที่แพรวสานักพิมพ์ นามาพิมพ์ใหม่ในปี 2552 ก็น่าสนใจในแง่ยอดขาย เพราะเพียงเจ็ดหรือแปดปีพิมพ์ซ้าไปหลายสิบยี่สิบครั้ง โดยเฉพาะ เล่มแรก เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท พิมพ์ซ้าเป็นครั้งที่ 31 เข้าไปแล้ว ทั้งที่กินเวลาไม่ถึงสิบปี นี่ยังไม่นับ สานวนอื่นๆ ของสานักพิมพ์อื่นๆ ที่มีการจัดพิมพ์นิยายนักสืบเจ้านี่เช่นกันโคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ไว้ทั้ งสิ้ นเป็ นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่อง เป็ นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร. จอห์น เอช. วัตสัน หรือหมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่ โฮล์มส์เป็ นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้ นลงพิมพ์เป็ น คอลัมน์ประจาใน นิตยสารสแตรนด์เมื่อปี ค.ศ.
  • 3. 3 1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็ นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี ค.ศ. 1914 SherlockHolmes เป็ นตัวละคร หนึ่งที่เป็ นที่นิยมทั้ งในนิยายวรรณกรรม ชื่อดังจนกระทังเป็ นภาพ ยนตร์ เป็นเรื่องราวของการสืบสวนสอบสวนการไขคดีตัวละครHolmeเป็ นนักสืบชาวลอนดอน มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน ทักษะการประมวลเหตุและผลและด้านนิติวิทยาศาสตร์โฮล์มส์มีชื่อเสียงโด่งดังมากจนได้รับการดัดแปลงมาเป็น ภาพยนตร์ งานชิ้นแรกที่จัดว่าเป็นวรรณกรรมแห่งตรรก เจาะหาเหตุผลกันได้ เกิดขึ้นในปลายยุคที่อารมณ์อยู่เหนือ เหตุผล เอ็ดการ์ อัลลัน โพ (Edgar Allan Poe: 1809-1849) คือแกะดาตัวแรกในฝูงแกะโรแมนติคที่มีความเห็น พิลึกพิลั่กออกไปจากฝูงว่า งานศิลปะนั้นควรจะเป็นสิ่งที่จับต้องมองหาเหตุผลกันได้ มนุษย์หน้าไหนก็ตามถ้ามี ความคิดเป็นเหตุเป็นผล จัดได้ว่ามนุษย์คนนั้นเข้าถึงธรรมชาติมากที่สุด นอกจากนี้งานเขียนชิ้นไหนก็ตาม ไม่ว่าจะเป็น บทกวีหรืองานเล่าเรื่อง ถ้าหากจะให้ดีก็ต้องเป็นงานแบบที่อ่านแล้วเห็นความเคลื่อนไหวของภาษาได้ หรือเห็น action ของมันได้นั่นเอง โพยังแหวกแนวไว้ว่าแม้จินตนาการก็ต้องอยู่ในขอบเขตที่สามารถจับต้องวิเคราะห์ได้ ซ้าความคิดริ่ เริ่มต่างๆ นานาก็สร้างไม่ได้ด้วยแรงบันดาลใจล้วนๆ แต่จะต้องเอาแรงบันดาลใจนั้นมาผูกรวมกันเข้าอย่างมี จุดมุ่งหมายเสียก่อน ถึงจะเรียกว่าเป็นความคิดริเริ่ม เอ็ดการ์ อัลลัน โพ ว่าเอาไว้อย่างนั้น และเขาก็มักจะได้รับการอ้างถึงว่าเป็นคนเริ่มต้นการผูกเรื่องลึกลับในแนว สืบสวน เรื่องสั้นของโพเรื่องแรกที่ถือเป็นจุดเริ่มต้นของวรรณกรรมนักสืบก็คือ "The Murders in the Rue Moque" (ฆาตกรรมที่รูมอค) เวลาล่วงมาจนถึงปี ค.ศ.1887 โลกก็มีนักเขียนแนวสืบสวนที่ยิ่งใหญ่เกิดขึ้นอีกคน เมื่อเซอร์ อาเธอร์ โคแนน ดอยล์ (Sir Arthur Conan Doyle : 1859-1930) เขียนงานชิ้นแรกเกี่ยวกับนักสืบชื่อดัง เชอร์ล็อค โฮล์มส (Sherlock Holmers) ในเรื่อง A Study in Scarlet เสร็จแล้วก็ดังเป็นพลุ คนติดกันมากถึงขนาดเชอร์ล็อค โฮล์มส ตายแล้ว แต่ คนอ่านก็ยังไม่ยอมเลิกลาเรียกร้องให้โคแนน ดอยล์ เอาเชอร์ล็อค โฮล์มสกลับมาอีก จริงๆแล้วความสาเร็จของเชอร์ ล็อค โฮล์มสนี้ต้องยกเครดิตให้กับโพไปบ้างบางส่วน เพราะว่าเชอร์ล็อค โฮล์มสเกิดจากแรงบันดาลใจหรือมีต้นแบบมา จากตัวละครในเรื่องสั้น The Purloined Letter ของโพนั่นเอง ใน A Study in Scarlet วัตสัน (Watson) ก็ได้ พาดพิงถึงมิสเตอร์ดูแปง (Mr. Dupin) ใน The Purloined Letter ไว้ว่า "จากที่คุณ (โฮล์มส) อธิบายมามันก็ฟังดูง่ายนิดเดียว" วัตสันพูดยิ้มๆ "คุณทาให้ผมนึกถึงดูแปง ตัวละครของเอ็ดการ์ อัลลัน โพนะ ผมไม่นึกมาก่อนเลยว่าตัวละครที่บุคลิกเด่นอย่างนั้นจะมีตัวจริงอยู่นอกเรื่องด้วย" (A Study in Scarlet น.25) นอกเหนือไปจากนั้น เชอร์ล็อค โฮล์มส ยังถอดบุคลิกบางส่วนมาจากดร.โจเซฟ เบล (Dr. Joseph Bell) ศัลยแพทย์ และนักสืบมือเยี่ยมซึ่งสอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยเอดินเบอร์ก โคแนน ดอยล์รู้จักเขาระหว่าที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยนั่นเอง ท่าทางของเชอร์ล็อค โฮล์มส ที่โคแนน ดอยล์ยืมมาจาก ดร.โจเซฟก็คือสไตล์การสูบไปป์นั่นเอง จากการเริ่มต้นสร้างจินตนาการในแนวใหม่ หรือจินตนาการที่พิสูจน์ได้ โพก็กลายเป็นคนวางรากฐานรูปแบบการ นาเสนอวรรณกรรมนักสืบไว้ให้กับนักเขียนรุ่นต่อมา ถึงแม้แรงบันดาลใจแรกเริ่มของนักเขียนทั้งจากฝั่งอังกฤษและ อเมริกาจะมาจากคนๆเดียวกัน แต่ก็ยังมีความแตกต่างแสดงให้เห็นในแง่มุมที่ว่า วรรณกรรมนักสืบจากฝั่งอเมริกจะมี ความตื่นเต้นเร้าใจ และตัวเรื่องก็มีความเคลื่อนไหวให้ความรู้สึกได้มากกว่า ผิดกับงานฝั่งอังกฤษที่ตัวงานมักจะมีการ วางพล็อตเรื่องกระชับหนักแน่น และมีสไตล์การเดินเรื่องเนินนาบนุ่มนวลมากกว่า โดยทั่วไปแล้ววรรณกรรมสืบสวนต่างๆมันจะออกมาในรูปของนวนิยายหรือเรื่องสั้นที่พัวพันกับอาชญากรรม และ อาชญากรรมส่วนใหญ่ก็มักจะออกมาในรูปของการฆาตกรรม ฆาตกรมือลึกลับมักทางานได้อย่างแนบเนียน ชนิดที่ว่า
  • 4. 4 ตารวจระดับธรรดาคลาหาร่องรอยไม่พบ และแน่นอนว่าคนที่จะเปิดหน้ากากฆาตกรก็คือนักสืบนั่นเอง วิธีที่นักสืบเขา ใช้กันในการสาวคดีไปให้ถึงต้นตอ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Science of Deduction หมายถึงการสาวจากหลักฐานทั่วไป เท่าที่จะได้ในแต่ละคดีที่เกิด เพื่อนาไปสู่คาตอบว่าใครคตือตัวการในคดีนั้นๆ เจ้าวิธีการ Deduction ที่ว่านี้ ถ้าจะยกตัวอย่างให้เห็นภาพกันได้ง่ายขึ้นก็ลองดูกันตอนที่โฮล์มสเจอวัตสันครั้งแรก โฮล์มสบอกได้ทันทีว่าวัตสันเพิ่งกลับมาจากอัฟกานิสถาน โฮล์มสเรียกวิธีการของเขาว่าเป็นความคิดที่เข้าแถวเรียงว่า (the train of thought) และมาอย่างเร็วจนไปถึงข้อสรุปได้อย่างไม่รู้ตัว ในเรื่อง A Study in Scarlet โฮล์มสไต่ไป ตามความคิดว่า 1. ผู้ชายคนนี้เป็นหมอ แต่มีกลิ่นของความเป็นทหารอยู่ 2. ถ้าอย่างนั้นก็ต้องเป็นหมอที่รับราชการในกองทัพน่ะสิ 3. ผิวหน้าคล้า ซึ่งไม่ใช่สีผิวของเขาจริงๆ เพราะข้อมือของเขาขาว บอกว่าเพิ่งกลับมาจากเมืองร้อน 4. หน้าตาซีดเซียวของเขาบอกให้รู้ว่าเขาเพิ่งผ่านการใช้ชีวิตอย่างลาบากมาและเพิ่มหายป่วย 5. แขนข้างซ้ายของเขาเจ็บ 6. ท่าทางที่เขาถือไม้เท้าก็ดูแปลกๆ แล้วโฮล์มสก็มาถึงข้อสรุปว่าเมืองร้อนที่หมอจากกองทัพอังกฤษต้องไปผจญความยากเข็ญมา จะเป็นที่ไหนไปเสีย ไม่ได้ นอกจากอัฟกานิสถาน รูปแบบของวรรณกรรมนักสืบส่วนใหญ่เดินตามรอยนี้ แต่ก็ไม่ทั้งหมด มีบ้างบางเรื่องพลิกแพลงออกไป เช่นให้ตัว นักสืบหายตัวไปอย่างลึกลับเสียเอง หรือฆาตกรไม่ได้ทิ้งอะไรเอาไว้ให้พอได้เป็นกุญแจสาหรับนักสืบเลย ถ้าเรื่อง ออกมาแนวนี้ก็มักจะจัดเข้าเป็นเรื่องลึกลับที่ไม่ได้มีแต่การสืบสวนธรรมดาเสียแล้ว วรรณกรรมนักสืบชุด เชอร์ล็อค โฮล์มส กลายเป็นเรื่องชุดคลาสสิคฮิตตลอดกาล และเป็นแบบอย่างเฉพาะที่โดดเด่น เห็นได้ชัด เรื่องเฉพาะตัวที่ว่านั่นก็คือตัวเชอร์ล็อค โฮล์มสเองมีบุคลิกแบบที่เรียกได้ว่า "หลากหลายกลายเป็นหนึ่ง" เพราะโคแนน ดอยล์ ฉวยเอาแบบอย่างที่เป็นบุคลิกเด่นๆ ของตัวละครในงานของนักเขียนอื่นมารวมกันไว้ ว่ากันว่าใน ตอนแรกโคแนน ดอยล์ กระอักกระอ่วนใจที่จะยอมรับ แต่ในที่สุดก็เปิดออกมาให้เห็นกันไปเลยว่าเชอร์ล็อค โฮล์มสนั้น มีที่มาอย่างไร จากบุคลิกที่เห็นได้ชัดว่าเป็นคนเชื่อมั่นในตัวเองสูง เป็นคนเอาแต่ใจตัวเอง เป็นคนที่มีความรู้ไม่หลากหลายสาขานัก แต่รู้อะไรแล้วก็รู้จริงอย่างชนิดที่ว่าความรู้นั้นแทบจะฝังลงไปในทุกอณูของรายละเอียด เชอร์ล็อค โฮล์มส ก็ยังมีบุคลิก ขัดแย้งปรากฎออกมาให้เห็น เช่น เขาเป็นนักสืบที่เก่งกาจหาตัวจับยาก แต่เขาก็เคยหน้าแตกกับวัตสัน เมื่อครั้งหนึ่ง เขาตั้งสันนิษฐานเกี่ยวกับคดีหลงทางอย่างมั่นใจว่ามันจะต้องถูก โฮล์มสบอกวัตสันว่ามันต้องเป็นคดีแบ็คเมล์ที่ยิ่งใหญ่ เมื่อโฮล์มสสันนิษฐานว่าอดีตสามีที่หญิงสาวบอกกับสามีหนุ่มคนปัจจุบันว่าตายไปแล้วกลับมามีตัวตนขึ้นมาอีก เขา บอกว่าสามีคนปัจจุบันซึ่งรักหญิงสาวมากจะต้องรับไม่ได้กับเรื่องอย่างนี้ และต้องพบกับความทุกข์ใหญ่หลวง แต่โฮล์ มสก็ยังไม่ทันจะได้พิสูจน์อะไร ชายหนุ่มก็ลุยไปเจอเสียก่อนว่าหน้าลึกลับที่มักจะเห็นที่หน้าต่างไม่ใช่อดีตสามี แต่เป็น ลูกสาวน่าสงสารของหญิงสาว และด้วยความรักในตัวหญิงสาวเขาก็พร้อมจะรับเลี้ยงดูเด็กอย่างดี โดยไม่ได้มีความรู้สึก ว่ารับไม่ได้อะไรเลย นอกจากนั้น ความขัดแย้งยังปรากฏให้เห็นว่าโฮล์มสเป็นคนใช้ความคิดได้อย่างแหลมคม อะไรที่เขาเห็น คนอื่นมักจะ มองไม่เห็นหรือมองข้าม แต่ในตอนเริ่มต้นของเรื่อง The Sign of Four โฮล์มสก็ช็อกความรู้สึกของวัตสันและคนอ่าน เมื่อเขาเปิดเผยให้เห็นว่าเขาเป็นติดยาคนหนึ่ง (โฮล์มส ฉีดโคเคนเข้าเส้นหน้าตาเฉย) หรือในเรื่อง A Study in
  • 5. 5 Scarlet โฮล์มวิจารณ์เลอคอด (Lecoq ตัวละครในเรื่อง Monsieur Lecoq ของ Emile Gaboriau นักเขียนชาว ฝรั่งเศส อีกหนึ่งในแบบอย่างที่โคแนน ดอยล์ยืมบุคลิกมา) และดูแปงอย่างไม่แยแส แต่โฮล์มสก็มีคาร์แรคเตอร์อย่าง หนึ่งที่เหมือนลอคอดและดูแปงอย่างไม่ผิดเพี้ยน นั่นคือเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษเกี่ยวกับกลิ่นและชนิดของยาสูบ รวมถึง ความสามารถในการอ่านรอยนิ้วมือคนเหมือนเลอคอด ทั้งยังมีความละเอียดละออในการสังเกต กระทั่งสามารถบอก ได้ว่าคนนั้นหรือสิ่งนั้นมีความเป็นมายังไงเหมือนดูแปง การที่โคแนน ดอยล์ ยกบุคลิกด้านเด่นให้กับเชอร์ล็อค โฮล์มส เพียงคนเดีย ทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มสเด่นกว่าใครๆ ทั้งหมดในเรื่อง คนอื่นกลายเป็นตัวประกอบไปทันทีอย่างเห็นได้ชัด โฮล์มสได้รับการปรนเปรอจากผู้เขียนให้มีแต่ความ สะดวกสบาย แม้แต่ตอนที่ต้องไปสืบคดีในที่ทุรกันดารอย่างดาร์ทมัวร์ (Dartmoor) เขาก็ยังมีเด็กรับใช้ตามไปบริการ (ในเรื่อง The Hound of the Baskervilles) ไม่ใช่ลูกค้าที่เอาคดีมาให้โฮล์มสทา ไม่ใช่ฆาตกรที่ก่อเรื่องร้ายกาจขึ้นมา แต่เป็นความไม่รู้และการคาดการณ์ของวัต สันที่แหละ ทาให้โฮล์มสมีโอกาสแสดงฝีมือออกมาให้คนอ่านทึ่ง เรื่องนักสืบอย่างเชอร์ล็อค โฮล์มส จึงไม่สามารถให้ตัว นักสืบเป็นคนเล่าเรื่องได้ หรือจะใช้สายตาพระเจ้า (ommiscience) เล่าเหมือนเรื่องเล่าอื่นๆ ก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน เพราะนั่นจะทาให้เรื่องไม่มีความลับ แล้วก็ไม่มีความจาเป็นที่นักสืบจะต้องเฉลยอะไรต่อมิอะไรให้คนอ่านแปลกใจกันที หลัง เพราะคนอ่านก็จะรู้เรื่องที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับตัวละครอยู่แล้ว เมื่อหยิบหนังสือขึ้นมาอ่านครั้งหนึ่ง จึงไม่ใช่แค่ตัว ละครเท่านั้นที่มีมิติโลดแล่นไปตามบทบาท แต่คนอ่านก็หลุดเข้าไปอยู่ในมิตินั้นๆ ด้วย มิติของคนอ่านอย่างแรกคือเรา ใช้สายตาของพระเจ้าอ่าน หรือเราเป็นคนที่รอบรู้ว่าอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในขณะที่ตัวละครยังรู้ไม่เท่าเราด้วยซ้าไป มิติที่ สองคือเราเป็นแค่คนติดตามเหตุการณ์ หรือบางครั้งทาได้แค่เดาเหตุการณ์เท่านั้น ส่วนความจริงที่เกิดขึ้นตัวละครจะ เป็นคนเฉลยให้เรารู้ทีหลัง คนที่หยิบเชอร์ล็อค โฮล์มส ขึ้นมาอ่านและหลุดเข้าไปอยู่ในมิตินี้ เมื่อย้อนกลับไปดู ความสัมพันธ์ระหว่างวัตสันกับคนอ่าน ก็จะเห็นว่าร่วมอยู่ในมิติเดียวกัน คือต่างก็เป็นส่วนที่ทาให้ความเป็นนักสืบของ เชอร์ล็อค โฮล์มสสมบูรณ์เต็มความหมายนั่นเอง ถึงจุดนี้ ถ้าจะถามว่าอะไรทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มส มีชีวิตโลดแล่นเป็นอมตะครองใจคนอ่านไม่เสื่อมคลาย คาตอบคง จะหลีกไม่พ้นเหตุผลว่าวิธีการสืบสวนของเขานั่นเอง เพียงสังเกตรอยไหม้บนไปป์ โฮล์มสก็รู้ว่าคนสูบถนัดซ้ายหรือขวา รายละเอียดเล็กน้อยแบบนี้ต่างหากที่ทาให้เชอร์ล็อค โฮล์มส ยังคงอยู่เป็นเงาของโคแนน ดอยล์ตลอดไปในใจคนอ่าน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาประวัติของเชอร์ล็อก โฮมส์ และผู้แต่ง 2.เพื่อศึกษาผลงานหนังสือของเชอร์ล็อก โฮมส์ 3.เพื่อศึกษาคุณค่าผลงานของเชอร์ล็อก โฮมส์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การศึกษาดังกล่าวเป็นเพียงการศึกษาเกี่ยวกับเชอร์ล็อก โฮมส์ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
  • 6. 6 นวนิยายชื่อดังจากฝั่งยุโรป ที่ได้การยอมรับไปทั่วโลก โดยทั่วไปอาจไม่มีใครรู้จักแต่หากพูดถึง "ยอดนักสืบรุ่นจิ๋ว โคนัน" หลายคนคงจะนึกออกทันที เพราะ เชอร์ล็อก โฮลม์ เปรียบเสมือน ไอดอลของโคนันเลย ชื่อของ โคนัน เองก็ ได้มาจากผู้แต่ง ก็คือ เซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นั้นเอง อันแน่~~ เริ่มสนใจชายยอดนักสืบคนนี้แล้วรึยังละ วันนี้ทาง เราก็มีประวัติ และสิ่งที่น่าสนใจของชายผู้นี้ด้วย เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ( Sherlock Holmes) เป็นนวนิยายสืบสวนหรือ รหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาเธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสก็อต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮล์มส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้าน ทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลาย คดีต่าง ๆ โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่องเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็น การบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮล์มส์ คือ ดร. จอห์น เอช. วัตสัน หรือ หมอวัตสัน ในจานวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮล์มส์เป็น ผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี ค.ศ. 1887 และ Lippincott's Monthly Magazine ในปี ค.ศ. 1890 แต่หลังจากที่ชุดเรื่องสั้นลงพิมพ์เป็นคอลัมน์ ประจาใน นิตยสารสแตรนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1891 นิยายเรื่องนี้ก็โด่งดังเป็นพลุ เหตุการณ์ในนิยายอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1878 ถึง ค.ศ. 1903 และคดีสุดท้ายเกิดในปี ค.ศ. 1914 ความโด่งดังของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ทาให้ผู้อ่านจานวนมากเชื่อว่าเขามีตัวตนจริงและพากันเขียนจดหมายไปหา มีพิพิธภัณฑ์เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตั้งขึ้นในตาแหน่งที่น่าจะเป็นบ้านในนวนิยายของเขาในกรุงลอนดอน นับเป็นพิพิธภัณฑ์ แห่งแรกที่สร้างขึ้นสาหรับตัวละครในนิยาย เรื่องราวของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ มีการนาไปดัดแปลงและแต่งเพิ่มเติมขึ้น ใหม่อีกโดยนักเขียนคนอื่น ทั้งที่เขียนร่วมกับทายาทของโคนัน ดอยล์ และเขียนขึ้นใหม่เป็นเอกเทศ บทประพันธ์ของ โคนัน ดอยล์ และนวนิยายที่แต่งขึ้นใหม่ ได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และสื่ออื่นๆ อีก มากมายนับไม่ถ้วน กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่า เชอร์ล็อก โฮล์มส์เป็น "ตัวละครที่มีผู้แสดงมากที่สุด" ภาพลักษณ์ของโฮล์มส์กลายเป็นสัญลักษณ์ของนักสืบ และส่งอิทธิพลต่อวรรณกรรมและการแสดงในประเภทรหัสคดี จานวนมาก นิสัยและความสามารถ โฮล์มส์มีอารมณ์แปลก ๆ บางครั้งก็เศร้าซึม พูดน้อย บางครั้งก็ร่าเริง หมอวัตสัน เพื่อนคู่หูของเชอร์ล็อก โฮล์มส์ ได้ บรรยายถึงลักษณะต่าง ๆ ของโฮล์มส์เอาไว้ในบันทึกคดีคราวต่าง ๆ กัน เช่น ในเวลาที่กาลังครุ่นคิดเรื่องคดี โฮล์มส์จะ ไม่ทานข้าวเช้า โฮล์มส์ชอบทาการทดลองเคมี แล้วทิ้งข้าวของในห้องกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ โฮล์มส์สูบไปป์จัด มาก มักกลั่นแกล้งตารวจโดยการให้ข้อมูลปลอมหรือปกปิดหลักฐานบางอย่าง แต่ก็มีความเป็นสุภาพบุรุษและให้ เกียรติแก่สตรีอย่างสูง แต่นิสัยที่หมอวัตสันเห็นว่าเลวร้ายและยอมรับไม่ได้เลย คือ การที่โฮล์มส์ชอบเสพโคเคนกับ มอร์ฟีน ซึ่งวัตสันเห็นว่าเป็นความชั่วประการเดียวของโฮล์มส์ โฮล์มส์ยังเป็นนักแสดงที่เก่งกาจ ดังปรากฏในตอน ซ้อนกล (the Dying Detective) และ จดหมายนัดพบ (the Reigate Squires) และตอนอื่น ๆ อีกหลายตอน เพื่อหันเหความสนใจของผู้ต้องสงสัย มิให้ตระหนักถึงความสาคัญ ของหลักฐานบางอย่าง ในตอน สัญญานาวี (the Naval Treaty) โฮล์มส์ได้แสดงให้เห็นว่าเขาชื่นชมนักอาชญวิทยา ชาวฝรั่งเศส อัลฟองเซ เบอทิลลอง ผู้คิดค้นทฤษฎีการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุเพื่อช่วยระบุตัวตนของอาชญา
  • 7. 7 กร นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า โฮล์มส์เป็นนักอ่าน นักศึกษา มีความรู้ด้านอาชญวิทยาอย่าง กว้างขวาง และให้ความนิยมนับถือบรรดานักสืบผู้ชานาญเป็นอย่างมาก แม้โฮล์มส์จะชอบกลั่นแกล้งตารวจ แต่เขาก็เป็นมิตรที่ดีของสก๊อตแลนด์ยาร์ดโดยเฉพาะสารวัตรเลสเตรด และมักยก ความดีความชอบในคดีให้แก่ฝ่ายตารวจอยู่เสมอ ในตอน สัญญานาวี โฮล์มส์เคยบอกว่า ในบรรดาคดีที่เขาสะสาง 53 คดี เขายกความสาเร็จให้เพื่อนตารวจไปเสีย 49 คดี คงมีแต่เพียงหมอวัตสันที่บรรยายถึงความสามารถของเขาผ่าน ทางบันทึกเท่านั้น โฮล์มส์มีความสามารถในการวิเคราะห์หลักฐานทางกายภาพอย่างถูกต้องแม่นยา กระบวนการตรวจสอบหลักฐานของ เขามีหลายกรรมวิธี เช่น การเก็บรอยรองเท้า รอยเท้าสัตว์ หรือรอยล้อรถจักรยาน เพื่อวิเคราะห์การกระทาใด ๆ ที่ อาจเกิดขึ้นในระหว่างการเกิดอาชญากรรม หรือการวิเคราะห์ประเภทของยาสูบเพื่อระบุตัวตนของอาชญากร โฮล์มส์ เคยตรวจสอบร่องรอยผงดินปืน และเปรียบเทียบกระสุนที่พบในที่เกิดเหตุ ทาให้แยกแยะได้ว่าฆาตกรมีสอง คน นอกจากนี้ โฮล์มส์ยังเป็นคนแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการตรวจสอบลายนิ้วมืออีกด้วย โฮล์มส์มีศัตรูตัวฉกาจ ชื่อ ศาสตราจารย์เจมส์ มอริอาร์ตี้ ผู้มีมันสมองปราดเปรื่องในด้านอาชญากรรม อีกทั้งยังเป็น ตัวการเบื้องหลังในบางคดีที่เกิดขึ้นอีกด้วย คาพูดของโฮล์มส์ที่ติดปากกันดี คือ “ถ้าเราตัดสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ทั้งหมด ออกไป สิ่งที่เหลืออยู่ ไม่ว่ามันจะดูเหลือเชื่อเพียงใด แต่มันก็เป็นความจริง” ถิ่นที่อยู่อาศัย ตามท้องเรื่อง โฮล์มส์และหมอวัตสันรู้จักกันครั้งแรก เนื่องจากต่างต้องการหาผู้ร่วมเช่าห้องพักอยู่ด้วยกันในกรุง ลอนดอนเพื่อลดค่าใช้จ่าย ห้องพักที่ทั้งสองเช่าเป็นบ้านของมิสซิสฮัดสัน ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 221 บี ถนนเบเกอร์ โดย พวกเขาเช่าพื้นที่ชั้นสองของบ้าน ส่วนมิสซิสฮัดสันอาศัยอยู่ชั้นล่าง และทาหน้าที่จัดเตรียมอาหารเช้าให้พวกเขาด้วย หมอวัตสันเคยย้ายออกจากบ้านเช่านี้ไปเมื่อคราวแต่งงาน ทว่าหลังจากภรรยาเสียชีวิต หมอวัตสันก็ย้ายกลับมาอยู่กับ เชอร์ล็อก โฮล์มส์อีก วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - ข้อมูลเพื่อนาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - แผ่นซีดี - หล่องใส่แผ่นซีดี งบประมาณ - ค่าแผ่นซีดีและกล่องใส่แผ่นซีดีราคารวมกัน 20 บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พันกรณ์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พันกรณ์ พงศภัค 3 จัดทาโครงร่างงาน พงศภัค 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน พงศภัค พันกรณ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ พันกรณ์ 6 การทาเอกสารรายงาน พงศภัค 7 ประเมินผลงาน พันกรณ์ 8 นาเสนอโครงงาน พงศภัค พันกรณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) - ได้ทราบที่มาและประวัติของเชอร์ล็อกโฮมส์ - ได้ทราบวข้อมูลหนังสือของเชอร์ล็อกโฮมส์ - สาทารถเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่เริ่มจะเขียนหนังสือ สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย - ห้องคอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง ttps://sites.google.com/site/heatheartsiteforyou/home/tanan-yxd-naksub