SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน กีฬาว่ายน้าให้ถึงทีมชาติ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน เลขที่ 40 ชั้น ม.6/7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน ม.6/7 เลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
กีฬาว่ายน้าให้ถึงทีมชาติ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
live for swim
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม
ระยะเวลาดาเนินงาน1-3 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
กีฬาว่ายน้า ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะมนุษย์สามารถว่ายน้าได้ตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งมนุษย์ที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ตามชายทะเล แม่น้า ลาคลอง และที่ราบลุ่มต่างๆ เช่น พวกเอสซีเรีย อียิปต์ กรีก และ
โรมัน มีการฝึกหัดว่ายน้ากันมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล เพราะมีผู้พบภาพวาดเกี่ยวกับการว่ายน้าในถ้าบนภูเขาแถบ
ทะเลทรายลิบยาน
การว่ายน้าในสมัยนั้นเพียงเพื่อให้สามารถว่ายน้าข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามได้ หรือเมื่อเกิดอุทกภัยน้าท่วมป่า
และที่อยู่อาศัยก็สามารถพาตัวไปในที่น้าท่วมไม่ถึงได้อย่างปลอดภัย
การว่ายน้าได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน แต่มีหลักฐานบันทึกไว้ไม่นานนัก ราล์ฟ
โทมัส ให้ชื่อแบบว่ายน้าที่มนุษย์ใช้ว่ายกันมาตั้งแต่เดิมว่า ฮิวแมน สโตร์ก นอกจากนี้พวกชนชาติสลาฟและพวก
สแกนดิเนเวียรู้จักการว่ายน้าอีกแบบหนึ่ง โดยใช้เท้าเคลื่อนไหวในน้าคล้ายกบว่ายน้า หรือที่เรียกว่าฟล็อกคิกแต่
วิธีการเคลื่อนไหวของท่าแบบนี้จะทาให้ว่ายน้าได้ไม่เร็วนัก
การแข่งขันว่ายน้าครั้งแรกได้จัดขึ้น วูลวิช บาร์ท ใกล้กับกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2416
การแข่งขันครั้งนั้นมีการแข่งขันเพียงแบบเดียวคือ แบบฟรีสไตล์ โดยผู้ว่ายน้าแต่ละคนจะว่ายแบบใดก็ได้ในการ
แข่งขันครั้งนี้ เจ อาเฮอร์ รัดเจน เป็นผู้ได้รับชัยชนะ โดยเขาได้ว่ายแบบเดียวกับพวกอินเดียแดงในอเมริกาใต้คือ
3
แบบยกแขนกลับเหนือน้า ซึ่งเป็นวิธีการว่ายน้าของเขาได้กลายเป็นแบบที่ได้รับความนิยมมากจนได้ชื่อว่า ท่าว่าย
น้าแบบทรัดเจน
ประชาชนชาวโลกได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการว่ายน้าเพิ่มมากขึ้น เมื่อเรือเอก Mathew Webb ได้ว่ายน้า
ข้ามช่องแคบอังกฤษจากเมืองโดเวอร์ คาเลียส เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2418 โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง 45 นาที
ด้วยการว่ายแบบกบ (Breast stroke) ข่าวความสาเร็จอันนี้ได้สร้างความพิศวงและตื่นเต้นไปทั่วโลก ต่อมาเด็กชาว
อเมริกันชื่อ แกนทูบ เอเดอรี ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469 ทาเวลาได้14 ชั่วโมง 31
นาที โดยว่ายน้าแบบท่าวัดวา จะเห็นได้ว่าในชั่วระยะเวลา 50 ปี
การว่ายน้าได้วิวัฒนาการก้าวหน้าขึ้นเป็นอย่างมาก ถ้าหากได้พิจารณาถึงเวลาของคนทั้งสองที่ทาได้แบบ
และวิธีว่ายน้าได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดความเร็วขึ้นเสมอ ในบรรดานักว่ายน้าทั่วไปโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งชาวแลนเคเชียร์และออสเตรเลีย ได้ดัดแปลงวิธีว่ายน้าแบบทรัดเจน ซึ่งก็ได้รับผลดีในเวลาต่อมา กล่าวคือ
บาร์นีย์คีแรน ชาวออสเตรเลียและ ที เอส แบ็ตเติร์สบี้ ชาวอังกฤษ ได้ว่ายน้าแบบที่ปรับปรุงมาจากทรัดเจน เป็นผู้
ครองตาแหน่งชนะเลิศของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2449-2415
อเล็กซ์ วิคแฮม ชาวเกาะโซโลมอนเป็นผู้ริเริ่มการว่ายน้าแบบท่าวัดวาและเป็นผู้ครองตาแหน่งชนะเลิศของ
โลก ระยะทาง 50 หลา เขาได้กล่าวว่าเด็กโซโลมอนทุกคนว่ายน้าแบบนี้ทั้งนั้น ต่อมาท่าว่ายน้าแบบวัดวาจึงเป็นที่
นิยมฝึกหัดกันโดยทั่วไป
กีฬาว่ายน้าได้จัดเข้าไว้ในการแข่งขันโอลิมปิกเมื่อปี พ.ศ. 2436 และได้จัดการแข่งขันมาจนถึงปัจจุบัน ด้วย
เหตุดังกล่าวกีฬาว่ายน้าก็ได้รับความสนใจจากคนทั่วไป และถือเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก มีการ
พัฒนากีฬาว่ายน้าให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นลาดับ โดยมีผู้คิดแบบและประเภทของการว่ายน้าเพื่อความสนุกสนาน และ
ความตื่นเต้นในการแข่งขันมากขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อร่างกายที่แข็งแรง
2. เพื่อจะได้พัฒนาตนเองให้ถึงทีมชาติ
3. เพื่อได้รู้เทคนิคในการว่ายน้า
4. เพื่อได้รับความรู้เกี่ยวกับการว่ายน้า
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับกีฬาว่ายน้า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
< ฝึกลอยตัวในน้าด้วยโฟม >
หลังจากเราคุ้นเคยกับการหายใจด้วยการลุกนั่งกับยืดตัวที่ขอบสระแล้วก็ลองใช้โฟมกันดู
- หาโฟมว่ายน้าสักแผ่นเอาแบบที่เราจับเหมาะๆนะ
- ทีนี้เราจะหันหน้าออกสระน้ากันแล้ว เอาง่ายๆก่อนเลย
- ถือโฟมแล้วเดินออกไปจากขอบสระประมาณ 5 เมตรก่อน แล้วหันหน้ากลับเข้าขอบสระ
4
- ถือโฟมเหยียดแขนตรงเหมือนว่าเราจะตีเท้าที่ขอบสระแล้ว
- จากนั้นก็เริ่มใช้ท่าเหยียดตรงนั้นแหละครับ มือถือโฟมเหยียดไปข้างหน้าพร้อมกับค่อยๆตีเท้าไปแบบไม่ช้าไม่เร็ว
- เพราะถ้าช้าไปตัวอาจจะจมได้และ ถ้าเร็วไปก็จะทาให้ตัวเราไม่นิ่งซึ่งอาจจะส่งผลให้ตกใจได้
- เมื่เริ่มตีเท้าจากจุด 5 เมตรแล้ว ให้ตีเท้าสลับเงยหน้าหายใจตามจังหวะของเราไปเรื่อยๆๆๆๆๆๆ
- จนถึงขอบสระ ก็ถือว่าสาเร็จ เย้ๆๆๆ
- ทาในระยะ 5 เมตรนี้ไปเรื่อยๆ จนชิน ก็ค่อยๆเพิ่มระยะไปเป็น 10 15 20 25 หรือตามแต่จะวางแผนกันไปครับ
- ฝึกบ่อยบ่อยให้เชี่ยวชาญ ได้ท่าเดียวให้รอดก็พอแล้วครับ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
5
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
6
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
Sattawat Backer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
bscreech
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
Fon Edu Com-sci
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
noeypornnutcha
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
Nuunamnoy Singkham
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
Gob Chantaramanee
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
Surapong Jakang
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
Winthai Booloo
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
teerachon
 

What's hot (20)

โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพรข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
ข้อตกลงตามมาตรฐานตำแหน่งรอง ผอ นนทพร
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
กาแฟ
กาแฟกาแฟ
กาแฟ
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 

Similar to กีฬาว่ายน้ำ1

แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
ApiwitKaewko
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
Chanin Monkai
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
Chanin Monkai
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
Kittinan42
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
2793233922
 

Similar to กีฬาว่ายน้ำ1 (20)

การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
แบดมินตัน
แบดมินตันแบดมินตัน
แบดมินตัน
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
แชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูดแชมพูมะกรูด
แชมพูมะกรูด
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Bipolar
BipolarBipolar
Bipolar
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
002
002002
002
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอมโครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอม
 

More from Nuttida Meepo (9)

กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1
 
23
2323
23
 
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
 
บาสเกตบอล
บาสเกตบอลบาสเกตบอล
บาสเกตบอล
 
ฟุตซอล
ฟุตซอลฟุตซอล
ฟุตซอล
 
การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1การเล่นสแนร์1
การเล่นสแนร์1
 
24
2424
24
 
คู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อกคู่มือการสร้างบล็อก
คู่มือการสร้างบล็อก
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 

กีฬาว่ายน้ำ1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน กีฬาว่ายน้าให้ถึงทีมชาติ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน เลขที่ 40 ชั้น ม.6/7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน ม.6/7 เลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) กีฬาว่ายน้าให้ถึงทีมชาติ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) live for swim ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย กฤตินันท์ สิทธิตัน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครู นันทิตา รัตนธรรม ระยะเวลาดาเนินงาน1-3 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) กีฬาว่ายน้า ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะมนุษย์สามารถว่ายน้าได้ตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งมนุษย์ที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ตามชายทะเล แม่น้า ลาคลอง และที่ราบลุ่มต่างๆ เช่น พวกเอสซีเรีย อียิปต์ กรีก และ โรมัน มีการฝึกหัดว่ายน้ากันมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล เพราะมีผู้พบภาพวาดเกี่ยวกับการว่ายน้าในถ้าบนภูเขาแถบ ทะเลทรายลิบยาน การว่ายน้าในสมัยนั้นเพียงเพื่อให้สามารถว่ายน้าข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามได้ หรือเมื่อเกิดอุทกภัยน้าท่วมป่า และที่อยู่อาศัยก็สามารถพาตัวไปในที่น้าท่วมไม่ถึงได้อย่างปลอดภัย การว่ายน้าได้มีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน แต่มีหลักฐานบันทึกไว้ไม่นานนัก ราล์ฟ โทมัส ให้ชื่อแบบว่ายน้าที่มนุษย์ใช้ว่ายกันมาตั้งแต่เดิมว่า ฮิวแมน สโตร์ก นอกจากนี้พวกชนชาติสลาฟและพวก สแกนดิเนเวียรู้จักการว่ายน้าอีกแบบหนึ่ง โดยใช้เท้าเคลื่อนไหวในน้าคล้ายกบว่ายน้า หรือที่เรียกว่าฟล็อกคิกแต่ วิธีการเคลื่อนไหวของท่าแบบนี้จะทาให้ว่ายน้าได้ไม่เร็วนัก การแข่งขันว่ายน้าครั้งแรกได้จัดขึ้น วูลวิช บาร์ท ใกล้กับกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2416 การแข่งขันครั้งนั้นมีการแข่งขันเพียงแบบเดียวคือ แบบฟรีสไตล์ โดยผู้ว่ายน้าแต่ละคนจะว่ายแบบใดก็ได้ในการ แข่งขันครั้งนี้ เจ อาเฮอร์ รัดเจน เป็นผู้ได้รับชัยชนะ โดยเขาได้ว่ายแบบเดียวกับพวกอินเดียแดงในอเมริกาใต้คือ
  • 3. 3 แบบยกแขนกลับเหนือน้า ซึ่งเป็นวิธีการว่ายน้าของเขาได้กลายเป็นแบบที่ได้รับความนิยมมากจนได้ชื่อว่า ท่าว่าย น้าแบบทรัดเจน ประชาชนชาวโลกได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับการว่ายน้าเพิ่มมากขึ้น เมื่อเรือเอก Mathew Webb ได้ว่ายน้า ข้ามช่องแคบอังกฤษจากเมืองโดเวอร์ คาเลียส เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2418 โดยใช้เวลาทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง 45 นาที ด้วยการว่ายแบบกบ (Breast stroke) ข่าวความสาเร็จอันนี้ได้สร้างความพิศวงและตื่นเต้นไปทั่วโลก ต่อมาเด็กชาว อเมริกันชื่อ แกนทูบ เอเดอรี ได้ว่ายน้าข้ามช่องแคบอังกฤษ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2469 ทาเวลาได้14 ชั่วโมง 31 นาที โดยว่ายน้าแบบท่าวัดวา จะเห็นได้ว่าในชั่วระยะเวลา 50 ปี การว่ายน้าได้วิวัฒนาการก้าวหน้าขึ้นเป็นอย่างมาก ถ้าหากได้พิจารณาถึงเวลาของคนทั้งสองที่ทาได้แบบ และวิธีว่ายน้าได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้เกิดความเร็วขึ้นเสมอ ในบรรดานักว่ายน้าทั่วไปโดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวแลนเคเชียร์และออสเตรเลีย ได้ดัดแปลงวิธีว่ายน้าแบบทรัดเจน ซึ่งก็ได้รับผลดีในเวลาต่อมา กล่าวคือ บาร์นีย์คีแรน ชาวออสเตรเลียและ ที เอส แบ็ตเติร์สบี้ ชาวอังกฤษ ได้ว่ายน้าแบบที่ปรับปรุงมาจากทรัดเจน เป็นผู้ ครองตาแหน่งชนะเลิศของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2449-2415 อเล็กซ์ วิคแฮม ชาวเกาะโซโลมอนเป็นผู้ริเริ่มการว่ายน้าแบบท่าวัดวาและเป็นผู้ครองตาแหน่งชนะเลิศของ โลก ระยะทาง 50 หลา เขาได้กล่าวว่าเด็กโซโลมอนทุกคนว่ายน้าแบบนี้ทั้งนั้น ต่อมาท่าว่ายน้าแบบวัดวาจึงเป็นที่ นิยมฝึกหัดกันโดยทั่วไป กีฬาว่ายน้าได้จัดเข้าไว้ในการแข่งขันโอลิมปิกเมื่อปี พ.ศ. 2436 และได้จัดการแข่งขันมาจนถึงปัจจุบัน ด้วย เหตุดังกล่าวกีฬาว่ายน้าก็ได้รับความสนใจจากคนทั่วไป และถือเป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก มีการ พัฒนากีฬาว่ายน้าให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเป็นลาดับ โดยมีผู้คิดแบบและประเภทของการว่ายน้าเพื่อความสนุกสนาน และ ความตื่นเต้นในการแข่งขันมากขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อร่างกายที่แข็งแรง 2. เพื่อจะได้พัฒนาตนเองให้ถึงทีมชาติ 3. เพื่อได้รู้เทคนิคในการว่ายน้า 4. เพื่อได้รับความรู้เกี่ยวกับการว่ายน้า ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับกีฬาว่ายน้า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) < ฝึกลอยตัวในน้าด้วยโฟม > หลังจากเราคุ้นเคยกับการหายใจด้วยการลุกนั่งกับยืดตัวที่ขอบสระแล้วก็ลองใช้โฟมกันดู - หาโฟมว่ายน้าสักแผ่นเอาแบบที่เราจับเหมาะๆนะ - ทีนี้เราจะหันหน้าออกสระน้ากันแล้ว เอาง่ายๆก่อนเลย - ถือโฟมแล้วเดินออกไปจากขอบสระประมาณ 5 เมตรก่อน แล้วหันหน้ากลับเข้าขอบสระ
  • 4. 4 - ถือโฟมเหยียดแขนตรงเหมือนว่าเราจะตีเท้าที่ขอบสระแล้ว - จากนั้นก็เริ่มใช้ท่าเหยียดตรงนั้นแหละครับ มือถือโฟมเหยียดไปข้างหน้าพร้อมกับค่อยๆตีเท้าไปแบบไม่ช้าไม่เร็ว - เพราะถ้าช้าไปตัวอาจจะจมได้และ ถ้าเร็วไปก็จะทาให้ตัวเราไม่นิ่งซึ่งอาจจะส่งผลให้ตกใจได้ - เมื่เริ่มตีเท้าจากจุด 5 เมตรแล้ว ให้ตีเท้าสลับเงยหน้าหายใจตามจังหวะของเราไปเรื่อยๆๆๆๆๆๆ - จนถึงขอบสระ ก็ถือว่าสาเร็จ เย้ๆๆๆ - ทาในระยะ 5 เมตรนี้ไปเรื่อยๆ จนชิน ก็ค่อยๆเพิ่มระยะไปเป็น 10 15 20 25 หรือตามแต่จะวางแผนกันไปครับ - ฝึกบ่อยบ่อยให้เชี่ยวชาญ ได้ท่าเดียวให้รอดก็พอแล้วครับ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
  • 5. 5 ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________