SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 1
By Kru.P’New
1
A
B
C

บทที่ 1: คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้ในวิชาฟิสิกส์
ทบทวนตรีโกณ
1.1 สามเหลี่ยมพิธากอรัส
222
BAC +=
22
BAC +=
=sin
=cos
=tan
=csc
=sec
=cot
1cscsin = 
1seccos = 
1cottan = 
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 2
By Kru.P’New
2
สามเหลี่ยมมุม )60,30( 
สามเหลี่ยมมุม ( 
37 , 
53 )
สามเหลี่ยมมุม ( 
45 , 
45 )

0 
90 
180 
270 
360 
30 
45 
60 
37 
53
sin
cos
tan
 ตรีโกณมิติที่ช่วยในการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 3
By Kru.P’New
3
เวกเตอร์
ปริมาณ แบ่งเป็น 2 แบบ
1. ปริมาณสเกลาร์
2. ปริมาณเวคเตอร์
1. นิยามของเวคเตอร์
aAˆ=A
A A= : ขนาดของเวคเตอร์
a : เวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่ชี้ไปในทิศของเวคเตอร์ A
2. เวคเตอร์ตามแนวแกน และเวคเตอร์หนึ่งหน่วย (unit vector) 2 มิติ
cosAAx =
sinAAy =
22
yx AAAA +==
aˆ
A

A

−
jAiA
AAA
yx
yx
ˆˆ +=
+=
=iˆ unit vector หรือ เวคเตอร์หนึ่งหน่วยตามแนวแกน x
=jˆ unit vector หรือ เวคเตอร์หนึ่งหน่วยตามแนวแกน y
x
y
x
y
A
A
A
A 1
tantan −
== 
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 4
By Kru.P’New
4
การบวก ลบ เวคเตอร์
การหาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ กรณ๊เวกเตอร์ทั้งสองทามุม 
y
xA

O
C

B

y
x
A

O
D

B

−
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 5
By Kru.P’New
5
แบบฝึกหัด
1. A

มีขนาด 10 หน่วย และ B

มีขนาด 6 หน่วย อยากทราบว่าเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ทั้งสองมี
ขนาดมากที่สุดและน้อยที่สุดเท่าใด
2. เวกเตอร์3 และ 4 หน่วย ทามุมฉากต่อกัน จงหาเวกเตอร์ลัพธ์
3. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ 10 หน่วย และ 12 หน่วย ทามุม 
60 ซึ่งกันและกัน
4. เวกเตอร์2 เวกเตอร์มีขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์น้อยที่สุด และมากที่สุดเท่ากับ 30 และ 210
หน่วย จงหาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ เมื่อเวกเตอร์ทั้งสองตั้งฉากซึ่งกัน และกัน
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 6
By Kru.P’New
6
5. จากรูปจงหาเวกเตอร์ย่อย A

และ B

6. จากรูปจงหาเวกเตอร่อยตามแนวแกน x และ แกน y ของเวกเตอร์ที่กาหนดให้
(1)
(2)
(3)
A

B

10=R

30 x
y
x
y
50=R

30

37
40=R
x
y
y
x

60
20=R
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 7
By Kru.P’New
7
บทที่ 2: สมดุลกล
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 8
By Kru.P’New
8
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 9
By Kru.P’New
9
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 10
By Kru.P’New
10
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 11
By Kru.P’New
11
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 12
By Kru.P’New
12
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 13
By Kru.P’New
13
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 14
By Kru.P’New
14
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 15
By Kru.P’New
15
17.
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 16
By Kru.P’New
16
18. จากรูป จงหาโมเมนต์ของแรงที่กระทาต่อวัตถุ เมื่อ O เป็นจุดหมุนของวัตถุนั้น
19. คานตรงสม่าเสมอ AB ยาว 4 เมตร มีแรง 50 นิวตัน กระทาที่ปลาย B ในแนวทามุม 37 องศา
และมีแรง 20 นิวตัน กระทาที่จุด C ห่างจาก A เป็นระยะ 2 เมตร ดังรูป จงหาผลรวมของโมเมนต์ของ
แรงทั้งสองรอบจุด A
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 17
By Kru.P’New
17
บทที่ 3 งาน และ พลังงาน
ตอนที่ 1 งาน
งาน แบ่งเป็น 2 ชนิด
1. งานของแรงคงตัว เช่น F = 10 N
2. งานของแรงไม่คงตัว
2.1) งานที่มีขนาดไม่คงตัว แต่ทิศทางคงตัว เช่น แรงจากสปริง F = kx
2.2) แรงที่มีขนาดและทิศทางไม่คงตัว
1.1 งานของแรงคงตัว
งาน คือ ผลคูณระหว่างแรง  ระยะทางตามแนวแรง
cos. FddFW ==
• งานเป็นปริมาณ สเกลาร์ (มีขนาดอย่างเดียว)
• งานมีค่าเป็นได้ทั้งบวก, ลบ และ ศูนย์
ตัวอย่าง จงหางานต่อไปนี้
1)
2)
3)
d
เมื่อ W = ………………หน่วย ……
=F ………………หน่วย ……
=d ………………หน่วย ……
 =………………หน่วย ……
1 J = ………………
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 18
By Kru.P’New
18
การหางานจาก พ.ท. ใต้กราฟ
แบบฝึกหัด
1. เด็กคนหนึ่งออกแรงลากของตามแนวราบ 6 นิวตัน สม่าเสมอเป็นระยะทาง 3 เมตร จะทางานได้เท่าไร
2. เด็กคนหนึ่งออกแรงยกถังน้ามวล 30 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อกลึก 5 เมตร ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอจะทางาน
ได้เท่าไร
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 19
By Kru.P’New
19
3. แบกของหนัก 100 กิโลกรัม แล้วเดินไปข้างหน้าได้ทาง 7 เมตร จะทางานได้กี่จูล
4. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 kg บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 10 m แล้วจึงขึ้นบันได้
ด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 m จงหางานที่ชายผู้นั้นทา (มช 2528)
ก. 10000 จูล
ข. 3000 จูล
ค. 13000 จูล
ง. 1300 จูล
5. เด็กคนหนึ่งออกแรง 50 N ลากกล่องไม้ในแนวทามุม 
30 ถ้าเขาลากกล่องไม้ไปได้ไกล 10 m ด้วย
อัตราเร็วคงที่ จงหางานที่เขาทา
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 20
By Kru.P’New
20
6. ถ้าออกแรงเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ 0-10 นิวตัน ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ทาง 10 เมตร จะได้งานเท่าใด
7. ชายผู้หนึ่งออกแรง 100 นิวตัน ดึงสปริง แล้วเพิ่มแรงดึงเป็น 500 นิวตัน ทาให้สปริงยืดออกจากตาแหน่ง
เดิม 1.2 เมตร งานที่ใช้ดึงสปริงครั้งนี้มีค่าเท่าใด
8. แรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง เมื่อนาค่าแรงที่กระทาต่อวัตถุในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ มาเขียนกราฟ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัด ได้ดังรูป จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อการกระจัดเป็น 40 เมตร
1. 300 จูล
2. 400 จูล
3. 500 จูล
4. 600 จูล
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 21
By Kru.P’New
21
9. จากรูป วัตถุถูกกระทาด้วยแรง F ทามุม 
37 กับแนวระดับ ขนาดของแรง F เปลี่ยนแปลงตามการขจัด
ในแนวราบดังกราฟ จงหางานเนื่องจากแรง F ในการทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ 30 เมตร
10. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับพื้น 20 เมตร ถ้าดึงเชือกให้มวล
เคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร ด้วยอัตราเร่ง g
4
1
จงหางานที่ทาโดยแรงตึงเชือก
1. 300 J
2. 500 J
3. 700 J
4. 1000 J
11. จงหางานของแรงที่ลากวัตถุมวล 80 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ เป็น
ระยะทาง 25 เมตร ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างวัตถุกับพื้นมีค่า 0.05
1. 500 J
2. 1000 J
3. -500 J
4. -1000 J
12. จากข้อที่ผ่านมา จงหางานของแรงเสียดทาน
1. 500 J
2. 1000 J
3. -500 J
4. -1000 J
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 22
By Kru.P’New
22
13. เด็กคนหนึ่งดึงถังน้ามันมวล 15 kg ขึ้นจากบ่อน้าลึก 3 m ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอในเวลา 6 วินาที จะใช้
กาลังเท่าไร
14. ในการยกกล่องมวล 100 กิโลกรัม จากพื้น โดยใช้กาลัง 1 กิโลวัตต์ เป็นเวลา 10 วินาที กล่องนั้นจะขึ้น
ไปสูงจากพื้นกี่เมตร
1. 0.1
2. 1.0
3. 10.0
4. 20.0
15. จงหากาลังของเครื่องจักรเครื่องหนึ่ง ซึ่งกาลังยกวัตถุมวล 500 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วคงที่
1.6 เมตร/วินาที
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 23
By Kru.P’New
23
16. หัวรถจักรออกแรง 100 กิโลนิวตัน ลากขบวนรถให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 30 m/s กาลังที่หัวรถจักร
กระทาต่อขบวนรถเป็นเท่าใด (ตอบในหน่วยเมกกะวัตต์)
17. รถอีแต๋นคันหนึ่งใช้เครื่องยนต์ซึ่งมีกาลัง 5 กิโลวัตต์ สามารถแล่นได้เร็วสูงสุด 36 กิโลเมตร/ชั่วโมง
จงหาแรงฉุดสูงสุดของเครื่องยนต์
18. งานของแรง F ซึ่งกระทากับวัตถุหนึ่ง มีความสัมพันธ์กับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ s ดังรูป วัตถุใช้เวลา
เคลื่อนที่ทั้งหมด 20 วินาที ในการทางานของแรง F นี้ กาลังเฉลี่ยของแรง F เป็นเท่าใด
1. 3.5 W
2. 9.0 W
3. 70 W
4. 90 W
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 24
By Kru.P’New
24
ตอนที่ 3 พลังงาน
1. พลังงานจลน์ (Kinetics Energy) ~ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v
2
2
1
mvEk =
หน่วย SI ของพลังงาน คือ จูล (J)
ความสัมพันธ์ระหว่าง งาน และพลังงานจลน์
2. พลังงานศักย์ (Potential Energy : Ep)
2.1) พลังงานศักย์โน้มถ่วง (Gravitational Potential Energy) ~ -ขึ้นกับความสูง
mghEp =
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 25
By Kru.P’New
25
งานกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์โน้มถ่วง
2.2) พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (Elastic Potential Energy) ~ -ขึ้นกับระยะยืดหรือหดของสปริง
แรงในสปริง
k = ค่าคงตัวสปริง = ค่าคงตัวสปริง (N/m)
การหาค่านิจของสปริง
1. ต่อสปริงแบบขนาน
2. ต่อสปริงแบบอนุกรม
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 26
By Kru.P’New
26
2
2
1
))((
2
1
2
1
kssksFsEW p ====
พลังงานกลรวม = พ.จลน์ + พ.ศักย์โน้มถ่วง + พ.ศักย์สปริง
22
2
1
2
1
ksmghmvEEEE pspk ++=++=
เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานไม่สูญหาย พลังงานกลรวมจะคงที่
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 27
By Kru.P’New
27
แบบฝึกหัด
1. รถยนต์หนัก 2000 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พลังงานจลน์ของรถคันนั้นมีค่าเท่ากับกี่จูล
1. 5
1084.51 
2. 5
10
3. 5
102
4. 5
104
2. นายฟักที้งขวดมวล 0.5 กิโลกรัม จากหลังคาบ้านครูใหญ่ซึ่งสูง 12 เมตร ให้ตกอย่างอิสระ ถ้าขวดเหล้าตกลงมาได้ทาง
1/3 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลน์เท่าใด
1. 10 จูล
2. 20 จูล
3. 30 จูล
4. 40 จูล
3. ถ้าวัตถุอยู่นิ่งๆ พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นจะมีค่าเท่ากับเท่าใด
4. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับมวล B ขนาด 5 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร
อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ A ต่อ B เป็นอย่างไร
1. 4:3
2. 3:4
3. 1:2
4. 2:1
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 28
By Kru.P’New
28
5. สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่านิจสปริง 100 นิวตัน/เมตร ต่อมาถูกแรงกระทาแล้วทาให้ยืดออกและมี
ความยาวเปลี่ยนเป็น 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทา
6. สปริงตัวหนึ่งเมื่อออกแรงกระทา 100 นิวตัน จะยืดได้0.5 เมตร หากเปลี่ยนแรงกระทาเป็น 200 นิวตัน ขณะนั้น
สปริงมีพลังงานศักย์ยืดหยุ่นเท่าใด
7. ปล่อยวัตถุตกจากที่สูงจากพื้น 20 เมตร เมื่อวัตถุตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็วเท่าใด
8. เมล็ดพืชถูกนกปล่อยให้ตกจากที่สูงจากพื้น 80 เมตร เมื่อตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็วกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 29
By Kru.P’New
29
9. เสาชิงช้าสูง 20 เมตร ถ้าแกว่งชิงช้าขึ้นจนถึง 
90 อัตราเร็วของชิงช้าตอนผ่านจุดต่าสุดจะเป็นกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
1. 10
2. 20
3. 36
4. 72
10. ยิงวัตถุจากหน้าผาด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ทามุม 
30 กับแนวระดับ ถ้าหากหน้าผาอยู่สูงจากพื้นดิน 30 เมตร
จงหาความเร็วของวัตถุที่กระทบพื้นดิน
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 30
By Kru.P’New
30
11. วัตถุมวล m ลื่นไถลตามรางคดโค้งซึ่งไม่มีความเสียดทานโดยไม่ไถลออกนอกราง ถ้าขณะเริ่มต้นวัตถุอยู่นิ่งที่จุด A
ซึ่งอยู่สูง 70 เมตร จากพื้นดินที่จุด B ซึ่งอยู่สุงจากพื้น 30 เมตร วัตถุนี้จะมีอัตราเร็วกี่เมตร/วินาที
1. 17.3
2. 20.0
3. 28.2
4. 400.0
12. กล่องมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที บนผิวราบที่ปราศจากความฝืด ไปชนกับปลายของสปริงที่
เคลื่อนไปมาอย่างอิสระ ถ้าค่านิจของสปริงเท่ากับ 400 นิวตัน/เมตร อยากทราบว่าสปริงจะถูกอัดตัวเป็นระยะทางกี่เมตร
1.
210
1
2.
2
1
3. 0.05
4. 0.1
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 31
By Kru.P’New
31
13. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 1.5 เมตร/วินาที เข้าชนสปริง ปรากฏว่าสปริงหดสั้นมาก
ที่สุด 10 ซม. ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตัน/เมตร
14. กดมวล 1 กิโลกรัม บนสปริงซึ่งตั้งในแนวดิ่ง ให้สปริงยุบตัวลงไป 10 เซนติเมตร จากนั้นก็ปล่อย ปรากฏว่ามวลถูกดีด
ให้ลอยสูงขึ้นเป็นระยะ 50 เซนติเมตร จากจุดที่ปล่อย จงหาค่าคงตัวของสปริง (Ent 42)
1. 8 N/m
2. 10 N/m
3. 800 N/m
4. 1000 N/m
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 32
By Kru.P’New
32
15. จากการปล่อยวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกอิสระลงบนสปริงเบาที่วางตั้งอยู่บนพื้น โดยระยะห่างจากวัตถุถึงยอดของสปริง
เท่ากับ 1.0 เมตร เมื่อวัตถุตกกระทบสปริง ปรากฏว่าสปริงหดสั้นลงจากเดิม 20 เซนติเมตร ก่อนดีดกลับ จงคานวณค่าคง
ตัวของสปริงโดยประมาณว่า ไม่มีการสูญเสียพลังงาน (Ent 41)
1. 2500 N/m
2. 3000 N/m
3. 3500 N/m
4. 4000 N/m
16. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที ถูกแรงกระทาให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ภายในระยะทาง 4
เมตร ถ้าวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทาได้
ข. แรงที่ออกไป
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 33
By Kru.P’New
33
17. กล่องใบหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะซึ่งสูงจากพื้นห้อง 1 เมตร ถ้ายกกล่องใบนี้ขึ้นไปวางบนชั้นซึ่งสูงจาก
พื้นห้อง 3 เมตร จงคานวณงานที่ใช้ในการยก ถ้าเส้นทางของการยกเฉียงดังรูป
18. นักเรียนคนหนึ่งมวล 40 กิโลกรัม เดินขึ้นบันไดดังรูป เมื่อถึงจุด A นักเรียนต้องทางานอย่างน้อยที่สุดเท่าไร
1. 200 J
2. 2000 J
3. 4000 J
4. 32000 J
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 34
By Kru.P’New
34
19. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงกด 100 นิวตัน จะหดเข้าไป 0.75 เมตร จงหางานเป็นจูล ที่ทาให้เมื่อดึงสปริงแล้วสปริงยืด
ออก 0.30 เมตร จากสภาพสมดุลปกติ (มช 2536)
1. 6.0
2. 7.5
3. 15.0
4. 22.5
20. แท่งวัตถุมวล 4 kg ไถลลงมาตารางส่วนโค้งของวงกลมรัศมีความโค้ง 2.5 m ดังรูป เมื่อถึงส่วนล่างสุดของโค้ง แท่ง
วัตถุมีความเร็ว 4 m/s จงหางานในการไถลลงมาตารางของแท่งวัตถุเนื่องจากความฝืด
21. จากรูป วัตถุเคลื่อนตามรางโค้ง รัศมี R ถ้าวัตถุหยุดนิ่งอยู่ที่ A และไถลลงมายังจุด B เกิดงานเนื่องจากความฝืด
ระหว่างพื้นกับวัตถุ 2.75 จูล จงหาความเร็วของวัตถุที่จุด B เป็นกี่เมตรต่อวินาที กาหนให้ R = 1 เมตร และวัตถุมี
มวล = 0.5 kg
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 35
By Kru.P’New
35
22. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม มีอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที ที่จุด A และ 6 เมตร/วินาที ที่จุด B ถ้าระยะทางโค้งจาก A ถึง B
เท่ากับ 15 เมตร แรงเสียดทานเฉลี่ยที่กระทาบนกล่งเป็นเท่าไร
1. 3 นิวตัน
2. 4 นิวตัน
3. 5 นิวตัน
4. 6 นิวตัน
23. ยิงลูกปืนมวล 12 กรัม ไปยังแท่งไม้ซึ่งตรึงอยู่กับที่ ปรากฏว่าลูกปืนฝังเข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะ 5 เซนติเมตร ถ้า
ความเร็วของลูกปืน คือ 200 เมตรต่อวินาที จงหาแรงต้านทานเฉลี่ยของเนื้อไม้ต่อลูกปืน
1. 4800 N
2. 6000 N
3. 9600 N
4. 12000 N
24. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 1.25 เมตร ลงกระทบพื้นทราย พบว่าจมลงไปในทราย 50 เซนติเมตร แล้วหยุด
จงหาแรงต้านเฉลี่ยของทรายกระทาต่อวัตถุในหน่วยนิวตัน
1. 250
2. 300
3. 350
4. 400
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 36
By Kru.P’New
36
25. ผลักวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ให้ไถลไปตามพื้นราบขรุขระด้วยความเร็ว 2 m/s ถ้า ส.ป.ส. ความเสียดทานของพื้นกับ
วัตถุมีค่า 0.2 ให้หาว่าวัตถุไปได้ไกลเท่าไร
1. 1 เมตร
2. 2.13 เมตร
3. 3 เมตร
4. 4 เมตร
26. กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม ไถลบนพื้นราบด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที เมื่อไถลได้1 เมตร ก็หยุดนิ่งสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหว่างกล่องและพื้นเป็นเท่าใด (Ent 2536)
1. 0.4
2. 0.3
3. 0.2
4. 0.1
27. รถยนต์คันหนึ่งมีมวล 1000 kg สามารถเร่งอัตราเร็วจาก 10 m/s เป็น 20 m/s โดยอัตราเร่งคงที่ในเวลา 5.0
วินาที กาลังเฉลี่ยเครื่องยนต์ที่ใช้อย่างน้อยเป็นเท่าใด (Ent 2535)
1. 10.0 kW
2. 20.0 kW
3. 30.0 kW
4. 40.0 kW
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 37
By Kru.P’New
37
28. ใช้ปั้นจั่นยกวัตถุมวล 200 กิโลกรัม ขณะวัตถุหยุดนิ่ง หลังจากนั้น 20 วินาที พบว่าวัตถุอยู่สูงจากตาแหน่งเดิม 20
เมตร และกาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที กาลังของปั้นจั่นมีค่ากี่วัตต์
29. ปล่อยมวล m = 2 kg ให้ลื่นไถลลงจากพื้นเอียง ดังรูป ถัดไปจากปลายพื้นเอียงในแนวราบมีสปริงที่
มีค่าคงตัว 5000 /k N m= ติดอยู่ ดังรูป
1) จงหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงของมวลในขณะที่ปล่อย
2) ถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงานจงหาว่าที่ปลายพื้นเอียง มวลจะมีความเร็วเท่าใด
3) จงหาพลังงานจลน์ของมวลก่อนชนสปริง
4) หลังจากที่มวลชนสปริงจะทาให้สปริงอัดตัวเป็นระยะทางได้มากที่สุดเท่าใด
5) ถ้ามีแรงเสียดทานบนพื้นเอียงทาให้มีการสูญเสียพลังงาน 50% จงหาว่าหลังจากมวลชนสปริง สปริง
จะอัดตัวเป็นระยะทางมากที่สุดได้เท่าใด
k
5 m
m
m
h = 5 m
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 38
By Kru.P’New
38
31. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ (PAT มีนา 52)
32. วัตถุมวล 1 กิโลกรัมเคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่าเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที โดยมี
รัศมี 0.5 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งรอบเป็นเท่าใด (PAT ก.ค. 52)
1. 0 จูล
2. 2 จูล
3. 4 จูล
4. 8 จูล
33.
(PAT ก.ค. 52)
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 39
By Kru.P’New
39
34. จากรูปปล่อยล้อเลื่อนจากจุดหยุดนิ่งบนยอดเขาซึ่งสูง h จากจุดต่าสุดของแอ่งที่มีรัศมีความโค้ง R เมื่อล้อเลื่อนลงถึง
จุดต่าสุดของแอ่ง คนมวล m ที่อยู่บนล้อเลื่อนจะกดทับเก้าอี้ด้วยแรงเท่าใด
1. mg
2. 





−
R
h
mg 1
3. 





+
R
h
mg 1
4. 





+
R
h
mg
2
1
35. แขวนลูกกลมเหล็กด้วยเชือกยาว 0.8 เมตร ดึงลูกกลมไปยังตาแหน่ง P ให้เส้นเชือกทามุม 
60 กับแนวดิ่ง แล้วปล่อย
ให้แกว่งกวัดในระนาบดิ่งจากจุด P โดยให้มีความเร็วต้น 2 เมตร/วินาที ดังรูป เมื่อลูกกลมถึงจุดต่าสุดเชือกที่แขวนจะ
กระทบตะปู I ที่ตรึงไว้ติดต่ากว่าจุดที่แขวนเชือกเป็นระยะ 0.6 เมตร จากนั้นลูกกลมจะแกว่งต่อไปจนถึงตาแหน่ง Q
อัตราเร็วของลูกกลม ณ ตาแหน่ง Q เป็นกี่เมตร/วินาที
1. 2.0
2. 2.8
3. 3.4
4. 8.0
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 40
By Kru.P’New
40
เครื่องกล คือ เครื่องมือที่ช่วยผ่อนแรง หรือ อานวยความสะดวกในการทางาน
คานงัด ค้อนงัดตะปู
การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage: MA)
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 41
By Kru.P’New
41
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 42
By Kru.P’New
42
โจทย์เครื่องกล
1. ใช้เครื่องผ่อนแรงแบบรอกระบบหนึ่ง ช่วยยกน้าหนัก 30 นิวตัน จะใช้แรงเพียง 6 นิวตัน แต่ต้องใช้แรงนั้นดึง
เป็นระยะทางถึง 8 เซนติเมตร จึงจะยกน้าหนักขึ้นได้สูงเพียง 1 เซนติเมตร จงหาประสิทธิภาพของเครื่องกลนี้
2. จากรูป จงหาประสิทธิภาพของรอกมีค่าเท่าใด
3. ถ้าใช้พื้นเอียงผิวเกลี้ยง ดังรูป เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง ประสิทธิภาพของเครื่องกลอันนี้ มีค่าเท่าใด
1. 75%
2. 67%
3. 50%
4. 40%
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 43
By Kru.P’New
43
4. จงหาประสิทธิภาพของเครื่องกล ดังรูป
5. แม่แรงแบบสกรู มีแขนหมุนยาว 30 เซนติเมตร มีระยะระหว่างเกลียว 1 เซนติเมตร จงหาการได้เปรียบเชิงกล
6. จงหาการได้เปรียบเชิงกล M.A. ของระบบรอกต่อไปนี้
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 44
By Kru.P’New
44
7. เมื่อนารอก 4 ตัวมาต่อกันดังรูป เพื่อนาไปยกของหนัก 450 นิวตัน จะต้องออกแรงดึงเชือกขนาด F เท่าใด
1. 30 N
2. 45 N
3. 60 N
4. 90 N
8. จากระบบรอกดังรูป จงหาน้าหนัก W ที่ระบบอยู่นิ่ง
1. 960 N
2. 1280 N
3. 1640 N
4. 1920 N
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 45
By Kru.P’New
45
9. จากรูป ระบบรอกมีประสิทธิภาพ 80% ต้องการดึงก้อนน้าหนัก 1000 นิวตัน ต้องออกแรงฉุดปลายเชือกเท่าใด
10. ลิ่มในข้อใดมีการได้เปรียบเชิงกลมากที่สุด
11. เครื่องตัดเหล็กเส้นเครื่องหนึ่ง ด้ามจับยาว 2 เมตร เมื่อออกแรงตัดที่ปลายด้าน 100 นิวตัน พอดีตัดลวดเหล็กซึ่งอยู่
ห่างจากจุดหมุน 20 เซนติเมตร ให้ขาดได้จงหาแรงต้านของเหล็กนี้มีค่ากี่นิวตัน
1.
2.
3. 1. 500 N
4. 2. 1000 N
5. 3. 2000 N
6. 4. 5000 N
7.
8.
9.
10.
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 46
By Kru.P’New
46
12. ค้อนถอนตะปูยาว 30 เซนติเมตร ถ้าออกแรงที่ปลายด้ามค้อน 60 นิวตัน เพื่อถอนตะปู ซึ่งอยู่ห่างจากที่รองงัด 5
เซนติเมตร ตะปูนี้ถูกแรงกดเท่าใด
1. 360 N
2. 480 N
3. 600 N
4. 720 N
13. ล้อและเพลาเครื่องหนึ่ง รัศมีของล้อเป็น 8 เท่าของรัศมีเพลา ถ้าออกแรงฉุดเชือกที่พันกับล้อขนาด 10 นิวตัน และยก
วัตถุได้สูง 3 เมตร จงหางานที่ใช้ในการยกของมีค่ากี่จูล
1. 120
2. 240
3. 360
4. 480
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 47
By Kru.P’New
47
บทที่ 4: โมเมนตัม และ การชน
1. โมเมนตัม = ผลคคูณระหว่างมวลกับความเร็วของมวล
vmP =
m คือ มวล มีหน่วย …………..
v คือ ความเร็ว มีหน่วย …………..
P คือ โมเมนตัม มีหน่วย ……………………..
• โมเมนตัมเป็นปริมาณที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ วัตถุที่มีโมเมนตัมมากจะทาให้หยุกการเคลื่อนที่ยากกว่าวัตถุที่มี
โมเมนตัมน้อย
2 แรง /การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม / การดล / แรงดล
• เมื่อวัตถุได้รับแรงกระทา วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว และโมเมนตัม
• ค่าของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไป IP = เรียกว่า …………………..
• เมื่อวัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1v มีแรงคงตัว F กระทาต่อวัตถุในช่วงเวลา t ทาให้ความเร็วของ
วัตถุเปลี่ยนแปลงเป็น 2v
t
P
t
PP
t
vmvm
t
vv
mamF


=

−
=

−
=






−
== 121212
การดล (Impulse) tFvmvmPPPI =−=−== 1212

กรณีแรงมีค่าคงตัว
 dtF กรณีแรงมีค่าไม่คงตัว
= พ.ท. ใต้กราฟ F กับ t
► F = แรงดล (Impulsive force)
► ถ้าการดล I มีเครื่องหมายเป็น บวก แสดงว่า โมเมนตัม มีค่า ……………
ถ้าการดล I มีเครื่องหมายเป็น ลบ แสดงว่า โมเมนตัม มีค่า ……………
ถ้าการดล I มีค่าเป็นศูนย์แสดงว่า ………………………………………….
1v 2v
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 48
By Kru.P’New
48
► ปกติแรงดลจะมีค่าไม่คงที่ ส่วนมากจะคิดแรงดลเฉลี่ย aveF
 == dtFpI )( tFI ave =
tFI = (N.s)
การดล = แรงภายนอก × เวลาที่แรงภายนอกกระทา
แบบฝึกหัดเกี่ยวกับการหาโมเมนตัม การดล แรงดล
1. จงหาโมเมนตัมของรถยนต์มวล 3
102 กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km/h
2. ปล่อยลูกเทนนิสมวล 0.5 กิโลกรัม จากจุดซึ่งสูงจากพื้น 5 เมตร เมื่อลูกเทนนิสกระทบพื้น จะมีโมเมนตัมเท่าใด
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 49
By Kru.P’New
49
3. วัตถุมีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 5 เมตร/วินาที2
ได้ระยะทาง 10 เมตร จะมีโมเมนตัมเท่าไร
4. ลูกบอลวิ่งเข้ากระทบกาแพงด้วยความเร็ว 20 m/s มีโมเมนตัมของลูกบอลขณะกระทบกาแพงเท่ากับ
10 กิโลกรัม.เมตร/วินาที ลูกบอลมีมวลเท่าใด
5. วัตถุมีมวล 6 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง 2 เมตร/วินาที2
หลังจากเวลาผ่านไป 3 วินาที จะมีโมเมนตัม
เท่าใด
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 50
By Kru.P’New
50
6. ก้อนหินมวล 2 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 200 เมตร เหนือพื้นดิน จงหาโมเมนตัมของก้อนหินเมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที
7. วัตถุชิ้นหนึ่งมีความเร็ว 4 เมตร/วินาที มีพลังงานจลน์ 8 จูล จะมีโมเมนตัมเท่าใด
8. ชายคนหนึ่งมีมวล 40 กิโลกรัม ขับรถยนต์ด้วยความเร็วคงที่ 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนถนนตรงสายหนึ่ง ถ้าเขา
บังคับให้รถหยุดภายในเวลาขณะหนึ่ง จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปที่เกิดขึ้น
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 51
By Kru.P’New
51
9. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที เมื่อมีแรงคงที่กระทากับวัตถุในทิศตรงข้ามกับทิศการ
เคลื่อนที่ของวัตถุเดิมเป็นเวลานาน 0.02 วินาที และทาให้วัตถุมีความเร็วเป็น 4 เมตร/วินาที ในทิศของแรงกระทา จงหา
ขนาดของ
ก. แรงดลที่กระทากับวัตถุ
ข. การดลที่กระทากับวัตถุ
10. จากรูปเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับเวลาของวัตถุหนึ่ง
ก. ขนาดของการดลที่กระทาต่อวัตถุในช่วง 2
1010 −
 วินาทีแรก
ข. ขนาดของแรงดลที่กระทาต่อวัตถุในช่วง 2
1010 −
 วินาทีแรก
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 52
By Kru.P’New
52
11. นักรักบี้ A มีมวล 70 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที นักรักบี้ B มีมวล 60 กิโลกรัม ต้องวิ่งด้วย
ความเร็วกี่เมตร/วินาที จึงจะมีโมเมนตัมเท่ากับนักรักบี้ A
1. 8.3
2. 9
3. 9.3
4. 10
12. ใช้ฆ้อนมวล 0.5 กิโลกรัม ตอกตะปู ในขณะที่ฆ้อนใกล้กระทบตะปูนั้นมีขนาดความเร็ว 8 เมตร/วินาที และ
หลังจากกระทบหัวตะปูแล้วฆ้อนสะท้อนกลับด้วยความเร็วเท่าเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ฆ้อนกระทบหัวตะปูเป็น 1 มิลลิวินาที
จงหาค่าการดล และ แรงดลที่หัวตะปูกระทาต่อฆ้อน
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 53
By Kru.P’New
53
13. นักบอลเตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที เข้าชนฝาผนังใน
แนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาการดลของลูกบอล (Ent’ 2544)
14. ลูกบอลมีมวล 0.5 กิโลกรัม เข้าชนผนังในแนวตั้งฉากด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที และสะท้อนกลับใน
แนวตั้งฉากกับฝาผนังด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ลูกบอลกระทบผนังเท่ากับ 3
105 −
 วินาที จงคานวณแรงเฉลี่ย
ผนังทาต่อลูกบอล (Ent’ 2542)
1. N3
102
2. N3
105.2 
3. N3
104
4. N3
105
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 54
By Kru.P’New
54
15. ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าผู้รักษาประตุใช้มือรับลูกบอลให้หยุดนิ่ง
ภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทาต่อลูกบอลมีขนาดเท่าใด (Ent’ 2541)
1. 100 N
2. 250 N
3. 500 N
4. 750 N
16. รถคันหนึ่งเริ่มแบรกขณะมีความเร็ว 20 m/s ถ้ารถวิ่งบนถนนระดับราบที่มี ส.ป.ส. ของความเสียดทาน
50.0= รถต้องใช้เวลาเบรกนานเท่าไรจึงหยุด ใช้g = 10 m/s2
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 55
By Kru.P’New
55
17. กล่องใบหนึ่งอยู่บนรถ ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที รถจะต้องเบรกจนหยุดนิ่งใน
เวลาที่น้อยที่สุดเท่าไร กล่องจึงจะไม่ไถลไปบนรถ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างกล่องกับรถเป็น 0.5
18. ปล่อยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 5 เมตร ตกลงในแนวดิ่ง กระทบพื้นนาน 0.02 วินาที ปรากฎว่าลูกบอล
กระดอนขึ้นสูง 3.2 เมตร จงหา
ก. การดลของลูกบอล
ข. แรงดลที่กระทาต่อลูกบอล
3.2 m
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 56
By Kru.P’New
56
19. ถ้าแรงกระทากับวัตถุหนึ่ง (ดังรูป) ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทานั้นจะทาให้วัตถุเปลี่ยนโมเมนตัฒไปเท่าใด
(Ent’ 2542)
1. smkg /.0.4
2. smkg /.0.6
3. smkg /.0.9
4. smkg /.0.12
20. ลูกบอลเคลื่อนที่ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใช้ไม้ตีลูกบอลนี้สวนออกมาในทิศตรงกันข้าม แรงที่กระทาต่อลูกบอลกับ
เวลาที่ลูกบอลกระทบไม้ตี เขียนแทนได้ด้วยกราฟนี้
ก. การดลมีค่าเท่าใด
ข. ถ้าลูกบอลมีมวล 25 g และเคลื่อนที่เข้าด้วยความเร็วต้น 25 m/s ลูกบอลจะมีความเร็วเท่าใดหลังจากถูกไม้ตี
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 57
By Kru.P’New
57
21. นักกีฬาเตะลูกบอลมวล 200 กรัม อัดกาแพงแล้วลูกบอลสะท้อนออกมาด้วยอัตราเร็ว 5 m/s ซึ่งเท่ากับอัตราเร็ว
เดิม ถ้าแรงที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลเป็น 40 นิวตัน ลูกบอลกระทบกาแพงอยู่นานเท่าใด (Ent’ 2536)
1. 0.025 s
2. 0.05 s
3. 0.25 s
4. 0.5 s
22. จากรูปลูกเทนนิสมวล m ตกกระทบพื้น แล้วกระดอนขึ้นโดยมีขนาดของความเร็วคงที่ ข้อใดคือ โมเมนตัมของลูก
เทนนิสที่เปลี่ยนไป
1. 2mu
2. mu2
3.
2
mu
4. mu
2
1
23. จากข้อที่ผ่านมา ถ้าเวลาที่ชนพื้นคือ 0.2 วินาที แรงดลมีค่าเท่าใด
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 58
By Kru.P’New
58
2.3 โมเมนตัมของระบบอนุภาค
โมเมนตัมรวมของระบบอนุภาค = ผลรวมของโมเมนตัมย่อยของแต่ละอนุภาค
i
n
i
n pppppp =
=++++=
1
321 
VMvmvmvmvmvmp
n
i
iin ==++++= =1
321 
VMP = โมเมนตัมลัพธ์ของระบบอนุภาค = (มวลทั้งหมดของระบบ) × (ความเร็วของจุดศูนย์กลางมวล)
=M มวลรวมของระบบ, =V ความเร็วของศูนย์กลางมวล
2.4 กฎทรงโมเมนตัม = กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม (Conservation of Linear Momentum)
การดล = 0 →
กฎทรงโมเมนตัม กล่าวว่า หากแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์แล้วจะได้ว่า
ผลรวมของโมเมนตัมก่อน = ผลรวมของโมเมนตัมหลัง
P ก่อน = P หลัง
2.5 การชน (Collision)
m1 m2
- การชนกันระหว่างมวล m1 และ m2 อนุภาคทั้งสองจะออกแรงขนาดใหญ่ต่อกันในระยะเวลาสั้น
- แรงทั้งสองเป็นแรงกิริยา – ปฏิกิริยา
12F = แรงเฉลี่ยที่อนุภาค m2 กระทาต่ออนุภาค m1
21F = แรงเฉลี่ยที่อนุภาค m1 กระทาต่ออนุภาค m2
- การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของมวล m1 =
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของมวล m2 =
- ถ้ามอง มวล m1 และ m2 เป็นอนุภาครวม จะได้
02121 =+=+= pppppp
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 59
By Kru.P’New
59
การชน (Collision)
1. การชนแบบยืดหยุ่น (Elastic Collision)
2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (Inelastic Collision)
3. การชนแบบไม่ยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ (Completely Inelastic)
การชนแบบยืดหยุ่นแบบ 1 มิติ (1-D Elastic Collision)
□ โมเมนตัมอนุรักษ์ → โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน
□ พลังงานจลน์อนุรักษ์ → พ. จลน์ก่อนชน = พ. จลน์หลังชน
P ก่อนชน = P หลังชน
22112211 vmvmumum +=+
22221111 umvmvmum −=−
)()( 222111 uvmvum −=− ..........................(1)
 kE ก่อนชน =  kE หลังชน
2
22
2
11
2
22
2
11
2
1
2
1
2
1
2
1
vmvmumum +=+
2
22
2
22
2
11
2
11 umvmvmum −=−
)()( 2
2
2
22
2
1
2
11 uvmvum −=−
))(())(( 2222211111 uvuvmvuvum +−=+− ..........................(2)
(2)/(1); ))(())(( 2222211111 uvuvmvuvum +−=+−
)( 111 vum − )( 222 uvm −
)()( 2211 vuvu +=+
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 60
By Kru.P’New
60
กรณีที่น่าสนใจ
1. ถ้ามวลที่เข้าชนมีขนาดเท่ากัน 21 mm =
21 vu = และ 12 vu = อนุภาคแลกเปลี่ยนอัตราเร็วกัน หรือถ่ายทอดโมเมนตัมโดยตรง
2. ถ้ามวลที่ถูกชน ( 2m ) อยู่นิ่งก่อนชน ( 02 =iv )
if v
mm
mm
v 1
21
21
1 





+
−
= if v
mm
m
v 1
21
1
2
2






+
=
กรณี (1)+(2) : มวลเท่ากันและมวลที่ถูกชนอยู่นิ่ง ( )0, 221 == ivmm
ในการชน: มวลเข้าชน ( 1m ) จะถ่ายทอดพลังงานทั้งหมดให้มวลที่ถูกชน ( 2m ) ตัวเอง ( 1m ) จะหยุดนิ่ง ทันทีหลังชน
การชนแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ (Completely Inelastic Collision)
□ โมเมนตัมอนุรักษ์ → โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน
□ พลังงานจลน์ไม่อนุรักษ์ → พ. จลน์ก่อนชน ≠ พ. จลน์หลังชน
การระเบิด (Explosion)
ตัวอย่าง ลูกระเบิดมวล 1 kg. วางนิ่งอยู่บนพื้น ต่อมาลูกระเบิดนั้นระเบิดออกเป็น 2 ชิ้นส่วน ชิ้นส่วนแรกมวล 0.75 kg.
ระเบิดไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 100 m/s ชิ้นส่วนที่สองจะระเบิดไปทางไหนด้วยความเร็วเท่าใด
1) ทิศเหนือ ความเร็ว 150 m/s
2) ทิศตะวันออก ความเร็ว 150 m/s
3) ทิศใต้ ความเร็ว 150 m/s
4) ทิศใต้ ความเร็ว 300 m/s
5) ทิศตะวันตก ความเร็ว 300 m/s
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 61
By Kru.P’New
61
การชนแบบ 2 มิติ
เมื่อไหร่ที่ก้อนมวล 2 ก้อนที่มีน้าหนักเท่ากันเข้าชนกันแบบยืดหยุ่นในลักษณะแฉลบๆ
โดยที่เริ่มต้นมีมวลก้อนใดก้อนหนึ่งอยู่นิ่ง ความเร็วสุดท้ายของก้อนมวลทั้ง 2
จะทามุม 90 องศาต่อกัน
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 62
By Kru.P’New
62
แบบฝึกหัด
1. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 4 เมตรต่อวินาที เข้าชนวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2
เมตรต่อวินาที ไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงาน ความเร็วของมวลทั้งสองหลังชนเป็นเท่าใด
2. วัตถุ 2 ก้อน มวล 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าก้อนแรกเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 5
เมตร/วินาที พุ่งเข้าชนก้อนที่ 2 ซึ่งอยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที แล้วก้อนแรกจะ
เหลือความเร็วเท่าใด (1 m/s)
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 63
By Kru.P’New
63
3. นักสเกต 2 คน มวล 50 กิโลกรัม และ 60 กิโลกรัม ตามลาดับ กาลังเล่นสเกตบนลานน้าแข็ง ถ้าคนแรกเคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออก ด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที พุ่งเข้าชนคนที่ 2 ซึ่งยืนอยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว
3 เมตร/วินาที แล้วคนแรกจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าใด
4. มวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 16 m/s เข้าชนกับมวล 3m ที่หยุดนิ่ง หลังชนพบว่ามวล m กระเด็นกลับด้วยความเร็ว
5 m/s ความเร็วหลังชนของมวล 3m มีขนาดกี่ m/s
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 64
By Kru.P’New
64
5. วัตถุมวล 4
102 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ว 2 m/s วิ่งเข้าชนวัตถุอีกก้อนมวล 4
103 กิโลกรัม ซึ่ง
อยู่นิ่งๆ หลังชนแล้ววัตถุทั้งสองวิ่งไปพร้อมกัน จงหาความเร็วของวัตถุทั้งสองก้อนหลังชน
6. รถสินค้ามวล 4
10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที วิ่งเข้าชนรถสินค้าอีกคันหนึ่งมวล
4
102 กิโลกรัม และจอดอยู่นิ่ง หลังชนแล้วรถทั้งสองวิ่งไปพร้อมกัน จงหาความเร็วของรถทั้งสองคันหลังชน
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 65
By Kru.P’New
65
7. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนไปทางขวาตามพื้นโต๊ะซึ่งไร้ความเสียดทานด้วยอัตราเร็ว 50 เมตร/วินาที วัตถุนี้ชนใน
แนวตรงกับวัตถุอีกชิ้นหนึ่งซึ่งกาลังเคลื่อนที่มาทางซ้ายด้วยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ถ้าหลังการชน วัตถุทั้งสองติดไป
ด้วยกันและเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที วัตถุก้อนที่สองมีมวลเท่ากับ (มช 2537)
1. 12 กิโลกรัม
2. 8 กิโลกรัม
3. 6 กิโลกรัม
4. 4 กิโลกรัม
8. จากข้อที่ผานมา จงหาพลังงานจลน์ที่สูญเสียไป (มช 2537)
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 66
By Kru.P’New
66
9. ยิงลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม ออกไปด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที ถ้าตัวเปืนมีมวล 2 กิโลกรัม อยากทราบว่าปืน
จะถอยหลังด้วยความเร็วเท่าใด
10. วัตถุทั้งสองก้อนมวล 2 และ 4 กิโลกรัม วางอยู่นิ่งๆ โดยมีสปริงอัดอยู่ระหว่างกลาง เมื่อปล่อยให้เกิดการเคลื่อนที่ มวล
2 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 4 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว
เท่าใด
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 67
By Kru.P’New
67
11. วัตถุ A มีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางแกน +x ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ได้ชนกับวัตถุ B มวล 10
กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ไปทางแกน +y ด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ภายหลังการชนวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป จง
หาความเร็วลัพธ์หลังการชนดังกล่าว
1. 3.3 m/s
2. 4.0 m/s
3. 5.6 m/s
4. 8.0 m/s
12. วัตถุ A มวล 40 กิโลกรัม ลื่นไถลมาจากทิศตะวันออกด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที และวัตถุ B มวล 60 กิโลกรัม
ลื่นไถลมาจากทิศเหนือด้วยอัตราเร็ว 5 เมตรต่อวินาที มาชนกันแล้วเคลื่อนที่ติดไปด้วยกัน อัตราเร็วของวัตถุทั้งสองหลัง
เกิดการชนกันเป็นเท่าไร (กาหนดให้พื้นไม่มีความฝืด)
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 68
By Kru.P’New
68
13. ลูกปืนมวล 5 กรัม ถูกยิงด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที เข้าไปฝังในแท่งไม้มวล 5 กิโลกรัม ที่วางอยู่บนโต๊ะ ถ้าค่า
สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างแท่งไม้กับโต๊ะโดยเฉลี่ยเท่ากับ 0.25 แท่งไม้จะไถลไปได้ไกลเท่าไร
1. 0.20 เมตร
2. 0.25 เมตร
3. 0.50 เมตร
4. 1.25 เมตร
14. ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กิโลกรัม กลิ้งเข้าชนแท่งไม้หนัก 4 กิโลกรัม ที่วางอยู่บนพื้นด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที
ถ้าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างผิวของแท่งไม้กับพื้นเท่ากับ 0.2 หลังจากชนแล้วลูกเหล็กหยุดนิ่งกับที่ แท่งไม้จะ
ไถลไปได้ไกลเท่าไร (Ent’ 2529)
1. 1.25 เมตร
2. 6.25 เมตร
3. 50.26 เมตร
4. 250 เมตร
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 69
By Kru.P’New
69
15. รถยนต์คันหนึ่งมวล 2000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วชนกับรถยนต์อีกคันหนึ่ง มวล 3000
กิโลกรัม ซึ่งจอดอยู่นิ่ง ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกันและไถลไปได้ไกล 5 เมตร แล้วหยุด จงหาขนาดของแรงเสียดทาน
ที่พื้นถนนกระทาต่อรถทั้งสองในหน่วยนิวตัน (Ent’ 2541)
16. ช่างไม้ใช้ค้อนมวล 200 กรัม ตีตะปูมวล 2 กรัม ในแนวราบ โดยความเร็วของค้อนก่อนกระทบตะปูเป็น
10 เมตร/วินาที และค้อนไม่กระดอนจากหัวตะปู ถ้าเนื้อไม้มีแรงต้านทานเฉลี่ย 1000 นิวตัน ตะปูเจาะลึกในเนื้อไม้กี่
เซนติเมตร (Ent’ 2534)
1. 0.1
2. 0.2
3. 1.0
4. 2.0
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 70
By Kru.P’New
70
17. ลูกปืนมวล 4 กรัม มีความเร็ว 1000 เมตรต่อวินาที ยิงทะลุแผ่นไม้หนัก 800 กรัม ที่ห้อยแขวนไว้ด้วยเชือกยาว
หลังจากทะลุแผ่นไม้ลูกปืนมีความเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาว่าแท่งไม้จะแกว่งขึ้นไปสูงจากหยุดนิ่งเท่าใด
(Ent’ 2532)
1. 0.15 m
2. 0.20 m
3. 0.45 m
4. 0.60 m
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 71
By Kru.P’New
71
โจทย์สาหรับข้อ 18-19
ปืนใหญ่และรถมีมวล 10000 กิโลกรัม ติดสปริงกันการสะท้อนถอยหลังดังรูป เมื่อยิงปืนใหญ่ปรากฏว่ากระสุน
วิ่งออกไปด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที
18. จงหาความเร็วของรถทันทีเมื่อยิงปืนใหญ่ ถ้ากระสุนมีมวล 10 กก.
1. 1 เมตร/วินาที
2. 2.5 เมตร/วินาที
3. 5 เมตร/วินาที
4. 10 เมตร/วินาที
19. ถ้าตัวรถและปืนใหญ่เคลื่อนที่ถอยหลังไปเพียง 0.2 เมตร จงหาค่านิจของสปริงในหน่วย นิวตัน/วินาที
1. 25
2. 3
100.4 
3. 5
105.2 
4. 6
104
20. ในการชนกันของวัตถุแบบยืดหยุ่น ข้อใดถูกต้อง (มช 2530)
1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัวแต่โมเมนตัมไม่คงตัว
2. โมเมนตัมมีค่าคงตัวแต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว
21. ในการชนกันของวัตถุแบบไม่ยืดหยุ่น ข้อใดถูกต้อง
1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัว แต่ โมเมนตัมไม่คงตัว
2. โมเมนตัมมีค่าคงตัว แต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 72
By Kru.P’New
72
22. มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่เข้าหากันบนพื้นไม้ที่ไม่มีความเสียดทานด้วยความเร็ว 12 เมตรต่อ
วินาที และ 5 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ หลังจากชนกันมวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ไปในทิศเดิมด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อ
วินาที และมวล 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 3 เมตรต่อวินาที การชนนี้เป็นการ
ชนแบบยืดหยุ่น หรือไม่ยืดหยุ่น (มช 2528)
1. ยืดหยุ่น
2. ไม่ยืดหยุ่น
3. ไม่ทราบ ข้อมูลไม่เพียงพอ
4. เป็นทั้งยืดหยุ่น และไม่ยืดหยุ่น
23. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที ชนกับมวล 2 กิโลกรัม ซึ่งวิ่งสวนมาด้วยความเร็ว
10 เมตร/วินาที มีผลให้มวล 10 กิโลกรัม ลดความเร็วเหลือ 1 เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 2 กิโลกรัม มีความเร็วอย่างไร
และการชนเป็นการชนแบบไหน
24. มวล 1 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว 4 m/s เข้าชนมวล 2 kg เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันด้วยความเร็ว 2 m/s
ถ้าการชนเป็นแบบยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ จงหาความเร็วหลังชนของมวลทั้งสอง
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 73
By Kru.P’New
73
25. มวล m และ 2m แขวนกับเชือกน้าหนักเบาที่ยาวเท่ากันดังรูป ถ้าจับมวล m ให้สุงกว่า 2m เป็นระยะ h แล้วปล่อย
ให้ตกมากระทบกับมวล 2m หลังจากกระทบกันแล้วมวล m หยุดนิ่ง จงคานวณว่ามวล 2m จะแกว่งขึ้นไปได้สูงสุดจาก
ตาแหน่งเดิมเท่าไร และการชนเป็นแบบยืดหยุ่นหรือไม่
1. h/2 เป็นการชนแบบยืดหยุ่น
2. h/2 เป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น
3. h/4 เป็นการชนแบบยืดหยุ่น
4. h/4 เป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น
26. มวล m วิ่งเข้าชนมวล M ที่ติดสปริงเบามีค่าคงตัวของสปริง k ด้วยความเร็ว u ดังรูป พลังงานจลน์ของระบบเป็น
เท่าไหร เมื่อ m กับ M ใกล้กันที่สุด
1. 2
2
1
mu
2. 2
2
1
mu
M
m






3. 2
2
1
mu
Mm
M






+
4. 2
2
1
mu
Mm
m






+
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 74
By Kru.P’New
74
27. ลูกปืนมวล 8 กรัม ยิงตรงไปยังท่อนไม้มวล 2.0 กิโลกรัม ซึ่งวางอยู่บนขอบโต๊ะพื้นลิ่นที่ความสูง 0.8 เมตร เมื่อ
ลูกปืนกระทบท่อนไม้และฝังในเนื้อไม้ท่อนไม้เคลื่อนที่หล่นจากโต๊ะและตกถึงพื้นห่างจากโต๊ะ 2 เมตร จงหาอัตราเร็วของ
ลูกปืนในหน่วย เมตร/วินาที
P H Y S I C S - S M E 3/2 | 75
By Kru.P’New
75
28. ลูกกลมขนาดเท่ากัน 2 ลูก A และ B โดยลูก A วิ่งเข้าชนลูก B ซึ่งอยู่นิ่งในแนวไม่ผ่านจุดศูนย์กลาง ทาให้ลูก A
กระเด็นเบี่ยงไปจากแนวเดิมเป็นมุม 
60 ก่อนชนลูกกลม A มีความเร็ว 8 เมตรต่อวินาที และเป็นการชนแบบยืดหยุ่น
หลังชนลูกกลม A และ B จะมีความเร็วเท่าใด
mBvB

More Related Content

What's hot

เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนApinya Phuadsing
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6pumarin20012
 
โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3Papang Rakchanoke
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงconceptapply
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2aatjima
 

What's hot (16)

เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชนเรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
เรื่องที่6 โมเมนตัมและการชน
 
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
A1d0c6e83f027327d8461063f4ac58a6
 
โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3โมเมนตัมและพลังงาน3
โมเมนตัมและพลังงาน3
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
P06
P06P06
P06
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 
P05
P05P05
P05
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2ข้อสอบ มข.51 v2
ข้อสอบ มข.51 v2
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
P02
P02P02
P02
 
P04
P04P04
P04
 
Phy
PhyPhy
Phy
 

Similar to ชีทวิชากลศาสตร์ SME3/2 ที่สอนในห้อง

เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'New
เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'Newเล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'New
เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'NewNew AcademicCenter
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.NewNew AcademicCenter
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53noeiinoii
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53shanesha
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 sugaeang
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์zweetiiz
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57Piyatida Outama
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48Unity' Aing
 

Similar to ชีทวิชากลศาสตร์ SME3/2 ที่สอนในห้อง (20)

เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'New
เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'Newเล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'New
เล่ม1บทนำการเคลื่อนที่แบบเส้นตรง Kru.P'New
 
123
123123
123
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์ฟิสิกส์กสพท.ปี53
 
วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53วิทย์กสพท53
วิทย์กสพท53
 
Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2Quota cmu 56 part2
Quota cmu 56 part2
 
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
ข้อสอบวิชาฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57 ฟิสิกส์ 57
ฟิสิกส์ 57
 
Cmu57
Cmu57 Cmu57
Cmu57
 
ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์ข้อสอบ ฟิสิกส์
ข้อสอบ ฟิสิกส์
 
Cmu 57
Cmu 57Cmu 57
Cmu 57
 
ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57ฟิสิกส์Cmu 57
ฟิสิกส์Cmu 57
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48ฟิสิกส์ Ent 48
ฟิสิกส์ Ent 48
 
0 pat2 53-1
0 pat2 53-10 pat2 53-1
0 pat2 53-1
 

ชีทวิชากลศาสตร์ SME3/2 ที่สอนในห้อง

  • 1. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 1 By Kru.P’New 1 A B C  บทที่ 1: คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้ในวิชาฟิสิกส์ ทบทวนตรีโกณ 1.1 สามเหลี่ยมพิธากอรัส 222 BAC += 22 BAC += =sin =cos =tan =csc =sec =cot 1cscsin =  1seccos =  1cottan = 
  • 2. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 2 By Kru.P’New 2 สามเหลี่ยมมุม )60,30(  สามเหลี่ยมมุม (  37 ,  53 ) สามเหลี่ยมมุม (  45 ,  45 )  0  90  180  270  360  30  45  60  37  53 sin cos tan  ตรีโกณมิติที่ช่วยในการแก้ปัญหาโจทย์ฟิสิกส์
  • 3. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 3 By Kru.P’New 3 เวกเตอร์ ปริมาณ แบ่งเป็น 2 แบบ 1. ปริมาณสเกลาร์ 2. ปริมาณเวคเตอร์ 1. นิยามของเวคเตอร์ aAˆ=A A A= : ขนาดของเวคเตอร์ a : เวคเตอร์หนึ่งหน่วยที่ชี้ไปในทิศของเวคเตอร์ A 2. เวคเตอร์ตามแนวแกน และเวคเตอร์หนึ่งหน่วย (unit vector) 2 มิติ cosAAx = sinAAy = 22 yx AAAA +== aˆ A  A  − jAiA AAA yx yx ˆˆ += += =iˆ unit vector หรือ เวคเตอร์หนึ่งหน่วยตามแนวแกน x =jˆ unit vector หรือ เวคเตอร์หนึ่งหน่วยตามแนวแกน y x y x y A A A A 1 tantan − == 
  • 4. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 4 By Kru.P’New 4 การบวก ลบ เวคเตอร์ การหาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ กรณ๊เวกเตอร์ทั้งสองทามุม  y xA  O C  B  y x A  O D  B  −
  • 5. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 5 By Kru.P’New 5 แบบฝึกหัด 1. A  มีขนาด 10 หน่วย และ B  มีขนาด 6 หน่วย อยากทราบว่าเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ทั้งสองมี ขนาดมากที่สุดและน้อยที่สุดเท่าใด 2. เวกเตอร์3 และ 4 หน่วย ทามุมฉากต่อกัน จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ 3. จงหาเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ 10 หน่วย และ 12 หน่วย ทามุม  60 ซึ่งกันและกัน 4. เวกเตอร์2 เวกเตอร์มีขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์น้อยที่สุด และมากที่สุดเท่ากับ 30 และ 210 หน่วย จงหาขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ เมื่อเวกเตอร์ทั้งสองตั้งฉากซึ่งกัน และกัน
  • 6. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 6 By Kru.P’New 6 5. จากรูปจงหาเวกเตอร์ย่อย A  และ B  6. จากรูปจงหาเวกเตอร่อยตามแนวแกน x และ แกน y ของเวกเตอร์ที่กาหนดให้ (1) (2) (3) A  B  10=R  30 x y x y 50=R  30  37 40=R x y y x  60 20=R
  • 7. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 7 By Kru.P’New 7 บทที่ 2: สมดุลกล
  • 8. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 8 By Kru.P’New 8
  • 9. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 9 By Kru.P’New 9
  • 10. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 10 By Kru.P’New 10
  • 11. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 11 By Kru.P’New 11
  • 12. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 12 By Kru.P’New 12
  • 13. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 13 By Kru.P’New 13
  • 14. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 14 By Kru.P’New 14
  • 15. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 15 By Kru.P’New 15 17.
  • 16. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 16 By Kru.P’New 16 18. จากรูป จงหาโมเมนต์ของแรงที่กระทาต่อวัตถุ เมื่อ O เป็นจุดหมุนของวัตถุนั้น 19. คานตรงสม่าเสมอ AB ยาว 4 เมตร มีแรง 50 นิวตัน กระทาที่ปลาย B ในแนวทามุม 37 องศา และมีแรง 20 นิวตัน กระทาที่จุด C ห่างจาก A เป็นระยะ 2 เมตร ดังรูป จงหาผลรวมของโมเมนต์ของ แรงทั้งสองรอบจุด A
  • 17. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 17 By Kru.P’New 17 บทที่ 3 งาน และ พลังงาน ตอนที่ 1 งาน งาน แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. งานของแรงคงตัว เช่น F = 10 N 2. งานของแรงไม่คงตัว 2.1) งานที่มีขนาดไม่คงตัว แต่ทิศทางคงตัว เช่น แรงจากสปริง F = kx 2.2) แรงที่มีขนาดและทิศทางไม่คงตัว 1.1 งานของแรงคงตัว งาน คือ ผลคูณระหว่างแรง  ระยะทางตามแนวแรง cos. FddFW == • งานเป็นปริมาณ สเกลาร์ (มีขนาดอย่างเดียว) • งานมีค่าเป็นได้ทั้งบวก, ลบ และ ศูนย์ ตัวอย่าง จงหางานต่อไปนี้ 1) 2) 3) d เมื่อ W = ………………หน่วย …… =F ………………หน่วย …… =d ………………หน่วย ……  =………………หน่วย …… 1 J = ………………
  • 18. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 18 By Kru.P’New 18 การหางานจาก พ.ท. ใต้กราฟ แบบฝึกหัด 1. เด็กคนหนึ่งออกแรงลากของตามแนวราบ 6 นิวตัน สม่าเสมอเป็นระยะทาง 3 เมตร จะทางานได้เท่าไร 2. เด็กคนหนึ่งออกแรงยกถังน้ามวล 30 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อกลึก 5 เมตร ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอจะทางาน ได้เท่าไร
  • 19. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 19 By Kru.P’New 19 3. แบกของหนัก 100 กิโลกรัม แล้วเดินไปข้างหน้าได้ทาง 7 เมตร จะทางานได้กี่จูล 4. ชายคนหนึ่งแบกข้าวสารหนัก 100 kg บนบ่าเดินไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 10 m แล้วจึงขึ้นบันได้ ด้วยความเร็วคงที่ไปชั้นบนซึ่งสูงจากพื้นล่าง 3 m จงหางานที่ชายผู้นั้นทา (มช 2528) ก. 10000 จูล ข. 3000 จูล ค. 13000 จูล ง. 1300 จูล 5. เด็กคนหนึ่งออกแรง 50 N ลากกล่องไม้ในแนวทามุม  30 ถ้าเขาลากกล่องไม้ไปได้ไกล 10 m ด้วย อัตราเร็วคงที่ จงหางานที่เขาทา
  • 20. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 20 By Kru.P’New 20 6. ถ้าออกแรงเพิ่มขึ้นสม่าเสมอ 0-10 นิวตัน ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ทาง 10 เมตร จะได้งานเท่าใด 7. ชายผู้หนึ่งออกแรง 100 นิวตัน ดึงสปริง แล้วเพิ่มแรงดึงเป็น 500 นิวตัน ทาให้สปริงยืดออกจากตาแหน่ง เดิม 1.2 เมตร งานที่ใช้ดึงสปริงครั้งนี้มีค่าเท่าใด 8. แรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง เมื่อนาค่าแรงที่กระทาต่อวัตถุในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ มาเขียนกราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัด ได้ดังรูป จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อการกระจัดเป็น 40 เมตร 1. 300 จูล 2. 400 จูล 3. 500 จูล 4. 600 จูล
  • 21. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 21 By Kru.P’New 21 9. จากรูป วัตถุถูกกระทาด้วยแรง F ทามุม  37 กับแนวระดับ ขนาดของแรง F เปลี่ยนแปลงตามการขจัด ในแนวราบดังกราฟ จงหางานเนื่องจากแรง F ในการทาให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ 30 เมตร 10. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกเส้นหนึ่งเหนือระดับพื้น 20 เมตร ถ้าดึงเชือกให้มวล เคลื่อนขึ้นเป็นระยะทาง 10 เมตร ด้วยอัตราเร่ง g 4 1 จงหางานที่ทาโดยแรงตึงเชือก 1. 300 J 2. 500 J 3. 700 J 4. 1000 J 11. จงหางานของแรงที่ลากวัตถุมวล 80 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ เป็น ระยะทาง 25 เมตร ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหว่างวัตถุกับพื้นมีค่า 0.05 1. 500 J 2. 1000 J 3. -500 J 4. -1000 J 12. จากข้อที่ผ่านมา จงหางานของแรงเสียดทาน 1. 500 J 2. 1000 J 3. -500 J 4. -1000 J
  • 22. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 22 By Kru.P’New 22 13. เด็กคนหนึ่งดึงถังน้ามันมวล 15 kg ขึ้นจากบ่อน้าลึก 3 m ด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอในเวลา 6 วินาที จะใช้ กาลังเท่าไร 14. ในการยกกล่องมวล 100 กิโลกรัม จากพื้น โดยใช้กาลัง 1 กิโลวัตต์ เป็นเวลา 10 วินาที กล่องนั้นจะขึ้น ไปสูงจากพื้นกี่เมตร 1. 0.1 2. 1.0 3. 10.0 4. 20.0 15. จงหากาลังของเครื่องจักรเครื่องหนึ่ง ซึ่งกาลังยกวัตถุมวล 500 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็วคงที่ 1.6 เมตร/วินาที
  • 23. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 23 By Kru.P’New 23 16. หัวรถจักรออกแรง 100 กิโลนิวตัน ลากขบวนรถให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 30 m/s กาลังที่หัวรถจักร กระทาต่อขบวนรถเป็นเท่าใด (ตอบในหน่วยเมกกะวัตต์) 17. รถอีแต๋นคันหนึ่งใช้เครื่องยนต์ซึ่งมีกาลัง 5 กิโลวัตต์ สามารถแล่นได้เร็วสูงสุด 36 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงหาแรงฉุดสูงสุดของเครื่องยนต์ 18. งานของแรง F ซึ่งกระทากับวัตถุหนึ่ง มีความสัมพันธ์กับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ s ดังรูป วัตถุใช้เวลา เคลื่อนที่ทั้งหมด 20 วินาที ในการทางานของแรง F นี้ กาลังเฉลี่ยของแรง F เป็นเท่าใด 1. 3.5 W 2. 9.0 W 3. 70 W 4. 90 W
  • 24. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 24 By Kru.P’New 24 ตอนที่ 3 พลังงาน 1. พลังงานจลน์ (Kinetics Energy) ~ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว v 2 2 1 mvEk = หน่วย SI ของพลังงาน คือ จูล (J) ความสัมพันธ์ระหว่าง งาน และพลังงานจลน์ 2. พลังงานศักย์ (Potential Energy : Ep) 2.1) พลังงานศักย์โน้มถ่วง (Gravitational Potential Energy) ~ -ขึ้นกับความสูง mghEp =
  • 25. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 25 By Kru.P’New 25 งานกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์โน้มถ่วง 2.2) พลังงานศักย์ยืดหยุ่น (Elastic Potential Energy) ~ -ขึ้นกับระยะยืดหรือหดของสปริง แรงในสปริง k = ค่าคงตัวสปริง = ค่าคงตัวสปริง (N/m) การหาค่านิจของสปริง 1. ต่อสปริงแบบขนาน 2. ต่อสปริงแบบอนุกรม
  • 26. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 26 By Kru.P’New 26 2 2 1 ))(( 2 1 2 1 kssksFsEW p ==== พลังงานกลรวม = พ.จลน์ + พ.ศักย์โน้มถ่วง + พ.ศักย์สปริง 22 2 1 2 1 ksmghmvEEEE pspk ++=++= เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทา พลังงานไม่สูญหาย พลังงานกลรวมจะคงที่
  • 27. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 27 By Kru.P’New 27 แบบฝึกหัด 1. รถยนต์หนัก 2000 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พลังงานจลน์ของรถคันนั้นมีค่าเท่ากับกี่จูล 1. 5 1084.51  2. 5 10 3. 5 102 4. 5 104 2. นายฟักที้งขวดมวล 0.5 กิโลกรัม จากหลังคาบ้านครูใหญ่ซึ่งสูง 12 เมตร ให้ตกอย่างอิสระ ถ้าขวดเหล้าตกลงมาได้ทาง 1/3 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลน์เท่าใด 1. 10 จูล 2. 20 จูล 3. 30 จูล 4. 40 จูล 3. ถ้าวัตถุอยู่นิ่งๆ พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นจะมีค่าเท่ากับเท่าใด 4. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1 เมตร กับมวล B ขนาด 5 กิโลกรัม อยู่สูงจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่วนของพลังงานศักย์ของ A ต่อ B เป็นอย่างไร 1. 4:3 2. 3:4 3. 1:2 4. 2:1
  • 28. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 28 By Kru.P’New 28 5. สปริงตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่านิจสปริง 100 นิวตัน/เมตร ต่อมาถูกแรงกระทาแล้วทาให้ยืดออกและมี ความยาวเปลี่ยนเป็น 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ่นขณะที่ถูกแรงนี้กระทา 6. สปริงตัวหนึ่งเมื่อออกแรงกระทา 100 นิวตัน จะยืดได้0.5 เมตร หากเปลี่ยนแรงกระทาเป็น 200 นิวตัน ขณะนั้น สปริงมีพลังงานศักย์ยืดหยุ่นเท่าใด 7. ปล่อยวัตถุตกจากที่สูงจากพื้น 20 เมตร เมื่อวัตถุตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็วเท่าใด 8. เมล็ดพืชถูกนกปล่อยให้ตกจากที่สูงจากพื้น 80 เมตร เมื่อตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็วกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง
  • 29. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 29 By Kru.P’New 29 9. เสาชิงช้าสูง 20 เมตร ถ้าแกว่งชิงช้าขึ้นจนถึง  90 อัตราเร็วของชิงช้าตอนผ่านจุดต่าสุดจะเป็นกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมง 1. 10 2. 20 3. 36 4. 72 10. ยิงวัตถุจากหน้าผาด้วยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ทามุม  30 กับแนวระดับ ถ้าหากหน้าผาอยู่สูงจากพื้นดิน 30 เมตร จงหาความเร็วของวัตถุที่กระทบพื้นดิน
  • 30. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 30 By Kru.P’New 30 11. วัตถุมวล m ลื่นไถลตามรางคดโค้งซึ่งไม่มีความเสียดทานโดยไม่ไถลออกนอกราง ถ้าขณะเริ่มต้นวัตถุอยู่นิ่งที่จุด A ซึ่งอยู่สูง 70 เมตร จากพื้นดินที่จุด B ซึ่งอยู่สุงจากพื้น 30 เมตร วัตถุนี้จะมีอัตราเร็วกี่เมตร/วินาที 1. 17.3 2. 20.0 3. 28.2 4. 400.0 12. กล่องมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที บนผิวราบที่ปราศจากความฝืด ไปชนกับปลายของสปริงที่ เคลื่อนไปมาอย่างอิสระ ถ้าค่านิจของสปริงเท่ากับ 400 นิวตัน/เมตร อยากทราบว่าสปริงจะถูกอัดตัวเป็นระยะทางกี่เมตร 1. 210 1 2. 2 1 3. 0.05 4. 0.1
  • 31. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 31 By Kru.P’New 31 13. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบลื่นด้วยอัตราเร็ว 1.5 เมตร/วินาที เข้าชนสปริง ปรากฏว่าสปริงหดสั้นมาก ที่สุด 10 ซม. ค่านิจของสปริงมีค่ากี่นิวตัน/เมตร 14. กดมวล 1 กิโลกรัม บนสปริงซึ่งตั้งในแนวดิ่ง ให้สปริงยุบตัวลงไป 10 เซนติเมตร จากนั้นก็ปล่อย ปรากฏว่ามวลถูกดีด ให้ลอยสูงขึ้นเป็นระยะ 50 เซนติเมตร จากจุดที่ปล่อย จงหาค่าคงตัวของสปริง (Ent 42) 1. 8 N/m 2. 10 N/m 3. 800 N/m 4. 1000 N/m
  • 32. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 32 By Kru.P’New 32 15. จากการปล่อยวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกอิสระลงบนสปริงเบาที่วางตั้งอยู่บนพื้น โดยระยะห่างจากวัตถุถึงยอดของสปริง เท่ากับ 1.0 เมตร เมื่อวัตถุตกกระทบสปริง ปรากฏว่าสปริงหดสั้นลงจากเดิม 20 เซนติเมตร ก่อนดีดกลับ จงคานวณค่าคง ตัวของสปริงโดยประมาณว่า ไม่มีการสูญเสียพลังงาน (Ent 41) 1. 2500 N/m 2. 3000 N/m 3. 3500 N/m 4. 4000 N/m 16. วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที ถูกแรงกระทาให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ภายในระยะทาง 4 เมตร ถ้าวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา ก. งานที่ทาได้ ข. แรงที่ออกไป
  • 33. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 33 By Kru.P’New 33 17. กล่องใบหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม วางอยู่บนโต๊ะซึ่งสูงจากพื้นห้อง 1 เมตร ถ้ายกกล่องใบนี้ขึ้นไปวางบนชั้นซึ่งสูงจาก พื้นห้อง 3 เมตร จงคานวณงานที่ใช้ในการยก ถ้าเส้นทางของการยกเฉียงดังรูป 18. นักเรียนคนหนึ่งมวล 40 กิโลกรัม เดินขึ้นบันไดดังรูป เมื่อถึงจุด A นักเรียนต้องทางานอย่างน้อยที่สุดเท่าไร 1. 200 J 2. 2000 J 3. 4000 J 4. 32000 J
  • 34. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 34 By Kru.P’New 34 19. สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงกด 100 นิวตัน จะหดเข้าไป 0.75 เมตร จงหางานเป็นจูล ที่ทาให้เมื่อดึงสปริงแล้วสปริงยืด ออก 0.30 เมตร จากสภาพสมดุลปกติ (มช 2536) 1. 6.0 2. 7.5 3. 15.0 4. 22.5 20. แท่งวัตถุมวล 4 kg ไถลลงมาตารางส่วนโค้งของวงกลมรัศมีความโค้ง 2.5 m ดังรูป เมื่อถึงส่วนล่างสุดของโค้ง แท่ง วัตถุมีความเร็ว 4 m/s จงหางานในการไถลลงมาตารางของแท่งวัตถุเนื่องจากความฝืด 21. จากรูป วัตถุเคลื่อนตามรางโค้ง รัศมี R ถ้าวัตถุหยุดนิ่งอยู่ที่ A และไถลลงมายังจุด B เกิดงานเนื่องจากความฝืด ระหว่างพื้นกับวัตถุ 2.75 จูล จงหาความเร็วของวัตถุที่จุด B เป็นกี่เมตรต่อวินาที กาหนให้ R = 1 เมตร และวัตถุมี มวล = 0.5 kg
  • 35. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 35 By Kru.P’New 35 22. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม มีอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที ที่จุด A และ 6 เมตร/วินาที ที่จุด B ถ้าระยะทางโค้งจาก A ถึง B เท่ากับ 15 เมตร แรงเสียดทานเฉลี่ยที่กระทาบนกล่งเป็นเท่าไร 1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 5 นิวตัน 4. 6 นิวตัน 23. ยิงลูกปืนมวล 12 กรัม ไปยังแท่งไม้ซึ่งตรึงอยู่กับที่ ปรากฏว่าลูกปืนฝังเข้าไปในเนื้อไม้เป็นระยะ 5 เซนติเมตร ถ้า ความเร็วของลูกปืน คือ 200 เมตรต่อวินาที จงหาแรงต้านทานเฉลี่ยของเนื้อไม้ต่อลูกปืน 1. 4800 N 2. 6000 N 3. 9600 N 4. 12000 N 24. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 1.25 เมตร ลงกระทบพื้นทราย พบว่าจมลงไปในทราย 50 เซนติเมตร แล้วหยุด จงหาแรงต้านเฉลี่ยของทรายกระทาต่อวัตถุในหน่วยนิวตัน 1. 250 2. 300 3. 350 4. 400
  • 36. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 36 By Kru.P’New 36 25. ผลักวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ให้ไถลไปตามพื้นราบขรุขระด้วยความเร็ว 2 m/s ถ้า ส.ป.ส. ความเสียดทานของพื้นกับ วัตถุมีค่า 0.2 ให้หาว่าวัตถุไปได้ไกลเท่าไร 1. 1 เมตร 2. 2.13 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร 26. กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม ไถลบนพื้นราบด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที เมื่อไถลได้1 เมตร ก็หยุดนิ่งสัมประสิทธิ์ ความเสียดทานระหว่างกล่องและพื้นเป็นเท่าใด (Ent 2536) 1. 0.4 2. 0.3 3. 0.2 4. 0.1 27. รถยนต์คันหนึ่งมีมวล 1000 kg สามารถเร่งอัตราเร็วจาก 10 m/s เป็น 20 m/s โดยอัตราเร่งคงที่ในเวลา 5.0 วินาที กาลังเฉลี่ยเครื่องยนต์ที่ใช้อย่างน้อยเป็นเท่าใด (Ent 2535) 1. 10.0 kW 2. 20.0 kW 3. 30.0 kW 4. 40.0 kW
  • 37. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 37 By Kru.P’New 37 28. ใช้ปั้นจั่นยกวัตถุมวล 200 กิโลกรัม ขณะวัตถุหยุดนิ่ง หลังจากนั้น 20 วินาที พบว่าวัตถุอยู่สูงจากตาแหน่งเดิม 20 เมตร และกาลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เมตรต่อวินาที กาลังของปั้นจั่นมีค่ากี่วัตต์ 29. ปล่อยมวล m = 2 kg ให้ลื่นไถลลงจากพื้นเอียง ดังรูป ถัดไปจากปลายพื้นเอียงในแนวราบมีสปริงที่ มีค่าคงตัว 5000 /k N m= ติดอยู่ ดังรูป 1) จงหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงของมวลในขณะที่ปล่อย 2) ถ้าไม่มีการสูญเสียพลังงานจงหาว่าที่ปลายพื้นเอียง มวลจะมีความเร็วเท่าใด 3) จงหาพลังงานจลน์ของมวลก่อนชนสปริง 4) หลังจากที่มวลชนสปริงจะทาให้สปริงอัดตัวเป็นระยะทางได้มากที่สุดเท่าใด 5) ถ้ามีแรงเสียดทานบนพื้นเอียงทาให้มีการสูญเสียพลังงาน 50% จงหาว่าหลังจากมวลชนสปริง สปริง จะอัดตัวเป็นระยะทางมากที่สุดได้เท่าใด k 5 m m m h = 5 m
  • 38. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 38 By Kru.P’New 38 31. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ (PAT มีนา 52) 32. วัตถุมวล 1 กิโลกรัมเคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่างสม่าเสมอบนพื้นราบด้วยขนาดของความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที โดยมี รัศมี 0.5 เมตร งานเนื่องจากแรงสู่ศูนย์กลางเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ได้ครึ่งรอบเป็นเท่าใด (PAT ก.ค. 52) 1. 0 จูล 2. 2 จูล 3. 4 จูล 4. 8 จูล 33. (PAT ก.ค. 52)
  • 39. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 39 By Kru.P’New 39 34. จากรูปปล่อยล้อเลื่อนจากจุดหยุดนิ่งบนยอดเขาซึ่งสูง h จากจุดต่าสุดของแอ่งที่มีรัศมีความโค้ง R เมื่อล้อเลื่อนลงถึง จุดต่าสุดของแอ่ง คนมวล m ที่อยู่บนล้อเลื่อนจะกดทับเก้าอี้ด้วยแรงเท่าใด 1. mg 2.       − R h mg 1 3.       + R h mg 1 4.       + R h mg 2 1 35. แขวนลูกกลมเหล็กด้วยเชือกยาว 0.8 เมตร ดึงลูกกลมไปยังตาแหน่ง P ให้เส้นเชือกทามุม  60 กับแนวดิ่ง แล้วปล่อย ให้แกว่งกวัดในระนาบดิ่งจากจุด P โดยให้มีความเร็วต้น 2 เมตร/วินาที ดังรูป เมื่อลูกกลมถึงจุดต่าสุดเชือกที่แขวนจะ กระทบตะปู I ที่ตรึงไว้ติดต่ากว่าจุดที่แขวนเชือกเป็นระยะ 0.6 เมตร จากนั้นลูกกลมจะแกว่งต่อไปจนถึงตาแหน่ง Q อัตราเร็วของลูกกลม ณ ตาแหน่ง Q เป็นกี่เมตร/วินาที 1. 2.0 2. 2.8 3. 3.4 4. 8.0
  • 40. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 40 By Kru.P’New 40 เครื่องกล คือ เครื่องมือที่ช่วยผ่อนแรง หรือ อานวยความสะดวกในการทางาน คานงัด ค้อนงัดตะปู การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage: MA)
  • 41. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 41 By Kru.P’New 41
  • 42. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 42 By Kru.P’New 42 โจทย์เครื่องกล 1. ใช้เครื่องผ่อนแรงแบบรอกระบบหนึ่ง ช่วยยกน้าหนัก 30 นิวตัน จะใช้แรงเพียง 6 นิวตัน แต่ต้องใช้แรงนั้นดึง เป็นระยะทางถึง 8 เซนติเมตร จึงจะยกน้าหนักขึ้นได้สูงเพียง 1 เซนติเมตร จงหาประสิทธิภาพของเครื่องกลนี้ 2. จากรูป จงหาประสิทธิภาพของรอกมีค่าเท่าใด 3. ถ้าใช้พื้นเอียงผิวเกลี้ยง ดังรูป เป็นเครื่องกลอันหนึ่ง ประสิทธิภาพของเครื่องกลอันนี้ มีค่าเท่าใด 1. 75% 2. 67% 3. 50% 4. 40%
  • 43. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 43 By Kru.P’New 43 4. จงหาประสิทธิภาพของเครื่องกล ดังรูป 5. แม่แรงแบบสกรู มีแขนหมุนยาว 30 เซนติเมตร มีระยะระหว่างเกลียว 1 เซนติเมตร จงหาการได้เปรียบเชิงกล 6. จงหาการได้เปรียบเชิงกล M.A. ของระบบรอกต่อไปนี้
  • 44. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 44 By Kru.P’New 44 7. เมื่อนารอก 4 ตัวมาต่อกันดังรูป เพื่อนาไปยกของหนัก 450 นิวตัน จะต้องออกแรงดึงเชือกขนาด F เท่าใด 1. 30 N 2. 45 N 3. 60 N 4. 90 N 8. จากระบบรอกดังรูป จงหาน้าหนัก W ที่ระบบอยู่นิ่ง 1. 960 N 2. 1280 N 3. 1640 N 4. 1920 N
  • 45. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 45 By Kru.P’New 45 9. จากรูป ระบบรอกมีประสิทธิภาพ 80% ต้องการดึงก้อนน้าหนัก 1000 นิวตัน ต้องออกแรงฉุดปลายเชือกเท่าใด 10. ลิ่มในข้อใดมีการได้เปรียบเชิงกลมากที่สุด 11. เครื่องตัดเหล็กเส้นเครื่องหนึ่ง ด้ามจับยาว 2 เมตร เมื่อออกแรงตัดที่ปลายด้าน 100 นิวตัน พอดีตัดลวดเหล็กซึ่งอยู่ ห่างจากจุดหมุน 20 เซนติเมตร ให้ขาดได้จงหาแรงต้านของเหล็กนี้มีค่ากี่นิวตัน 1. 2. 3. 1. 500 N 4. 2. 1000 N 5. 3. 2000 N 6. 4. 5000 N 7. 8. 9. 10.
  • 46. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 46 By Kru.P’New 46 12. ค้อนถอนตะปูยาว 30 เซนติเมตร ถ้าออกแรงที่ปลายด้ามค้อน 60 นิวตัน เพื่อถอนตะปู ซึ่งอยู่ห่างจากที่รองงัด 5 เซนติเมตร ตะปูนี้ถูกแรงกดเท่าใด 1. 360 N 2. 480 N 3. 600 N 4. 720 N 13. ล้อและเพลาเครื่องหนึ่ง รัศมีของล้อเป็น 8 เท่าของรัศมีเพลา ถ้าออกแรงฉุดเชือกที่พันกับล้อขนาด 10 นิวตัน และยก วัตถุได้สูง 3 เมตร จงหางานที่ใช้ในการยกของมีค่ากี่จูล 1. 120 2. 240 3. 360 4. 480
  • 47. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 47 By Kru.P’New 47 บทที่ 4: โมเมนตัม และ การชน 1. โมเมนตัม = ผลคคูณระหว่างมวลกับความเร็วของมวล vmP = m คือ มวล มีหน่วย ………….. v คือ ความเร็ว มีหน่วย ………….. P คือ โมเมนตัม มีหน่วย …………………….. • โมเมนตัมเป็นปริมาณที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ วัตถุที่มีโมเมนตัมมากจะทาให้หยุกการเคลื่อนที่ยากกว่าวัตถุที่มี โมเมนตัมน้อย 2 แรง /การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม / การดล / แรงดล • เมื่อวัตถุได้รับแรงกระทา วัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว และโมเมนตัม • ค่าของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไป IP = เรียกว่า ………………….. • เมื่อวัตถุมวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1v มีแรงคงตัว F กระทาต่อวัตถุในช่วงเวลา t ทาให้ความเร็วของ วัตถุเปลี่ยนแปลงเป็น 2v t P t PP t vmvm t vv mamF   =  − =  − =       − == 121212 การดล (Impulse) tFvmvmPPPI =−=−== 1212  กรณีแรงมีค่าคงตัว  dtF กรณีแรงมีค่าไม่คงตัว = พ.ท. ใต้กราฟ F กับ t ► F = แรงดล (Impulsive force) ► ถ้าการดล I มีเครื่องหมายเป็น บวก แสดงว่า โมเมนตัม มีค่า …………… ถ้าการดล I มีเครื่องหมายเป็น ลบ แสดงว่า โมเมนตัม มีค่า …………… ถ้าการดล I มีค่าเป็นศูนย์แสดงว่า …………………………………………. 1v 2v
  • 48. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 48 By Kru.P’New 48 ► ปกติแรงดลจะมีค่าไม่คงที่ ส่วนมากจะคิดแรงดลเฉลี่ย aveF  == dtFpI )( tFI ave = tFI = (N.s) การดล = แรงภายนอก × เวลาที่แรงภายนอกกระทา แบบฝึกหัดเกี่ยวกับการหาโมเมนตัม การดล แรงดล 1. จงหาโมเมนตัมของรถยนต์มวล 3 102 กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km/h 2. ปล่อยลูกเทนนิสมวล 0.5 กิโลกรัม จากจุดซึ่งสูงจากพื้น 5 เมตร เมื่อลูกเทนนิสกระทบพื้น จะมีโมเมนตัมเท่าใด
  • 49. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 49 By Kru.P’New 49 3. วัตถุมีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 5 เมตร/วินาที2 ได้ระยะทาง 10 เมตร จะมีโมเมนตัมเท่าไร 4. ลูกบอลวิ่งเข้ากระทบกาแพงด้วยความเร็ว 20 m/s มีโมเมนตัมของลูกบอลขณะกระทบกาแพงเท่ากับ 10 กิโลกรัม.เมตร/วินาที ลูกบอลมีมวลเท่าใด 5. วัตถุมีมวล 6 กิโลกรัม เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งด้วยความเร่ง 2 เมตร/วินาที2 หลังจากเวลาผ่านไป 3 วินาที จะมีโมเมนตัม เท่าใด
  • 50. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 50 By Kru.P’New 50 6. ก้อนหินมวล 2 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 200 เมตร เหนือพื้นดิน จงหาโมเมนตัมของก้อนหินเมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที 7. วัตถุชิ้นหนึ่งมีความเร็ว 4 เมตร/วินาที มีพลังงานจลน์ 8 จูล จะมีโมเมนตัมเท่าใด 8. ชายคนหนึ่งมีมวล 40 กิโลกรัม ขับรถยนต์ด้วยความเร็วคงที่ 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง บนถนนตรงสายหนึ่ง ถ้าเขา บังคับให้รถหยุดภายในเวลาขณะหนึ่ง จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปที่เกิดขึ้น
  • 51. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 51 By Kru.P’New 51 9. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม กาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที เมื่อมีแรงคงที่กระทากับวัตถุในทิศตรงข้ามกับทิศการ เคลื่อนที่ของวัตถุเดิมเป็นเวลานาน 0.02 วินาที และทาให้วัตถุมีความเร็วเป็น 4 เมตร/วินาที ในทิศของแรงกระทา จงหา ขนาดของ ก. แรงดลที่กระทากับวัตถุ ข. การดลที่กระทากับวัตถุ 10. จากรูปเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับเวลาของวัตถุหนึ่ง ก. ขนาดของการดลที่กระทาต่อวัตถุในช่วง 2 1010 −  วินาทีแรก ข. ขนาดของแรงดลที่กระทาต่อวัตถุในช่วง 2 1010 −  วินาทีแรก
  • 52. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 52 By Kru.P’New 52 11. นักรักบี้ A มีมวล 70 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 8 เมตร/วินาที นักรักบี้ B มีมวล 60 กิโลกรัม ต้องวิ่งด้วย ความเร็วกี่เมตร/วินาที จึงจะมีโมเมนตัมเท่ากับนักรักบี้ A 1. 8.3 2. 9 3. 9.3 4. 10 12. ใช้ฆ้อนมวล 0.5 กิโลกรัม ตอกตะปู ในขณะที่ฆ้อนใกล้กระทบตะปูนั้นมีขนาดความเร็ว 8 เมตร/วินาที และ หลังจากกระทบหัวตะปูแล้วฆ้อนสะท้อนกลับด้วยความเร็วเท่าเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ฆ้อนกระทบหัวตะปูเป็น 1 มิลลิวินาที จงหาค่าการดล และ แรงดลที่หัวตะปูกระทาต่อฆ้อน
  • 53. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 53 By Kru.P’New 53 13. นักบอลเตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที เข้าชนฝาผนังใน แนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ว 20 เมตรต่อวินาที จงหาการดลของลูกบอล (Ent’ 2544) 14. ลูกบอลมีมวล 0.5 กิโลกรัม เข้าชนผนังในแนวตั้งฉากด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที และสะท้อนกลับใน แนวตั้งฉากกับฝาผนังด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ลูกบอลกระทบผนังเท่ากับ 3 105 −  วินาที จงคานวณแรงเฉลี่ย ผนังทาต่อลูกบอล (Ent’ 2542) 1. N3 102 2. N3 105.2  3. N3 104 4. N3 105
  • 54. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 54 By Kru.P’New 54 15. ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าผู้รักษาประตุใช้มือรับลูกบอลให้หยุดนิ่ง ภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทาต่อลูกบอลมีขนาดเท่าใด (Ent’ 2541) 1. 100 N 2. 250 N 3. 500 N 4. 750 N 16. รถคันหนึ่งเริ่มแบรกขณะมีความเร็ว 20 m/s ถ้ารถวิ่งบนถนนระดับราบที่มี ส.ป.ส. ของความเสียดทาน 50.0= รถต้องใช้เวลาเบรกนานเท่าไรจึงหยุด ใช้g = 10 m/s2
  • 55. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 55 By Kru.P’New 55 17. กล่องใบหนึ่งอยู่บนรถ ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ว 30 เมตร/วินาที รถจะต้องเบรกจนหยุดนิ่งใน เวลาที่น้อยที่สุดเท่าไร กล่องจึงจะไม่ไถลไปบนรถ ถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างกล่องกับรถเป็น 0.5 18. ปล่อยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 5 เมตร ตกลงในแนวดิ่ง กระทบพื้นนาน 0.02 วินาที ปรากฎว่าลูกบอล กระดอนขึ้นสูง 3.2 เมตร จงหา ก. การดลของลูกบอล ข. แรงดลที่กระทาต่อลูกบอล 3.2 m
  • 56. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 56 By Kru.P’New 56 19. ถ้าแรงกระทากับวัตถุหนึ่ง (ดังรูป) ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทานั้นจะทาให้วัตถุเปลี่ยนโมเมนตัฒไปเท่าใด (Ent’ 2542) 1. smkg /.0.4 2. smkg /.0.6 3. smkg /.0.9 4. smkg /.0.12 20. ลูกบอลเคลื่อนที่ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใช้ไม้ตีลูกบอลนี้สวนออกมาในทิศตรงกันข้าม แรงที่กระทาต่อลูกบอลกับ เวลาที่ลูกบอลกระทบไม้ตี เขียนแทนได้ด้วยกราฟนี้ ก. การดลมีค่าเท่าใด ข. ถ้าลูกบอลมีมวล 25 g และเคลื่อนที่เข้าด้วยความเร็วต้น 25 m/s ลูกบอลจะมีความเร็วเท่าใดหลังจากถูกไม้ตี
  • 57. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 57 By Kru.P’New 57 21. นักกีฬาเตะลูกบอลมวล 200 กรัม อัดกาแพงแล้วลูกบอลสะท้อนออกมาด้วยอัตราเร็ว 5 m/s ซึ่งเท่ากับอัตราเร็ว เดิม ถ้าแรงที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลเป็น 40 นิวตัน ลูกบอลกระทบกาแพงอยู่นานเท่าใด (Ent’ 2536) 1. 0.025 s 2. 0.05 s 3. 0.25 s 4. 0.5 s 22. จากรูปลูกเทนนิสมวล m ตกกระทบพื้น แล้วกระดอนขึ้นโดยมีขนาดของความเร็วคงที่ ข้อใดคือ โมเมนตัมของลูก เทนนิสที่เปลี่ยนไป 1. 2mu 2. mu2 3. 2 mu 4. mu 2 1 23. จากข้อที่ผ่านมา ถ้าเวลาที่ชนพื้นคือ 0.2 วินาที แรงดลมีค่าเท่าใด
  • 58. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 58 By Kru.P’New 58 2.3 โมเมนตัมของระบบอนุภาค โมเมนตัมรวมของระบบอนุภาค = ผลรวมของโมเมนตัมย่อยของแต่ละอนุภาค i n i n pppppp = =++++= 1 321  VMvmvmvmvmvmp n i iin ==++++= =1 321  VMP = โมเมนตัมลัพธ์ของระบบอนุภาค = (มวลทั้งหมดของระบบ) × (ความเร็วของจุดศูนย์กลางมวล) =M มวลรวมของระบบ, =V ความเร็วของศูนย์กลางมวล 2.4 กฎทรงโมเมนตัม = กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม (Conservation of Linear Momentum) การดล = 0 → กฎทรงโมเมนตัม กล่าวว่า หากแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์แล้วจะได้ว่า ผลรวมของโมเมนตัมก่อน = ผลรวมของโมเมนตัมหลัง P ก่อน = P หลัง 2.5 การชน (Collision) m1 m2 - การชนกันระหว่างมวล m1 และ m2 อนุภาคทั้งสองจะออกแรงขนาดใหญ่ต่อกันในระยะเวลาสั้น - แรงทั้งสองเป็นแรงกิริยา – ปฏิกิริยา 12F = แรงเฉลี่ยที่อนุภาค m2 กระทาต่ออนุภาค m1 21F = แรงเฉลี่ยที่อนุภาค m1 กระทาต่ออนุภาค m2 - การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของมวล m1 = การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของมวล m2 = - ถ้ามอง มวล m1 และ m2 เป็นอนุภาครวม จะได้ 02121 =+=+= pppppp
  • 59. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 59 By Kru.P’New 59 การชน (Collision) 1. การชนแบบยืดหยุ่น (Elastic Collision) 2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (Inelastic Collision) 3. การชนแบบไม่ยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ (Completely Inelastic) การชนแบบยืดหยุ่นแบบ 1 มิติ (1-D Elastic Collision) □ โมเมนตัมอนุรักษ์ → โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน □ พลังงานจลน์อนุรักษ์ → พ. จลน์ก่อนชน = พ. จลน์หลังชน P ก่อนชน = P หลังชน 22112211 vmvmumum +=+ 22221111 umvmvmum −=− )()( 222111 uvmvum −=− ..........................(1)  kE ก่อนชน =  kE หลังชน 2 22 2 11 2 22 2 11 2 1 2 1 2 1 2 1 vmvmumum +=+ 2 22 2 22 2 11 2 11 umvmvmum −=− )()( 2 2 2 22 2 1 2 11 uvmvum −=− ))(())(( 2222211111 uvuvmvuvum +−=+− ..........................(2) (2)/(1); ))(())(( 2222211111 uvuvmvuvum +−=+− )( 111 vum − )( 222 uvm − )()( 2211 vuvu +=+
  • 60. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 60 By Kru.P’New 60 กรณีที่น่าสนใจ 1. ถ้ามวลที่เข้าชนมีขนาดเท่ากัน 21 mm = 21 vu = และ 12 vu = อนุภาคแลกเปลี่ยนอัตราเร็วกัน หรือถ่ายทอดโมเมนตัมโดยตรง 2. ถ้ามวลที่ถูกชน ( 2m ) อยู่นิ่งก่อนชน ( 02 =iv ) if v mm mm v 1 21 21 1       + − = if v mm m v 1 21 1 2 2       + = กรณี (1)+(2) : มวลเท่ากันและมวลที่ถูกชนอยู่นิ่ง ( )0, 221 == ivmm ในการชน: มวลเข้าชน ( 1m ) จะถ่ายทอดพลังงานทั้งหมดให้มวลที่ถูกชน ( 2m ) ตัวเอง ( 1m ) จะหยุดนิ่ง ทันทีหลังชน การชนแบบไม่ยืดหยุ่นสมบูรณ์ (Completely Inelastic Collision) □ โมเมนตัมอนุรักษ์ → โมเมนตัมก่อนชน = โมเมนตัมหลังชน □ พลังงานจลน์ไม่อนุรักษ์ → พ. จลน์ก่อนชน ≠ พ. จลน์หลังชน การระเบิด (Explosion) ตัวอย่าง ลูกระเบิดมวล 1 kg. วางนิ่งอยู่บนพื้น ต่อมาลูกระเบิดนั้นระเบิดออกเป็น 2 ชิ้นส่วน ชิ้นส่วนแรกมวล 0.75 kg. ระเบิดไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 100 m/s ชิ้นส่วนที่สองจะระเบิดไปทางไหนด้วยความเร็วเท่าใด 1) ทิศเหนือ ความเร็ว 150 m/s 2) ทิศตะวันออก ความเร็ว 150 m/s 3) ทิศใต้ ความเร็ว 150 m/s 4) ทิศใต้ ความเร็ว 300 m/s 5) ทิศตะวันตก ความเร็ว 300 m/s
  • 61. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 61 By Kru.P’New 61 การชนแบบ 2 มิติ เมื่อไหร่ที่ก้อนมวล 2 ก้อนที่มีน้าหนักเท่ากันเข้าชนกันแบบยืดหยุ่นในลักษณะแฉลบๆ โดยที่เริ่มต้นมีมวลก้อนใดก้อนหนึ่งอยู่นิ่ง ความเร็วสุดท้ายของก้อนมวลทั้ง 2 จะทามุม 90 องศาต่อกัน
  • 62. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 62 By Kru.P’New 62 แบบฝึกหัด 1. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 4 เมตรต่อวินาที เข้าชนวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที ไปในทิศทางเดียวกัน ถ้าการชนไม่มีการสูญเสียพลังงาน ความเร็วของมวลทั้งสองหลังชนเป็นเท่าใด 2. วัตถุ 2 ก้อน มวล 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าก้อนแรกเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที พุ่งเข้าชนก้อนที่ 2 ซึ่งอยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที แล้วก้อนแรกจะ เหลือความเร็วเท่าใด (1 m/s)
  • 63. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 63 By Kru.P’New 63 3. นักสเกต 2 คน มวล 50 กิโลกรัม และ 60 กิโลกรัม ตามลาดับ กาลังเล่นสเกตบนลานน้าแข็ง ถ้าคนแรกเคลื่อนที่ไปทาง ทิศตะวันออก ด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที พุ่งเข้าชนคนที่ 2 ซึ่งยืนอยู่นิ่งให้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 3 เมตร/วินาที แล้วคนแรกจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าใด 4. มวล m เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 16 m/s เข้าชนกับมวล 3m ที่หยุดนิ่ง หลังชนพบว่ามวล m กระเด็นกลับด้วยความเร็ว 5 m/s ความเร็วหลังชนของมวล 3m มีขนาดกี่ m/s
  • 64. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 64 By Kru.P’New 64 5. วัตถุมวล 4 102 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ว 2 m/s วิ่งเข้าชนวัตถุอีกก้อนมวล 4 103 กิโลกรัม ซึ่ง อยู่นิ่งๆ หลังชนแล้ววัตถุทั้งสองวิ่งไปพร้อมกัน จงหาความเร็วของวัตถุทั้งสองก้อนหลังชน 6. รถสินค้ามวล 4 10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ว 2 เมตร/วินาที วิ่งเข้าชนรถสินค้าอีกคันหนึ่งมวล 4 102 กิโลกรัม และจอดอยู่นิ่ง หลังชนแล้วรถทั้งสองวิ่งไปพร้อมกัน จงหาความเร็วของรถทั้งสองคันหลังชน
  • 65. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 65 By Kru.P’New 65 7. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนไปทางขวาตามพื้นโต๊ะซึ่งไร้ความเสียดทานด้วยอัตราเร็ว 50 เมตร/วินาที วัตถุนี้ชนใน แนวตรงกับวัตถุอีกชิ้นหนึ่งซึ่งกาลังเคลื่อนที่มาทางซ้ายด้วยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ถ้าหลังการชน วัตถุทั้งสองติดไป ด้วยกันและเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที วัตถุก้อนที่สองมีมวลเท่ากับ (มช 2537) 1. 12 กิโลกรัม 2. 8 กิโลกรัม 3. 6 กิโลกรัม 4. 4 กิโลกรัม 8. จากข้อที่ผานมา จงหาพลังงานจลน์ที่สูญเสียไป (มช 2537)
  • 66. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 66 By Kru.P’New 66 9. ยิงลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม ออกไปด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที ถ้าตัวเปืนมีมวล 2 กิโลกรัม อยากทราบว่าปืน จะถอยหลังด้วยความเร็วเท่าใด 10. วัตถุทั้งสองก้อนมวล 2 และ 4 กิโลกรัม วางอยู่นิ่งๆ โดยมีสปริงอัดอยู่ระหว่างกลาง เมื่อปล่อยให้เกิดการเคลื่อนที่ มวล 2 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 4 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ว เท่าใด
  • 67. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 67 By Kru.P’New 67 11. วัตถุ A มีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางแกน +x ด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ได้ชนกับวัตถุ B มวล 10 กิโลกรัม ซึ่งกาลังเคลื่อนที่ไปทางแกน +y ด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ภายหลังการชนวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป จง หาความเร็วลัพธ์หลังการชนดังกล่าว 1. 3.3 m/s 2. 4.0 m/s 3. 5.6 m/s 4. 8.0 m/s 12. วัตถุ A มวล 40 กิโลกรัม ลื่นไถลมาจากทิศตะวันออกด้วยอัตราเร็ว 10 เมตรต่อวินาที และวัตถุ B มวล 60 กิโลกรัม ลื่นไถลมาจากทิศเหนือด้วยอัตราเร็ว 5 เมตรต่อวินาที มาชนกันแล้วเคลื่อนที่ติดไปด้วยกัน อัตราเร็วของวัตถุทั้งสองหลัง เกิดการชนกันเป็นเท่าไร (กาหนดให้พื้นไม่มีความฝืด)
  • 68. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 68 By Kru.P’New 68 13. ลูกปืนมวล 5 กรัม ถูกยิงด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที เข้าไปฝังในแท่งไม้มวล 5 กิโลกรัม ที่วางอยู่บนโต๊ะ ถ้าค่า สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างแท่งไม้กับโต๊ะโดยเฉลี่ยเท่ากับ 0.25 แท่งไม้จะไถลไปได้ไกลเท่าไร 1. 0.20 เมตร 2. 0.25 เมตร 3. 0.50 เมตร 4. 1.25 เมตร 14. ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กิโลกรัม กลิ้งเข้าชนแท่งไม้หนัก 4 กิโลกรัม ที่วางอยู่บนพื้นด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหว่างผิวของแท่งไม้กับพื้นเท่ากับ 0.2 หลังจากชนแล้วลูกเหล็กหยุดนิ่งกับที่ แท่งไม้จะ ไถลไปได้ไกลเท่าไร (Ent’ 2529) 1. 1.25 เมตร 2. 6.25 เมตร 3. 50.26 เมตร 4. 250 เมตร
  • 69. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 69 By Kru.P’New 69 15. รถยนต์คันหนึ่งมวล 2000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วชนกับรถยนต์อีกคันหนึ่ง มวล 3000 กิโลกรัม ซึ่งจอดอยู่นิ่ง ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกันและไถลไปได้ไกล 5 เมตร แล้วหยุด จงหาขนาดของแรงเสียดทาน ที่พื้นถนนกระทาต่อรถทั้งสองในหน่วยนิวตัน (Ent’ 2541) 16. ช่างไม้ใช้ค้อนมวล 200 กรัม ตีตะปูมวล 2 กรัม ในแนวราบ โดยความเร็วของค้อนก่อนกระทบตะปูเป็น 10 เมตร/วินาที และค้อนไม่กระดอนจากหัวตะปู ถ้าเนื้อไม้มีแรงต้านทานเฉลี่ย 1000 นิวตัน ตะปูเจาะลึกในเนื้อไม้กี่ เซนติเมตร (Ent’ 2534) 1. 0.1 2. 0.2 3. 1.0 4. 2.0
  • 70. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 70 By Kru.P’New 70 17. ลูกปืนมวล 4 กรัม มีความเร็ว 1000 เมตรต่อวินาที ยิงทะลุแผ่นไม้หนัก 800 กรัม ที่ห้อยแขวนไว้ด้วยเชือกยาว หลังจากทะลุแผ่นไม้ลูกปืนมีความเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาว่าแท่งไม้จะแกว่งขึ้นไปสูงจากหยุดนิ่งเท่าใด (Ent’ 2532) 1. 0.15 m 2. 0.20 m 3. 0.45 m 4. 0.60 m
  • 71. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 71 By Kru.P’New 71 โจทย์สาหรับข้อ 18-19 ปืนใหญ่และรถมีมวล 10000 กิโลกรัม ติดสปริงกันการสะท้อนถอยหลังดังรูป เมื่อยิงปืนใหญ่ปรากฏว่ากระสุน วิ่งออกไปด้วยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที 18. จงหาความเร็วของรถทันทีเมื่อยิงปืนใหญ่ ถ้ากระสุนมีมวล 10 กก. 1. 1 เมตร/วินาที 2. 2.5 เมตร/วินาที 3. 5 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที 19. ถ้าตัวรถและปืนใหญ่เคลื่อนที่ถอยหลังไปเพียง 0.2 เมตร จงหาค่านิจของสปริงในหน่วย นิวตัน/วินาที 1. 25 2. 3 100.4  3. 5 105.2  4. 6 104 20. ในการชนกันของวัตถุแบบยืดหยุ่น ข้อใดถูกต้อง (มช 2530) 1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัวแต่โมเมนตัมไม่คงตัว 2. โมเมนตัมมีค่าคงตัวแต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว 3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว 4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว 21. ในการชนกันของวัตถุแบบไม่ยืดหยุ่น ข้อใดถูกต้อง 1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัว แต่ โมเมนตัมไม่คงตัว 2. โมเมนตัมมีค่าคงตัว แต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว 3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว 4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว
  • 72. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 72 By Kru.P’New 72 22. มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่เข้าหากันบนพื้นไม้ที่ไม่มีความเสียดทานด้วยความเร็ว 12 เมตรต่อ วินาที และ 5 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ หลังจากชนกันมวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ไปในทิศเดิมด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อ วินาที และมวล 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 3 เมตรต่อวินาที การชนนี้เป็นการ ชนแบบยืดหยุ่น หรือไม่ยืดหยุ่น (มช 2528) 1. ยืดหยุ่น 2. ไม่ยืดหยุ่น 3. ไม่ทราบ ข้อมูลไม่เพียงพอ 4. เป็นทั้งยืดหยุ่น และไม่ยืดหยุ่น 23. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 5 เมตร/วินาที ชนกับมวล 2 กิโลกรัม ซึ่งวิ่งสวนมาด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที มีผลให้มวล 10 กิโลกรัม ลดความเร็วเหลือ 1 เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 2 กิโลกรัม มีความเร็วอย่างไร และการชนเป็นการชนแบบไหน 24. มวล 1 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ว 4 m/s เข้าชนมวล 2 kg เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันด้วยความเร็ว 2 m/s ถ้าการชนเป็นแบบยืดหยุ่นโดยสมบูรณ์ จงหาความเร็วหลังชนของมวลทั้งสอง
  • 73. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 73 By Kru.P’New 73 25. มวล m และ 2m แขวนกับเชือกน้าหนักเบาที่ยาวเท่ากันดังรูป ถ้าจับมวล m ให้สุงกว่า 2m เป็นระยะ h แล้วปล่อย ให้ตกมากระทบกับมวล 2m หลังจากกระทบกันแล้วมวล m หยุดนิ่ง จงคานวณว่ามวล 2m จะแกว่งขึ้นไปได้สูงสุดจาก ตาแหน่งเดิมเท่าไร และการชนเป็นแบบยืดหยุ่นหรือไม่ 1. h/2 เป็นการชนแบบยืดหยุ่น 2. h/2 เป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น 3. h/4 เป็นการชนแบบยืดหยุ่น 4. h/4 เป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น 26. มวล m วิ่งเข้าชนมวล M ที่ติดสปริงเบามีค่าคงตัวของสปริง k ด้วยความเร็ว u ดังรูป พลังงานจลน์ของระบบเป็น เท่าไหร เมื่อ m กับ M ใกล้กันที่สุด 1. 2 2 1 mu 2. 2 2 1 mu M m       3. 2 2 1 mu Mm M       + 4. 2 2 1 mu Mm m       +
  • 74. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 74 By Kru.P’New 74 27. ลูกปืนมวล 8 กรัม ยิงตรงไปยังท่อนไม้มวล 2.0 กิโลกรัม ซึ่งวางอยู่บนขอบโต๊ะพื้นลิ่นที่ความสูง 0.8 เมตร เมื่อ ลูกปืนกระทบท่อนไม้และฝังในเนื้อไม้ท่อนไม้เคลื่อนที่หล่นจากโต๊ะและตกถึงพื้นห่างจากโต๊ะ 2 เมตร จงหาอัตราเร็วของ ลูกปืนในหน่วย เมตร/วินาที
  • 75. P H Y S I C S - S M E 3/2 | 75 By Kru.P’New 75 28. ลูกกลมขนาดเท่ากัน 2 ลูก A และ B โดยลูก A วิ่งเข้าชนลูก B ซึ่งอยู่นิ่งในแนวไม่ผ่านจุดศูนย์กลาง ทาให้ลูก A กระเด็นเบี่ยงไปจากแนวเดิมเป็นมุม  60 ก่อนชนลูกกลม A มีความเร็ว 8 เมตรต่อวินาที และเป็นการชนแบบยืดหยุ่น หลังชนลูกกลม A และ B จะมีความเร็วเท่าใด mBvB