SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAi)
เรื่อง เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์
อ.จุฑารัตน์ ศรีประเสริฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ถ่านหิน
หินน้ามัน
ปิโตรเลียม
พอลิอเมอร์
ภาวะมลพิษ
ผู้จัดทา
ครูที่ปรึกษา
ผู้จัดทา ชั้น ม.5/4 เลขที่ 29,30
นางสาวพรรณวนา บุตรวงษ์ นางสาวพรลดา ชัยเจริญ
ครูที่ปรึกษาโครงการ
อ.จุฑารัตน์ ศรีประเสริฐ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
หมวดสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
Back Next
ถ่านหิน
Back Next
ถ่านหินเป็นหินตะกอน เกิดจากซากพืช มีลักษณะแข็งแต่เปราะ สีน้าตาลถึงดา มีทั้งผิวดาและผิวด้าน
ธาตุองค์ประกอบหลักคือคาร์บอน อาจพบธาตุอื่นๆ เช่น ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และกามะถัน อาจพบ ปรอท
สารหนู ซีลีเนียม แคดเมียม นิกเกิล ทองแดงซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเมื่อใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง
การเกิดถ่านหิน การใช้ประโยชน์ถ่านหินลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
ผลของถ่านหินที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ถ่านหิน
คลิกเข้าหัวข้อเพื่อดูรายละเอียด
การเกิดถ่านหิน
ถ่านหินเกิดจากการทับทม และเน่าเปื่อยของซากพืชต่างๆ ใต้แหล่งน้าและโคลนตม
ภายใต้ความร้อนและความดันสูง ในภาวะที่ขาดหรือมีออกซิเจนจากัด
ปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของถ่านหิน
1. ชนิดของพืช
2. การเน่าเปื่อยที่เกิดขึ้นก่อนการถูกฝังกลบ
3. ปริมาณสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในขั้นตอนการผลิต
4. อุณหภูมิและความดันขณะที่มีการเปลื่ยนแปลง
Back Next
ถ่านหิน
ลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
• ชนิด : พีต
• ระเวลาในการเกิด : เป็นถ่านหินในขั้นเริ่มต้น
• ลักษณะ : ยังเห็นเป็นซากพืชสลายตัวยังไม่หมด
• สีและการติดไฟ : น้าตาลจนถึงดามีกามะถันต่า
• องค์ประกอบ : O 35-40% , ความชื้น 75-80% , C 50-60%
• ประโยชน์ : เชื้อเพลิงในบ้าน ผลิตไฟฟ้า
Back Next
ถ่านหิน
ลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
• ชนิด : ลิกไนต์
• ระเวลาในการเกิด : นานกว่าพีต
• ลักษณะ : มีซากพืชเหลือเล็กน้อย เนื้อเหนียวและผิวด้าน
• สีและการติดไฟ : สีน้าตาล มีควันและเถ้าถ่านมาก
• องค์ประกอบ : O 20-30% , ความชื้น 50-70% , C 60-75%
• ประโยชน์ : ผลิตไฟฟ้า
Back Next
ถ่านหิน
ลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
• ชนิด : ซับบิทูมินัส
• ระเวลาในการเกิด : นานกว่าลิกไนต์
• ลักษณะ : มีทั้งผิวด้านและเป็นมัน มีทั้งเนื้ออ่อนและแข็ง
• สีและการติดไฟ : สีน้าตาลจนถึงสีดา
• องค์ประกอบ : O 15-20% , ความชื้น 25-30% , C 75-80%
• ประโยชน์ : ผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรม
Back Next
ถ่านหิน
ลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
• ชนิด : บิทูนิมัส
• ระเวลาในการเกิด : นานกว่าซับบิทูนัส
• ลักษณะ : เนื้อแน่น แข็ง
• สีและการติดไฟ : สีน้าตาลจนถึงดา
• องค์ประกอบ : O 10-15% , ความชื้น 5-10% , C 80-90%
• ประโยชน์ : ถลุงโลหะ เปลื่ยนเป็นเชื้อเพลิงเคมีอื่นๆ
Back Next
ถ่านหิน
• ชนิด : แอนทราไซต์
• ระเวลาในการเกิด : นานที่สุด
• ลักษณะ : เนื้อแน่นแข็ง และเป็นมัน
• สีและการติดไฟ : สีดา ติดไฟยาก ควันน้อย ความร้อนสูง
• องค์ประกอบ : O 2-3% , ความชื้น 2-5% , C 90-98%
• ประโยชน์ : เชื้อเพลิง
ลักษณะและการเกิดถ่านหินชนิดต่างๆ
Back Next
ถ่านหิน
การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน
• ผลิตกระแสไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 39.1 %
• การถลุงโลหะ
• ผลิตปูนซีเมนต์
• อุตสาหกรรมที่ใช้เครื่องจักรไอน้า
• ทาคาร์บอนไฟเบอร์
• ทาอุปกรณ์กีฬา เช่น ด้ามไม้กอล์ฟ ไม้เทนนิส
• ใช้ทาถ่านกัมมันต์
Back Next
ถ่านหิน
Back Next
ถ่านหิน
หินน้ามัน
หินน้ามันเป็นหินตะกอนเนื้อละเอียด เรียงตัวเป็นชั้นบางๆ มีสารประกอบอินทรีย์ที่สาคัญ คือ เคอโร
เจนแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินตะกอน หินน้ามันทั่วไปมีความถ่วงจาเพาะ 1.6-2.5 ถ้าคุณภาพดีมีน้าตาลไหม้จนถึง
ดา แข็งและเหนียว
หินน้ามันนามาสกัดด้วยความร้อนที่เพียงพอ เคอโรเจนจะสลายตัวให้น้ามันหิน ลักษณะคล้าย
น้ามันดิบ การเผาหินน้ามันทาให้เกิดเถ้ามากกว่าร้อยละ 33 โดยมวล มากกว่าการเผาถ่านหิน
Back Next
การเกิดหินน้ามัน การใช้ประโยชน์จากหินน้ามัน
หินน้ามัน
การเกิดหินน้ามัน
แหล่งหินน้ามันมีช่วงอายุตั้งแต่ 3-600 ล้านปี จากการทับทมซากพืชพวกสาหร่าย และซากสัตว์พวก
แมลง ปลา และสัตว์เล็ๆ ภายใต้แหล่งน้าและภาวะที่เหมาะสม คือมีปริมาณออกซิเจนจากัด มีอุณหภูมิสูง และถูก
กดทับจากการทรุดตัวของเปลือกโลก เป็นเวลานับล้านปี จนสารอิทรีย์ในซากพืชและสัตว์กลายเป็น
สารประกอบเคอโรเจน ผสมคลุกเคล้ากับตะกอนดิน ทราย ถูกอัดแน่นเป็นหินน้ามัน
Back Next หินน้ามัน
การเกิดหินน้ามัน (ส่วนประกอบของหินน้ามัน)
1. สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่แร่ธาตุต่างๆ แบ่งเป็นกลุ่มๆ คือ
1. กลุ่มแร่ซิลิเกต ได้แก่ ควอตซ์ เฟลสปาร์ เคลย์
2. กลุ่มแร่คาร์บอเนต ได้แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์
3. แร่ซัลไฟต์อื่นๆ และ ฟอสเฟต
2. สารประกอบอินทรีย์ ประกอบด้วย
1. บิทูเมน ซึ่งละลายในเบนซีน เฮกเซน และตัวทาละลายอินทรีย์จึงแยกออกจากหินน้ามันง่าย
2. เคอโรเจน ไม่ละลายในตัวทาละลายดินทรีย์
Back Next
หินน้ามัน
การใช้ประโยชน์จากหินน้ามัน
หินน้ามัน 1000 กิโลกรัม เมื่อนาหินน้ามันไปผ่านกระบวนการสามารถผลิตน้ามันหินได้ประมาณ 100
ลิตร ซึ่งประกอบด้วยน้ามันก๊าด น้ามันตะเกียง พาราฟิน น้ามันเชื้อเพลง น้ามันหล่อลื่น ไข แนฟทาลีน และ
สารที่เป็นผลพลอยได้เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต ยูเรเนียม และกามะถัน น้ามันและผลพลอยได้ต่างๆ นาไปผลิต
เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ใยคาร์บอน คาร์บอนดูดซับ คาร์บอนแบล็ก อิฐ และปุ๋ย
Back Next
หินน้ามัน
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมมีความหมายว่า น้ามันที่ได้จากหิน เป็นสารผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและ
สารอินทรีย์หลายชนิด โดย สถานะของเหลว คือน้ามันดิบ และสถานะแก๊สคือแก๊สธรรมชาติ ในส่วนของแก๊ส
ธรรมชาติยังรวมถึงแก๊สธรรมชาติเหลวซึ่งเป็นไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนอะตอมของคาร์บอนมากกว่าแก๊ส
ธรรมชาติ เมื่ออยู่ใต้ผิวโลกที่มีความลึกความดัน และอุณหภูมิสูงมากมีสถานะแก๊สแต่เมื่อขึ้นมาที่ระดับผิวดิน
อุณหภูมิต่ากว่า จึงกลายเป็นของเหลว
Back Next
ปิโตรเลียม
การเกิดปิโตรเลียม การสารวจปิโตรเลียม การกลั่นน้ามันดิบ
การแยกแก๊สธรรมชาติ ปิโตรเคมีภัณฑ์
การเกิดปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของพืชและสัตว์ทับถมคลุกเคล้ากับตะกอนและโคลนตม
เป็นเวลานับล้านปี ถูกอัดด้วยความดันและความร้อนสูงในสภาพที่มีออกซิเจนจากัด จึงสลายตัวเป็นน้ามันดิบ
และแก๊สธรรมชาติแทรกอยู่ระหว่างชั้นหินที่มีรูพรุน ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันมีปริมาณของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนรวมทั้งปริมาณสารประกอบของกามะถัน ไนโตรเจน และ ออกซิเจนต่างกัน
โดยทั่วไปภายในแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมมีทั้ง น้า น้ามันดิบ และแก๊สธรรมชาติ โดย น้าอยู่ล่างสุด
และแก๊สธรรมชาติอยู่ชั้นบนสุด
Back Next ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
ปัจจุบันการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียมบริเวณพื้นดินได้ทาจนทั่วแล้ว จึงมีการขยายการสารวจหา
ปิโตรเลียมในบริเวณทะเลหรือมหาสมุทรโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย โดยการเจาะสารวจถ้าหลุมใดมีความดัน
ภายในสูง ปิโตรเลียมจะถูกดันให้ไหลขึ้นมาเอง แต่ถ้าหลุมใดมีความดันภายในต่าจะต้องเพิ่มแรงดันจาก
ภายนอกโดยอัดแก๊สบางชนิด เช่น แก๊สธรรมชาติ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หรือไอน้าลงไป
* แหล่งปิโตรเลียมที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ บริเวณอ่าวเปอร์เซีย
Back Next
ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การสารวจทาง
ธรณีวิทยาด้วยการทาแผน
ที่จากภาพถ่ายทางอากาศ
Back Next
ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
สารวจธรณีวิทยา
พื้นผิวโดยการศึกษา
จากตัวอย่างหิน
วิเคราะห์ซากพืชซาก
สัตว์ เพื่อคาดคะเน
โอกาสพบการกักเก็บ
ปิโตรเลียมมากหรือน้อย
Back Next
ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การสารวจทางฟิสิกส์ ด้วย
การวัดค่าความเข้ม
สนามแม่เหล็กโลก เพื่อทราบ
ขอบเขตความกว้าง และลึกของ
แอ่งธรณี
Back Next
ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
การวัดคลื่นไหวสะเมือน
เพื่อบอกตาแหน่ง รูปร่าง
ลักษณะโครงสร้างชั้นหิน
ใต้ดิน
Back Next
ปิโตรเลียม
การสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม
เจาะสารวจเพื่อบอกความ
ยากง่ายของการขุดเจาะ และ
ทาให้ทราบว่าสิ่งที่กักเก็บเป็น
แก๊สธรรมชาติหรือน้ามันดิบ
มีปริมาณสารองมากเพียงใด
เพื่อนามาใช้ตัดสินความ
เป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ
Back Next
ปิโตรเลียม
การกลั่นน้ามันดิบ
น้ามันดิบมีส่วนประกอบเป็นไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด แยกออกจากกนได้โดยการกลั่นลาดับส่วน
โดยการกลั่นลาดับส่วนคือการให้ความร้อนจนสารทั้งหมดเกือบระเหยขึ้นมาพร้อมกัน แล้วเก็บของเหลวที่ได้
จากการควบแน่นเป็นส่วนๆตามช่วงของอุณหภูมิของจุดเดือดที่ต่างกันโดยสารที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นอยู่
ตอนล่างของหอกลั่น ส่วนสารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยขึ้นไปควบแน่นที่บริเวณส่วนบนของหอกลั่น
Back Next
ปิโตรเลียม
ตารางผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการกลั่นน้ามันดิบ
รีฟอร์มมิ่ง
เลขออกเทน เลขซีเทน
แอลคิเลชัน
กระบวนการแตกสลายโมเลกุล
โอลิโกเมอไรเซชัน
การกลั่นน้ามันดิบ
ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ได้จากการ
กลั่นน้ามันดิบ
จุดเดือด (°𝒄) สถานะที่อุณหภูมิ 25°C จานวนคาร์บอนอะตอมใน
โมเลกุล
การใช้ประโยชน์
แก๊สปิโตรเลียม ต่ากว่า 30 แก๊ส 1-4 ทาสารเคมี วัสดุสังเคราะห์ และ
เชื้อเพลิง
แนฟทาเบา 0-65 ของเหลว 5-6 น้ามันเบนซิน
แนฟทาหนัก 65-170 ของเหลว 6-10 ทาสารเคมี น้ามันเบนซิน
น้ามันก๊าด 170-250 ของเหลว 10-14 เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ไอพ่นและ
ตะเกียง
น้ามันดีเซล 250-340 ของเหลว 14-19 เชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล
น้ามันหล่อลื่น 350-500 ของเหลว 19-35 น้ามันหล่อลื่น
ไข 340-500 ของแข็ง 19-35 ทาเทียนไข เครื่องสาอาง ยาขัด
มัน วัตถุดิบในการผลิต
ผงซักฟอก
น้ามันเตา สูงกว่า 500 ของเหลว มากกว่า 35 เชื้อเพลิงเครื่องจักร
บิทูเมน สูงกว่า 500 ของแข็ง มากกว่า 35 ทาวัตถุกันซึม ยางมะตอย ราด
ถนน
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
• เลขออกเทน ( Octane Number) คือเลขที่บอกถึงคุณภาพของน้ามันเบนซีน
• น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับไอโซออกเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามีเลขออก
เทนเป็น 100
• น้ามันเบนซิน ที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเฮปเทนหมด เรียกน้ามันเบนซินนั้นว่ามีเลขออกเทน
เป็น 0
• น้ามันเบนซิน ที่มีเลขออกเทน 70 คือ น้ามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงที่มีไอโซ
ออกเทนร้อยละ 70 และเฮปเทนร้อยละ 30 โดยมวล
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
เลขออกเทน เลขซีเทน
เลขออกเทน เลขซีเทน
• น้ามันเบนซินในปัจจุบันมักจะพบว่ามีเลขออกเทนต่า เพื่อปรับปรุงน้ามันให้มีเลขออกเทนสูงขึ้นด้วยการ
เติมเตตระเอธิลเลด (CH3CH2)4 Pb ย่อว่า TEL ลงในน้ามันเบนซิน ทาให้น้ามันมีเลขออกเทนสูงขึ้น แต่
ก็ก่อให้เกิดสาร Pb เป็นสารมลพิษ
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
• เลขซีเทน (Cetane number) คือ ค่าตัวเลขที่แสดงเป็นร้อยละโดยมวลของซีเทน ในของผสมระหว่างซีเทน
(C16H34) และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C11H10) ซึ่งเกิดการเผาไหม้หมด
• เลขซีเทนเป็นตัวเลขที่ใช้บอกคุณภาพของน้ามันดีเซล
• น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 100 คือ น้ามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับซีเทน 100% โดยมวล
• น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 0 คือ น้ามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
100% โดยมวล
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
เลขออกเทน เลขซีเทน
• น้ามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 คือ น้ามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหม้เช่นเดียวกับซีเทนร้อยละ 80 โดยมวล
ในการผสมระหว่างซีเทน และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
เลขออกเทน เลขซีเทน
กระบวนการแตกสลายโมเลกุล
กระบวนการแตกสลายโมเลกุลเป็นกระบวนการทาให้สารประกอบไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่แตก
เป็นโมเลกุลเล็กๆ โดยใช้ความร้อนสูงประมาณ 500°𝐶 และความดันต่าโดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
รีฟอร์มมิ่ง
รีฟอร์มมิ่ง เป็นการเปลื่ยนไฮโดรคาร์บอนโซ่ตรงเป็นไอโซเมอร์แบบโซ่กิ่ง หรือการเปลื่ยน
ไฮโดรคาร์บอนแบบวงให้เป็นสารประกอบอะโรมาติกโดยใช้ความร้อนและตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
แอลคิเลชัน
แอลคิเลชัน เป็นการรวมโมเลกุลของแอลเคนและแอลคีน โดยมีกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเกิดเป็น
โมเลกุลแอลเคนที่มีโซ่กิ่ง เช่น
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
โอลิโกเมอไรเซชัน
โอลิโกเมอไรเซชัน เป็นการรวมไฮโดรตาร์บอนไม่อิ่มตัวโมเลกุลเล็กเข้าด้วยกัน โดยฝช้ความร้อนหรือ
ตัวเร่งปฏิกิริยาเกิดเป็นไฮโดรคาร์บอนที่มีจานวนคาร์บอนเพิ่มเป็น 2, 3 หรือ 4 เท่าของไฮโดรคาร์บอนที่ใช้
เป็นสารตั้งต้น เช่น
Back Next
ปิโตรเลียมการกลั่นน้ามันดิบ
แก๊สธรรมชาติ
แก๊สธรรมชาติเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอีกอย่างหนึ่ง มีการสารวจพบในอ่าวไทย และ
อาเภอลาน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันมีการนาแก๊สธรรมชาติมาใช้ทั้งเป็นเชื้อเพลิงและเป็นวัตถุดิบพื้นฐาน
ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
Back Next
ปิโตรเลียม
องค์ประกอบในแก๊สธรรมชาติ การแยกแก๊สธรรมชาติ
ตารางองค์ประกอบในแก๊สธรรมชาติ
สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร
มีเทน CH4 60-80
อีเทน C2 H6 4-10
โพรเพน C3 H8 3-5
บิวเทน C4 H10 1-3
เพนเทน C5 H12 1
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 15-25
Back Next
ปิโตรเลียม
การแยกแก๊สธรรมชาติ
แหล่งแก๊สธรรมชาติที่อยู่ภายใต้ความดันสูง
เมื่อขุดเจาะมาใช้จะมีทั้งของเหลวและแก๊ส ส่วนที่เป็น
ของเหลวเรียกว่าแก๊ส ส่วนที่เป็นแก๊สเรียกว่าแก๊ส
ธรรมชาติ
เมทิลเมอร์แคปเทน (CH3SH) เอทิลเมอร์
แคปเทน (C2H5SH ) หรือเทอร์เชียรีบิวทิลเมอร์
แคปเทน เป็นสารมีกลิ่นเหม็น ใช้เติมในแก๊สธรรมชาติ
และแก๊สปิโตรเลียม ซึ่งเป็นแก๊สไม่มีกลิ่น เพื่อช่วย
เตือนภัยเมื่อมีการรั่วของแก๊ส
Back Next
ปิโตรเลียม
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
แยกส่วนที่เป็นแก๊ส
เหลวออกจากส่วนที่
เป็นแก๊สธรรมชาติ
โดยผ่านหน่อยแยก
ของเหลว
Back Next
ปิโตรเลียม
ผ่านแก๊สไปยังหน่วย
กาจัดปรอท เนื่องจากไอ
ปรอทมีผลต่อการสึก
กร่อนของระบบท่อแก๊ส
และเครื่องมือ
Back Next
ปิโตรเลียม
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
หน่วยกาจัดแก๊ส H2S
และ 𝐶𝑂2 เพราะH2S
เป็นสารที่มีพิษและกัด
กร่อน CO2ทาให้ท่ออุด
ตัน เพราะระบบแยกแก๊สมี
อุณหภูมิต่ามาก
Back Next
ปิโตรเลียม
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
ผ่านหน่วยกาจัด
ความชื้น โดยการกรอง
ผ่านสารที่มีรูพรุนสูงและ
สามารถดูดซับน้าออก
จากแก๊สได้ เช่น ซิลิกา
Back Next
ปิโตรเลียม
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
นาแก๊สไฮโดรคาร์บอน
ไปเพิ่มความดันและลด
อุณหภูมิให้แก๊สเปลื่ยน
สถานะเป็นขอเหลว
Back Next
ปิโตรเลียม
ขั้นตอนการแยกแก๊สธรรมชาติ
ปิโตรเคมีภัณฑ์
ปัจจุบันได้มีการนาสารไฮโดรคาร์บอนบางชนิดที่ได้มาจากการกลั่นน้ามันดิบ และจากการแยกแก๊ส
ธรรมชาติมาใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพื่อผลิตเคมีภัณฑ์ต่างๆ แบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอนดังนี้
• อุตสาหกรรมขั้นต้น เป็นการนาสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากแก๊สธรรมชาติหรือน้ามันดิบ เช่น เม
ทานอล เอทิลีน และเบนซีน มาผลิตเป็นสารโมเลกุลขนาดเล็ก เรียกว่า มอนอเมอร์ (monomer) เป็นวัตถุดิบ
ตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต่อไป
• อุตสาหกรรมขั้นต่อเนื่อง เป็นการนามอนอเมอร์ที่ได้จากขั้นแรกมาผลิตพอลิเมอร์
Back Next
ปิโตรเลียม
Back Next
ปิโตรเลียม
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์คือผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่นามาใช้ในชีวิตประจาวันมากมาย เช่น พลาสติก ยาง เส้นใย กาว
และสี สารเหล่านี้เป็นโมเลกุลใหญ่เรียกว่าพอลิเมอร์ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยซ้าๆจานวนมากเรียกว่า มอนอเมอร์
Back Next
โครงสร้างของพอลิเมอร์ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ประเภทของพอลิเมอร์
พลาสติก เส้นใยยาง
พอลิเมอร์
ประเภทของพอลิเมอร์
Back Next
• พิจารณาตามแหล่งกาเนิด
• 1) พอลิเมอร์ธรรมชาติ (Natural Polymers) เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถพบได้
ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด โดยพอลิเมอร์ธรรมชาติเหล่านี้เป็นสิ่งที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้นโดยอาศัยกระบวนการทาง
เคมีต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ และมีการเก็บสะสมไว้ใช้ประโยชน์ตามส่วนต่าง ๆ ดังนั้นพอลิเม
อร์ธรรมชาติจึงมีความแตกต่างกันไปตามชนิดของสิ่งมีชีวิตและตาแหน่งที่พบในสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างพอลิ
เมอร์ธรรมชาติ ได้แก่ เส้นใยพืช เซลลูโลส และไคติน เป็นต้น
พอลิเมอร์
• 2) พอลิเมอร์สังเคราะห์ (Synthetic Polymers) เกิดจากการสังเคราะห์ขึ้นโดยมนุษย์ ด้วย
วิธีการนาสารมอนอเมอร์จานวนมากมาทาปฏิกิริยาเคมีภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ทาให้มอนอเมอร์เหล่านั้น
เกิดพันธะโคเวเลนต์ต่อกันกลายเป็นโมเลกุลพอลิเมอร์ โดยสารมอนอเมอร์ที่มักใช้เป็นสารตั้งต้นใน
กระบวนการสังเคราะห์พอลิเมอร์ คือ สารไฮโดรคาร์บอนที่เป็นผลพลอยได้จากการกลั่นน้ามันดิบและการ
แยกแก๊สธรรมชาติ เช่น เอททีลีน สไตรีน โพรพิลีน ไวนิลคลอไรด์ เป็นต้น
พอลิเมอร์
Back Next
ประเภทของพอลิเมอร์
• พิจารณาตามมอนอเมอร์ที่เป็นองค์ประกอบ
• 1) โฮโมพอลิเมอร์ (Homopolymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ชนิดเดียวกันทั้งหมด เช่น
แป้ง พอลิเมอร์ และพีวีซี เป็นต้น
• 2) โคพอลิเมอร์ (Copolymer) คือ พอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์มากกว่า 1 ชนิดขึ้นไป เช่น
โปรตีน ซึ่งเกิดจากกรดอะมิโนที่มีลักษณะต่าง ๆ มาเชื่อมต่อกันและพอลิเอสเทอร์ เป็นต้น
พอลิเมอร์
Back Next
ประเภทของพอลิเมอร์
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์คือกระบวนการที่นามอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันเป็นพอลิเมอร์เรียก
กระบวนการนี้ว่ากระบวนการพอลิเมอร์ไรเซชัน
มี 2 แบบดังนี้
1. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม (Addition polymerization reaction) คือปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซ
ชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ของสารอินทรีย์ชนิดเดียวกันที่มี C กับ C จับกันด้วยพันธะคู่มารวมตัวกันเกิดสาร
พอลิเมอร์เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ดังภาพ
พอลิเมอร์
Back Next
2. ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation polymerization reaction) คือปฏิกิริยา
พอลิเมอร์ไรเซชันที่เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมุ่ ทาปฏิกิริยากันเป็นพอลิเมอร์และสาร
โมเลกุลเล็ก เช่น น้า ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ เมทานอล เกิดขึ้นด้วย ดังภาพ
พอลิเมอร์
Back Next
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์
โครงสร้างของพอลิเมอร์
• พอลิเมอร์แบบเส้น (Chain length polymer)
• ป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ สร้างพันธะโคเวเลนต์ยึดกันเป็นสายโซ่ยาว ประกอบด้วยมอนอ
เมอร์เฉลี่ย 50 หน่วยถึง 500 หน่วย เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงและพอลิ
แอทิลีนเทเรฟทาเลต พอลิเมอร์แบบเส้นจะพบโซ่พอลิเมอร์เรียงชิดกันมากว่าโครงสร้างแบบอื่นๆ จึงมี
ความหนาแน่น และจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่นเหนียวกว่าโครงสร้างอื่นๆ ตัวอย่างPVC
(พอลิไวนิลคลอไรด์) PS (พอลิสไตรีน) PE ( พอลิเอทิลีน)
พอลิเมอร์
Back Next
• พอลิเมอร์แบบกิ่ง (Branched polymer)
• ป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ยึดกันแตกกิ่งก้านสาขา มีทั้งโซ่สั้นและโซ่ยาว กิ่งที่แตกออกจากพอ
ลิเมอร์ของโซ่หลักทาให้ไม่ สามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ให้ชิดกันได้มาก พอลิเมอร์แบบกิ่งจึงมีความ
หนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ายืดหยุ่นได้ ความเหนียวต่า โครงสร้างเปลี่ยนรูป ได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิ
เพิ่มขึ้น กล่าวคือ เมื่อร้อนจะอ่อนตัวและเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว ตัวอย่างPE (พอลิเอทิลีน) ชนิดความ
หนาแน่นต่า
พอลิเมอร์
Back Next
โครงสร้างของพอลิเมอร์
• พอลิเมอร์แบบร่างแห (Cross-linking polymer)
• เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ต่อเชื่อมกันเป็นร่างแห พอลิเมอร์ชนิดนี้มีความแข็งแกร่งและเปราะ
หักง่าย ตัวอย่าง เบกาไลต์ เมลามีนใช้ทาถ้วยชาม
พอลิเมอร์
Back Next
โครงสร้างของพอลิเมอร์
พลาสติก
พลาสติก (Plastic) คือ สารที่สามารถทาให้เป็นรูปต่าง ๆ ได้ด้วยความร้อน พลาสติกเป็นพอลิเมอร์
ขนาดใหญ่ มวลโมเลกุลมาก
สมบัติทั่วไปของพลาสติก
มีความเสถียรมากในธรรมชาติ สลายตัวยาก มีมวลน้อย และเบา
เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าที่ดี
ส่วนมากอ่อนตัวและหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อน จึงเปลี่ยนเป็นรูปต่างๆ ได้ตามประสงค์
พอลิเมอร์
Back Next
ประเภทของพลาสติก
Back Next
• 1. เทอร์มอพลาสติก เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูปได้ พลาสติก
ประเภทนี้โครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์น้อยมาก จึงสามารถ
หลอมเหลว หรือเมื่อผ่านการอัดแรงมากจะไม่ทาลายโครงสร้างเดิม ตัวอย่าง พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีนพอ
ลิสไตรีน
พอลิเมอร์
Back Next
• 2. พลาสติกเทอร์มอเซต จะคงรูปหลังการผ่านความร้อนหรือแรงดันเพียงครั้งเดียว เมื่อเย็นลงจะแข็งมาก
ทนความร้อนและความดัน ไม่อ่อนตัวและเปลี่ยนรูปร่างไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิสูงก็จะแตกและไหม้เป็นขี้เถ้าสีดา
พลาสติกประเภทนี้โมเลกุลจะเชื่อมโยงกันเป็นร่างแหจับกันแน่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแข็งแรงมาก
จึงไม่สามารถนามาหลอมเหลวได้ ตัวอย่าง เมลามีน พอลิยูรีเทน
พอลิเมอร์
ประเภทของพลาสติก
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
Back Next
• โพลิเอทธิลีนเทเรฟทาเลต (Poly (ethylene terephthalate), PET)
• PET ทนแรงกระแทก ไม่เปราะแตกง่าย สามารถทาให้ใสมาก มองเห็นสิ่งที่บรรจุอยู่ภายในจึงนิยมใช้บรรจุ
น้าดื่ม น้ามันพืช และเครื่องสาอาง นอกจากนี้ขวด PET ยังมีสมบัติป้องกันการแพร่ผ่านของก๊าซได้เป็นอย่าง
ดี จึงใช้เป็นภาชนะบรรจุน้าอัดลม
• PET สามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมนามาผลิตเป็นเส้นใยสาหรับทาเสื้อกันหนาว พรม และ
เส้นใยสังเคราะห์สาหรับยัดหมอน หรือเสื้อสาหรับเล่นสกี
พอลิเมอร์
Back Next
• โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูง (High density polyethylene, HDPE)
• HDPE โพลิเอทธิลีนชนิดหนาแน่นสูงมีโครงสร้างโมเลกุลเป็นสายตรง ค่อนข้างแข็งแต่ยืดได้มาก ไม่แตกง่าย
ส่วนใหญ่ทาให้มีสีสันสวยงาม ยกเว้นขวดที่ใช้บรรจุน้าดื่ม ซึ่งจะขุ่นกว่าขวด PET ราคาถูกขึ้นรูปได้ง่าย ทน
สารเคมีจึงนิยมใช้ทาบรรจุภัณฑ์สาหรับน้ายาทาความสะอาด แชมพูสระผม แป้งเด็ก และถุงหูหิ้ว นอกจากนี้
ภาชนะที่ทาจาก HDPE ยังมีสมบัติป้องกันการแพร่ผ่านของความชื้นได้ดี จึงใช้เป็นขวดนมเพื่อยืดอายุของนม
ให้นานขึ้น
• HDPE สามารถนากลับมารีไซเคิลเพื่อผลิตขวดต่างๆ เช่น ขวดใส่น้ายาซักผ้า แท่งไม้เทียมเพื่อใช้ทารั้วหรือม้า
นั่งในสวน
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
พอลิเมอร์
Back
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
Next
• โพลิไวนิลคลอไรด์ (Poly (vinyl chloride), PVC) PVC เป็นพลาสติกแข็งใช้ทาท่อ เช่น ท่อน้าประปา แต่
สามารถทาให้นิ่มโดยใส่สารพลาสติกไซเซอร์ ใช้ทาสายยางใส แผ่นฟิล์มสาหรับห่ออาหาร ม่านในห้อง
อาบน้า แผ่นกระเบื้องยาง แผ่นพลาสติกปูโต๊ะ ขวดใส่แชมพูสระผม PVC เป็นพลาสติกที่มีสมบัติหลากหลาย
สามารถนามาใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อื่นได้อีกมาก เช่น ประตู หน้าต่าง วงกบ และหนังเทียม PVC สามารถนา
กลับมารีไซเคิล เพื่อผลิตท่อประปาสาหรับการเกษตร กรวยจราจร และเฟอร์นิเจอร์ หรือม้านั่งพลาสติก
พอลิเมอร์
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
Back Next
• โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นต่า (Low density polyethylene, LDPE)
• LDPE เป็นพลาสติกที่นิ่ม สามารถยืดตัวได้มาก มีความใส นิยมนามาทาเป็นฟิล์มสาหรับห่ออาหารและห่อของ
ถุงใส่ขนมปัง และถุงเย็นสาหรับบรรจุอาหาร
• LDPE สามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยใช้ผลิตเป็นถุงดาสาหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว หรือถังขยะ
พอลิเมอร์
Back Next
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
• โพลิโพรพิลีน (Polypropylene, PP)
• PP เป็นพลาสติกที่แข็ง ทนต่อแรงกระแทกได้ดี ทนต่อสารเคมี ความร้อน และน้ามัน ทาให้มีสีสันสวยงามได้
ส่วนใหญ่นิยมนามาทาภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้า หรือกระบอกสาหรับใส่น้าแช่
เย็น
• PP สามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป็นกล่องแบตเตอรี่รถยนต์ ชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น กันชน
และกรวยสาหรับน้ามัน
พอลิเมอร์
Back
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
Next
• โพลิสไตรีน (Polystyrene, PS)
• PS เป็นพลาสติกที่แข็ง ใส แต่เปราะ และแตกง่าย ราคาถูก นิยมนามาทาเป็นภาชนะบรรจุของใช้ เช่น เทป
เพลง สาลี หรือของแห้ง เช่น หมูแผ่น หมูหยอง และคุ้กกี้ เนื่องจาก PS เปราะและแตกง่าย จึงไม่นิยมนา
พลาสติกประเภทนี้มาบรรจุน้าดื่มหรือแชมพูสระผม เนื่องจากอาจลื่นตกแตกได้
• มีการนาพลาสติกประเภทนี้มาใช้ทาภาชนะหรือถาดโฟมสาหรับบรรจุอาหาร โฟมจะมีน้าหนักที่เบามาก
เนื่องจากประกอบด้วย PS ประมาณ 2-5 % เท่านั้น ส่วนที่เหลือเป็นอากาศที่แทรกอยู่ในช่องว่าง
• PS สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป็นไม้แขวนเสื้อ กล่องวีดีโอ ไม้บรรทัด หรือ ของใช้อื่นๆ
พอลิเมอร์
Back Next
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
• พลาสติกอื่นๆ ที่ไม่ใช่ 6 ชนิดแรก หรือไม่ทราบว่าเป็นพลาสติกชนิดใด
• ปัจจุบันเรามีพลาสติกหลายชนิดให้เลือกใช้ พลาสติกที่ใช้ในครัวเรือนส่วนใหญ่สามารถนากลับมารีไซเคิลเพื่อ
หลอมใช้ใหม่ได้ การมีสัญลักษณ์ตัวเลข ทาให้เราสามารถแยกพลาสติกออกเป็นชนิดต่างๆ เพื่อนากลับมารี
ไซเคิลใช้ใหม่ได้ง่ายขึ้น
• สาหรับพลาสติกในกลุ่มที่ 7 เป็นพลาสติกชนิดอื่นที่ไม่ใช่ 6 ชนิดแรก นอกจะมีตัวเลขระบุแล้ว ควรใส่
สัญลักษณ์ภาษาอังกฤษระบุชนิดของพลาสติกนั้นๆ ไว้ เพื่อสะดวกในการแยกและนากลับมารีไซเคิล เช่น โพ
ลิคาร์บอเนต (Polycarbonate, PC)
พอลิเมอร์
Back Next
พอลิเมอร์
การแบ่งพลาสติกตามชนิดของมอนอเมอร์
• เส้นใย หมายถึง วัสดุหรือสารใดๆทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น ที่มีอัตราส่วนระหว่างความ
ยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับหรือมากกว่า 100 สามารถขึ้นรูปเป็นผ้าได้ และต้องเป็นองค์ประกอบที่
เล็กที่สุดของผ้า ไม่สามารถแยกย่อยในเชิงกลได้อีก
เส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
• 1. เส้นใยจากธรรมชาติ ได้แก่ เส้นใยที่มีอยู่ในธรรมชาติ แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ
1) เส้นใยจากพืช เป็นเส้นใยที่ประกอบด้วยเซลลูโลส ซึ่งได้จากส่วนต่างๆของพืช เช่น ป่าน ปอ
ลินิน ใยสับปะรด ใยมะพร้าว ฝ้าย นุ่น ศรนารายณ์ เป็นต้น เซลลูโลส เป็น โฮโมพอลิเมอร์ ประกอบด้วย
โมเลกุลของกลูโคสจานวนมาก มีโครงสร้างเป็นกิ่งก้านสาขา
2) เส้นใยจากสัตว์ ได้แก่ เส้นใยโปรตีน เช่น ขนสัตว์ (wool) ไหม (silk) ผม (hair) เล็บ เขา ใยไหม
เป็นต้น เส้นใยเหล่านี้ มีสมบัติ คือ เมื่อเปียกน้า ความเหนียวและความแข็งแรงจะลดลงถ้าสัมผัสแสงแดดนานๆ
จะสลายตัว
3) เส้นใยจากสินแร่ เช่น แร่ใยหิน (asbestos) ทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี ทนไฟ ไม่นาไฟฟ้า
ประเภทของเส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
• 2. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น โดยใช้วัสดุธรรมชาติ ทาปฏิกิริยากับสารเคมีเกิดเป็น
สารใหม่ เช่น เซลลูโลสอะซิเตด วิสคอสเรยอง แบมเบอร์กเรยอง เป็นต้น
ประเภทของเส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
• 3. เส้นใยสังเคราะห์ เป็นเส้นใยที่มนุษย์สังเคราะห์ขึ้นจากสารอนินทรีย์หรือสารอินทรีย์ใช้ทดแทนเส้นใยจาก
ธรรมชาติ แบ่งเป็น 3 ประเภ
• 1) เส้นใยพอลิเอสเตอร์ เช่น เทโทรอน ใช้บรรจุในหมอน เพราะมีความฟูยืดหยุ่นไม่เป็นอันตรายต่อ
ผิวหนัง สาหรับดาครอน (Dacron) เป็นเส้นใยสังเคราะห์พวกพอลิเอสเทอร์อีกชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกอีกชื่อ
หนึ่งว่า Mylar มีประโยชน์ทาเส้นใยทาเชือก และฟิล์ม
ประเภทของเส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
• 2) เส้นใยพอลิเอไมด์ เช่น ไนลอน (Nylon) เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์มีหลายชนิด เช่น ไนลอน 6,6
ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 ซึ่งตัวเลขที่เขียนกากับหลังชื่อจะแสดงจานวนคาร์บอนอะตอมในมอนอเมอร์ของ
เอมีนและกรดคาร์บอกซิลิก ไนลอนจัดเป็นพวกเทอร์มอพลาสติก มีความแข็งมากกว่าพอลิเมอร์แบบเติม
ชนิดอื่น เป็นสารที่ติดไฟยาก (เพราะไนลอนมีพันธะ C-H ในโมเลกุลน้อยกว่าพอลิเมอร์แบบเติมชนิด
อื่น) ไนลอนสามารถทดสอบโดยผสมโซดาลาม (NaOH + Ca(OH)2) หรือเผาจะให้ก๊าซแอมโมเนีย
ประโยชน์ของไนลอน ใช้ในการทาเสื้อผ้า ถุงเท้า ถุงน่อง ขนแปรงต่างๆ สายกีต้าร์ สายเอ็น ไม้แร็ก
เก็ต เป็นต้น
ประเภทของเส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
• 3) เส้นใยอะคริลิก เช่น ออร์ใช้ในการทาเสื้อผ้า ผ้านวม ผ้าขนแกะเทียม ร่มชายหาด หลังคากันแดด ผ้าม่าน
พรม เป็นต้น
• 4)เซลลูโลสแอซีเตด เป็นพอลิเมอร์ที่เตรียมได้จากการใช้เซลลูโลสทาปฏิกิริยากับกรดอซิติกเข้มข้น โดยมี
กรอซัลฟูริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา การใช้ประโยชน์จากเซลลูโลสอะซีเตด เช่น ผลิตเป้นเส้นใยอาร์แนล 60
ผลิตเป็นแผ่นพลาสติกที่ใช้ทาแผงสวิตช์และหุ้มสายไฟ
ประเภทของเส้นใย
Back Next
พอลิเมอร์
ยาง (Rubber) คือ สารที่มีสมบัติยืดหยุ่นได้ ทาให้เป็นรูปร่างต่างๆ ได้ เป็นสารประกอบพอลิเมอร์
ประโยชน์ใช้ทายางลบ รองเท้า ยางรถ ตุ๊กตายาง
ยาง
Back Next
พอลิเมอร์
ประเภทของยาง กระบวนการวัลคาไรเซชั่น
ยาง
• ยางธรรมชาติ ได้จากต้นยางพารา น้ายางที่ได้เป็นของเหลวสีขาว ชื่อ พอลิไอโซปริน
• สมบัติ มีความยืดหยุ่น เพราะโครงสร้างโมเลกุลของยางมีลักษณะม้วนงอขดไปมาปิดเป็นเกลียว ได้ แรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ สมบัติเปลี่ยนง่ายคือเมื่อร้อนจะอ่อนตัวเหนียว แต่เย็น
จะแข็งและเปราะ
ประเภทของยาง
Back Next
พอลิเมอร์ยาง
• ยางสังเคราะห์ เป็นพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ขึ้นจากสารผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เช่น
Back Next
พอลิเมอร์ยาง
ประเภทของยาง
• กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization process) คือ กระบวนการที่ใช้ในการเพิ่มคุณภาพของยาง
ธรรมชาติ ( ยางดิบ) ให้มีความยืดหยุ่นได้ดีขึ้น มีความคงตัวสูง ไม่สึกกร่อนง่าย และไม่ละลายในตัวทาละลาย
อินทรีย์ สมบัติเหล่านี้จะยังคงอยู่ ถึงแม้ว่าอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
กระบวนการวัลคาไนเซชัน (Vulcanization process)
Back Next
พอลิเมอร์ยาง
• มลพิษทางอากาศ
1.แก็ส CO เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง หายใจเข้าไปรวมกับฮีโมโกลบินทาให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถรับ
ออกซิเจนได้ตามปกติ อันตรายมากในคนและสัตว์
2.แก็ส SO2 เกิดจากการเน่าเปื่อยของสิ่งมีชีวิต อันตรายมากสาหรับสิ่งก่อสร้าง
3.แก็ส NO , NO2 เกิดจากการสันดาปเชื้อเพลิงที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบอันตรายมากสาหรับพืช
4.แก็ส CO2 เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงทุกชนิด เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก
ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิต
และการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี
Back Next
5.CFC ใช้ทาความเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศใช้เวลานานมากในการสลายตัวและยังเป็นสารที่ทาลาย
โอโซนในชั้นบรรยากาศ เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก
ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิต
และการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี
Back Next
• มลพิษทางน้า
1. น้ามัน เป็นฟิลม์กันไม่ให้ออกซิเจนละลายลงไปในน้า ทาให้ขาดออกซิเจน
2. ฟอสเฟต ทาให้พืชน้าเจริญงอกงามอย่างรวดเร็ว เมื่อพืชน้าตายจุลินทรีย์ในน้าจะต้องใช้ออกซิเจนจานวนมาก เพื่อย่อย
สลายซากพืช ทาให้ออกซิเจนในน้าลดลงน้าจึงเน่า
• การบอกคุณภาพน้า
1. DO คือปริมาณออกซิเจนในน้า ควรมีไม่น้อยกว่า 3 กรัม/ลิตร
2. BOD คือปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า
3. COD คือปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า
ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิต
และการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี
Back Next
• มลพิษทางดินเกิดจากสารตกค้างในดิน เช่น พลาสติกเป็นส่วนใหญ่ปัจจุบันจึงมีวิธีการกาจัดพลาสติก โดย
1. ใช้ปฏิกิริยาทางชีวเคมี
2. ใช้สมบัติในการละลายน้า
3. ใช้แสงแดด
4. ใช้ความร้อน
5. นากลับมาใช้ใหม่
ภาวะมลพิษที่เกิดจากการผลิต
และการใช้ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมี
Back Next

More Related Content

What's hot

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 

More from PamPaul

อารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณอารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณPamPaul
 
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30PamPaul
 
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต PamPaul
 
English slang
English slangEnglish slang
English slangPamPaul
 
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3PamPaul
 
พระมโหสถ
พระมโหสถพระมโหสถ
พระมโหสถPamPaul
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพPamPaul
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษPamPaul
 
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นรวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นPamPaul
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงPamPaul
 

More from PamPaul (11)

อารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณอารยธรรมอียิปต์โบราณ
อารยธรรมอียิปต์โบราณ
 
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอในครรภ์ 29,30
 
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
ฟิสิกส์ ไฟฟ้าสถิต
 
English slang
English slangEnglish slang
English slang
 
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
การประดับธงชาติ กลุ่ม 3
 
พระมโหสถ
พระมโหสถพระมโหสถ
พระมโหสถ
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพ
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้นรวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
รวมเนื้อหาคณิตศาสตร์ ม ต้น
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
เรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรงเรื่องความรุนแรง
เรื่องความรุนแรง
 

(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30