SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
รายงานเล่มนี้เ
กระแสไฟฟ้า              ค่าของแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดขึ้น
มากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับตำาแหน่งของขดลวดตัวนำาขณะหมุนตัด
กับเส้นแรงแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กนั้น ถ้าทิศทางการเคลื่อนที่
ของขดลวดตัวนำาตั้งฉากกับเส้นแรงแม่เหล็ก แรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้น
จะมีค่าสูงสุดและจะมีค่าน้อยลง เมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของขด
ลวดตัวนำาตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กในมุมน้อยกว่า 90 ๐ และจะมีค่า
เป็นศูนย์เมื่อขดลวดตัวนำาวางขนานกับเส้นแรงแม่เหล็ก




        จะเห็นว่าใน 1 วัฎจักรของการหมุนขดลวดตัวนำา คือ หมุนไป
360 ๐ ทางกลนำ้าจะเกิดรูปคลื่นไซน์ 1 ลูกคลื่น หรือ 1 วัฎจักร ถ้า
ขดลวดตัวนำานี้หมุนด้วยความเร็วคงที่และสภาพของเส้นแรงแม่
เหล็กมีความหนาแน่นเท่ากันตลอด รอบพื้นที่ของการตัดแรงดัน
ไฟฟ้าสลับรูปคลื่นไซน์ที่จะมีค่าคงทีและถ้ามีการหมุนของขดลวด
                                   ่
ต่อเนื่องตลอดไป จะทำาให้เกิดจำานวนรอบของแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยว
นำาต่อเนื่องกันไป นั่นคือการเกิดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
ค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับชั่วขณะ คือ ค่าของแรง
ไฟฟ้ากระแสสลับรูปคลื่นไซน์ ทีเราวัดได้ในแต่ละมุมของการหมุน
                              ่
ของขดลวดตัวนำาในเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า โดยมุมของการเคลื่อนที่นี้
วันเป็นองศา ซึงค่าของแรงดันชั่วขณะสามารถหาได้จากสมการ
               ่




      เมื่อแบ่งการหมุนของขดลวดตัวนำาใน 1 วัฎจักร (360 ๐) เมื่อ
คำานวณค่าแรงดันชั่วขณะที่เกิดขึ้น ณ มุมต่างๆ ตั้งแต่ตำาแหน่ง 0
( 0 องศา) ตำาแหน่ง 1 (30 องศา) และตำาแหน่ง 2, 3, 4 จนถึง
ตำาแหน่งที่ 12 โดยเพิ่มค่ามุมทีละ 30 ๐ เราจะได้รูปคลื่นไซน์ของ
แรงดันไฟฟ้าสลับที่เกิดขึ้นมีขนดดังรูป




      ความถี่ของกระแสสลับ (Frequency ตัวย่อ f) หมายถึง
จำานวนวัฏจักรของการเกิดรูปคลื่นไซน์ต่อเวลา 1 วินาที



      ถ้าเกิดรูปคลื่นไซน์ 2 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที ก็แสดงว่า
ไฟฟ้ากระแสสลับที่เกิดขึ้นมีความถี่ 2 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที หรือ
เรียกแทนในหน่วยเฮิรตซ์ (Hz) หรือความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ 50
เฮิรตซ์ ก็คือการเกิดรูปคลื่นไซน์จำานวน 50 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที
และจากรูป 4.2 รูปคลื่นไซน์นี้มีความถี่เท่ากับ 1 เฮิรตซ์ เป็นต้น
ค่าต่างๆ ทีสำาคัญของรูปคลื่นไซน์ นอกจากความถี่และคาบ
                  ่
เวลานั้นมีอีก 4 ค่า คือ ค่าสูงสุด(Maximum) ค่ายอดถึงยอด(Peak-
to-Peak) ค่าเฉลี่ย(Average) และค่าใช้งาน(Effective)




      ค่ายอดถึงยอด วัตถุจากจุดยอดของรูปคลื่นไซน์ด้านบวก
จนถึงจุดยอดของรูปคลื่นไซน์ด้านลบ นั่นคือ ค่ายอดถึงยอดเท่ากับ
2 เท่าของค่าสูงสุด
      ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยของรูปคลื่นไซน์นั้นเราพิจารณาเฉพาะด้าน
ใดด้านหนึ่ง คือด้านบวกหรือด้านลบเพียงด้านเดียว เพราะถ้า
พิจารณาทั้งวัฏจักรจะได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์ ดังนั้นค่าเฉลี่ยจึงเป็น
ปริมาณทางไฟตรง พิจารณาตั้งแต่ 0 องศา ถึง 180 องศา




     ค่าแรงดันใช้งาน (Effective Voltage) ปกติเมื่อนำามิเตอร์
ไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น AC.Voltmeter หรือ RMS. Voltmeter ไป
วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับที่เต้ารับในบ้านจะอ่านค่าได้ 220 V เมื่อ
นำาเครื่องมือวัดรูปร่างของรูปคลื่นไฟสลับ (ไซน์) ดังกล่าว เช่น นำา
ออสซิลโลสโคปไปวัดจะได้รูปคลื่นไซน์
ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current)
การศึกษาไฟฟ้ าสถิต (Electrostatic) ในบทที่ผานมาเป็นการ
                                                 ่
ศึกษากรณีที่ประจุไฟฟ้ าทีเกิดขึ้นไม่
                            ่
เคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่แบบระยะสั้นชั่วขณะเวลาหนึ่ง ต่อไปนี้
เป็นการศึกษาประจุที่เคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องซึ่ง
เราเรียกว่า กระแสไฟฟ้ าและ ถ้ากระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ครบรอบวง
ปิดเราจะเรียกว่า วงจรไฟฟ้ า (Electric
circuit) วงจรไฟฟ้ าเป็นพื้นฐานสำาคัญของการส่งพลังงานจากที่
หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในรูปแบบพลังงานไฟฟ้ า
เพื่อนำาไปเปลียนเป็นพลังงานรูปแบบอื่นให้เราใช้ประโยชน์กันทุก
               ่
วันนี้
การนำาไฟฟ้าของตัวกลางต่างๆ
การนำาไฟฟ้าในโลหะ
ในโลหะประกอบด้วย Valence electron ทีถูกยึดไว้อย่างหลอม ๆ
                                            ่
อิเล็กตรอนเหล่านี้จะหลุดจาก
อิเล็กตรอนได้ง่าย เมื่อหลุดแล้วจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระสามารถ
ไปได้ทวโลหะทั้งก้อน เรียกอิเล็กตรอน
          ั่
เหล่านีว่า อิเล็กตรอนอิสระ (free electron) ซึ่งอิเล็กตรอน
        ้
เหล่านี้จะเคลื่อนที่อย่างไร้ระเบียบไม่มีทิศทาง
แน่นอน การเคลื่อนที่แบบนี้เรียกว่า การเคลื่อนทีแบบบราวน์
                                                ่
ความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอนเป็น 0
เมื่อเราทำาให้ปลายโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์ไฟฟ้ าเกิดขึ้น โดย
ต่อปลายทั้งสองข้างของโลหะกับ
แหล่งกำาเนิดไฟฟ้ าจะทำาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่โดยมีความเร็ว
เฉลี่ยไม่เท่ากับ 0 เรียกว่าความเร็วลอยเลื่อน
(Drift velocity) ดังนั้นการนำาไฟฟ้ าในโลหะเกิดจากการ
เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ
การนำาไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ
หลอดสุญญากาศเป็นหลอดแก้วที่สูบอากาศออกหมด ส่วน
ประกอบหลักภายในจะมีขวสำาหรับให้
                            ั้
อิเล็กตรอนเรียกว่า ขัว แคโทด (Cathode) และขั้วสำาหรับรับ
                        ้
อิเล็กตรอนเรียกว่า ขัว อาโนด (Anode) หรือเพลต
                          ้
หลอดสุญญากาศ ทีมีเฉพาะ ขั้วแคโทดและ อาโนด เรียกว่าหลอด
                      ่
ไดโอด (Diode) หลอดประเภทอื่น
ก็จะมีส่วนประกอบที่มากกว่านี้ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน
สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
กระแสในหลอดสุญญากาศเกิดขึ้นได้อย่างไร?
ถ้าเราตอขัวบวกของแบตเตอรี่เข้ากบ ่ ั ้ ขั้วอาโนด และขัวลบที่ขั้ว
                                                      ้
แคโทดของหลอดไดโอด และทำาให้
แคโทดร้อน อิเล็กตรอนบางตัวจะหลุดออกจากแคโทด เป็น
อิเล็กตรอนอิสระ ดังนั้นถ้าเราต่อแหล่งกำาเนิด
ไฟฟ้ ากับแคโทดและแอโนด โดยให้โดยศักย์ไฟฟ้ าทีแอโนดสูง
                                                    ่
กว่า (ขั้วบวกต่อกับแอดโนด ขัวลบต่อกับ
                              ้
แคโทด) สนามไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นจะทำาให้อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่
ไปยังแอโนด จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้น
ในวงจร ดังนั้นการนำาไฟฟ้ าในไดโอดเกิดจากการเคลื่อนที่
ของอิเล็กตรอนอิสระ แล้วถ้าเราต่อสลับขั้วจะนำา
ไฟฟ้าได้หรือไม่?
นอกจากนี้ยังมีหลอดสุญญากาศที่ใช้ความร้อนจากแสงทำาให้
อิเล็กตรอนหลุดจากแคโทดอีกด้วยเรียกหลอด
ประเภทนี้ว่า หลอดโฟโตอิเล็กตริก นอกจากนี้สมบัติของหลอดได
โอดเรานำามาใช้ประกอบเป็นอุปกรณ์
เปลียนไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง
     ่
การนำาไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์
สารอิเล็กโทรไลต์เป็นสารละลายทีนำาไฟฟ้ าได้ เช่น สารละลาย
                                    ่
ของกรด เบส หรือเกลือ ไม่ว่าจะเป็น
สารละลายเกลือกำามะถัน สารละลายเบสโซเดียมไฮดรอกไซด์
เกลือซัลเฟตเป็นต้น โดย
กระแสไฟฟ้ าเกิดจากการเคลื่อนที่ของไอออนที่เกิดจากการแตก
ตัวของกรด เบส หรือ เกลือ การนำาไฟฟ้ าในอิ
เล็กโทไลต์ ทำาให้เกิดขึ้นโดยจุ่มแผ่นโลหะ 2 แผ่น แผ่นหนึงต่อเข้า
                                                        ่
กับขั้วบวก และอีกแผ่นต่อกับขั้วลบ ลงไป
ในอิเล็กโทรไลต์ แท่งแผ่นโลหะ จะทำาหน้าที่เป็นขัวบวก และ
                                                 ้
ขั้วลบ ทำาให้เกิดสนามไฟฟ้ า ผ่านอิเล็กโทรไลต์
ซึ่งส่งผลให้ ไอออนบวก เคลื่อนทีไปยังขัวลบ ไอออนลบ เคลื่อนที่
                                  ่     ้
ไปยังขั้วบวก จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้ า
เกิดขึ้น ดังนั้นกระแสไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ จึงเกิดจากการ
เคลื่อนที่ ของทังประจุบวก และประจุลบ
                  ้
หลักการนี้การนำาไปใช้ประโยชน์ในการชุบโลหะ และการแยกธาตุ
บริสทธ์ิ เมื่อต้องการชุบวัตถุด้วย
     ุ
โลหะชนิดใดก็ต้องใช้อิเล็กโทไลต์ที่มไอออนชนิดนั้น เพื่อให้
                                      ี
ไอออนมาเกาะ
สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
3
การนำาไฟฟ้ าในหลอดสุญญากาศ
หลอดบรรจุแก็สเป็นหลอดสุญญากาศที่บรรจุแก็สบางชนิดลงไป
เป็นปริมาณน้อย เช่น ไฮโดรเจน
นีออน อาร์กอน หรือ ไอปรอท ความดันภายในหลอดจะตำ่ากว่า
ความดันบรรยากาศมาก ที่ปลายขั้วหลอดทั้
สองข้างจะต่อกับขั้วไฟฟ้ า ถ้าความต่างศักย์ สูงพอจะทำาให้มี
กระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้นและมีแสงสีต่างๆ ตาม
คุณสมบัติแก็สที่ใส่ในหลอด เช่นหลอดไฟโฆษณาต่างๆ
กระแสเกิดขึ้นจาก เมื่อเราให้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วมากๆ ทำาให้
เกิดสนามไฟฟ้ า โมเลกุลของแก็ส
จะแตกตัว เป็นไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ โดยไอออนบวก
จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้ าลบ
อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้ าบวก ดังนั้นจะเห็น
ว่าการนำาไฟฟ้าของหลอดบรรจุแก๊สเกิดจาก
การเคลื่อนที่ของไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ
การนำาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำา (Semiconductor)
สารกึ่งตัวนำาเป็นสารที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้ าอยูระหว่างตัวนำาและ
                                                ่
ฉนวน พิจารณาโครงสร้างของสาร
กึ่งตัวนำาเช่น ซิลิกอน พบว่า Valence Electron ของแต่ละตัวจะมี
พันธะกับ Valence Electron ข้างเคียง ดังรูป
1.1 และ 1.2 จึงไม่มีอิเล็กตรอนอิสระที่จะนำาไฟฟ้ าได้
ถ้าใส่สนามไฟฟ้ าข้าไป หรือ ให้ความร้อนมากพอ Valence
Electron สามารถหลุดเป็นอิสระได้ ทำาให้เกิด
ช่องว่างเรียกว่า โฮล ซึ่งมีลักษณะคล้ายประจุไฟฟ้ าบวก แรง
เนื่องจากสนามไฟฟ้ าทีกระทำาต่อ
                         ่
สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
4
อิเล็กตรอนอิสระและโฮลจะมีทิศตรงข้ามกัน ทำาให้มันเคลื่อนทีใน   ่
ทิศตรงข้ามกัน โดยอิเล็กตรอนอิสระ
เคลื่อนที่ตรงข้ามกับสนาม โฮลเคลื่อนที่ทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า
ทำาให้เกิดการนำาไฟฟ้ าขึ้น ดังนั้นการนำาไฟฟ้า
ของสารกึ่งตัวนำาเกิดจากการเคลื่อนที่ของ โฮล และอิเล็กตรอน
อิสระ
1. กระแสไฟฟ้า (Electric current)
กระแสไฟฟ้ าคือ การเคลื่อนที่ของประจุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
กรณีที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ าในวัสดุ
ตัวนำา ไม่ได้แปลว่าไม่มีประจุไฟฟ้ าในวัสดุนั้น ตัวอย่างเช่นวัสดุ
ตัวนำาพวกลวดโลหะ พาหะในการถ่ายเท
ประจุไฟฟ้ าคืออิเล็กตรอนอิสระ (Free electron) อิเล็กตรอนอิสระ
เหล่านี้จะเคลื่อนที่โดยไม่มทิศทางแน่นอน
                            ี
(random) ดังรูปที่ 2.1 ทำาให้ไม่เกิดการไหลของประจุไฟฟ้ าไป
ทางใดทางหนึ่งอย่างแน่นอน จึงถือว่าไม่มี
กระแสไฟฟ้ า แต่ถ้าต่อปลายทั้งสองข้างของลวดตัวนำากับขั้วของ
เซลล์ไฟฟ้ า หรือ แบตเตอรี่ จะทำาให้เกิด
สนามไฟฟ้า E
v
ทีทุกจุดในเส้นลวดนั้น และทำาให้เกิดแรงกระทำาต่ออิเล็กตรอน
  ่
ทำาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไป
ในทิศเดียวกันตามแรง F qE
vv
= และเนื่องจากประจุของอิเล็กตรอนเป็น –e ทำาให้ประจุลบ
เคลื่อนที่ในทิศตรง
ข้ามกับทิศของสนามไฟฟ้ า การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ านีทำาให้
                                                          ้
เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น เรากำาหนดขนาดของ
กระแสไฟฟ้ าทีผ่านพื้นที่หน้าตัดใดๆ ด้วยอัตราการถ่ายเท
                ่
ประจุไฟฟ้ า q ผ่านพื้นที่หน้าตัดนั้น ๆ นั่นคือถ้ามี
ประจุเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดใดๆ ในเวลา t วินาที กระแสไฟฟ้ า
มีค่า เท่ากับ
t
I = q (2.1)
ในระบบเอสไอ (SI Unit) I มีหน่วยเป็น C/s หรือ แอมแปร์
(ampere) ใช้อักษรย่อ A เพื่อเป็นเกียรติ
แก่ อองเดร-มารี อองแปร์ (André Marie Ampére) นักฟิสิกส์ชาว
ฝรั่งเศสผู้ค้นพบ
-

More Related Content

What's hot

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThitikan
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...suffaval
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 

What's hot (12)

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
กระแสไฟฟ้า กฎของโอห์ม ความต้านทานไฟฟ้า สภาพนำไฟฟ้า การต่อตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้...
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 

Viewers also liked

เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...Veerahan Rattanaveerapong
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7waratchaya603
 
Tema 13: La disciplina
Tema 13: La disciplinaTema 13: La disciplina
Tema 13: La disciplinamanueldl123
 
программы для обучения печати слепым методом
программы для обучения печати слепым методомпрограммы для обучения печати слепым методом
программы для обучения печати слепым методомUliana12345
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์jupjangny
 
Para entender mejor mymedilife slideshare
Para entender mejor mymedilife slidesharePara entender mejor mymedilife slideshare
Para entender mejor mymedilife slidesharemymedilife
 
Thema 3 les 10 - het interview
Thema 3   les 10 - het interviewThema 3   les 10 - het interview
Thema 3 les 10 - het interviewIve Hapers
 
AS Media Evaluation
AS Media EvaluationAS Media Evaluation
AS Media EvaluationBenTibbits
 
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศKhemjira_P
 
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.Марина Корчагина
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน Moomy Momay
 
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2นักออกแบบผลิตภัณฑ์2
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2Saruda Kaorobpapong
 
สังคมศึกษา 51
สังคมศึกษา 51สังคมศึกษา 51
สังคมศึกษา 51Nararit Poweang
 

Viewers also liked (17)

เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
7d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe87d19c38f f284-dfe8
7d19c38f f284-dfe8
 
Tema 13: La disciplina
Tema 13: La disciplinaTema 13: La disciplina
Tema 13: La disciplina
 
программы для обучения печати слепым методом
программы для обучения печати слепым методомпрограммы для обучения печати слепым методом
программы для обучения печати слепым методом
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
Cantucci Recipe eng
Cantucci Recipe engCantucci Recipe eng
Cantucci Recipe eng
 
Para entender mejor mymedilife slideshare
Para entender mejor mymedilife slidesharePara entender mejor mymedilife slideshare
Para entender mejor mymedilife slideshare
 
Thema 3 les 10 - het interview
Thema 3   les 10 - het interviewThema 3   les 10 - het interview
Thema 3 les 10 - het interview
 
AS Media Evaluation
AS Media EvaluationAS Media Evaluation
AS Media Evaluation
 
ประเภทของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ
ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.
Мастерская You2Bических роликов. Продающее видео.
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2นักออกแบบผลิตภัณฑ์2
นักออกแบบผลิตภัณฑ์2
 
เฉลย Onet 51
เฉลย Onet 51เฉลย Onet 51
เฉลย Onet 51
 
สังคมศึกษา 51
สังคมศึกษา 51สังคมศึกษา 51
สังคมศึกษา 51
 

Similar to พัชรินทร์

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอKunthida Kik
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6Thitikan
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าAtjimaice
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

Similar to พัชรินทร์ (20)

Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6งานนำเสนอ กลุ่มที่6
งานนำเสนอ กลุ่มที่6
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

พัชรินทร์

  • 2. กระแสไฟฟ้า ค่าของแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดขึ้น มากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับตำาแหน่งของขดลวดตัวนำาขณะหมุนตัด กับเส้นแรงแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กนั้น ถ้าทิศทางการเคลื่อนที่ ของขดลวดตัวนำาตั้งฉากกับเส้นแรงแม่เหล็ก แรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้น จะมีค่าสูงสุดและจะมีค่าน้อยลง เมื่อทิศทางการเคลื่อนที่ของขด ลวดตัวนำาตัดกับเส้นแรงแม่เหล็กในมุมน้อยกว่า 90 ๐ และจะมีค่า เป็นศูนย์เมื่อขดลวดตัวนำาวางขนานกับเส้นแรงแม่เหล็ก จะเห็นว่าใน 1 วัฎจักรของการหมุนขดลวดตัวนำา คือ หมุนไป 360 ๐ ทางกลนำ้าจะเกิดรูปคลื่นไซน์ 1 ลูกคลื่น หรือ 1 วัฎจักร ถ้า ขดลวดตัวนำานี้หมุนด้วยความเร็วคงที่และสภาพของเส้นแรงแม่ เหล็กมีความหนาแน่นเท่ากันตลอด รอบพื้นที่ของการตัดแรงดัน ไฟฟ้าสลับรูปคลื่นไซน์ที่จะมีค่าคงทีและถ้ามีการหมุนของขดลวด ่ ต่อเนื่องตลอดไป จะทำาให้เกิดจำานวนรอบของแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยว นำาต่อเนื่องกันไป นั่นคือการเกิดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
  • 3. ค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับชั่วขณะ คือ ค่าของแรง ไฟฟ้ากระแสสลับรูปคลื่นไซน์ ทีเราวัดได้ในแต่ละมุมของการหมุน ่ ของขดลวดตัวนำาในเครื่องกำาเนิดไฟฟ้า โดยมุมของการเคลื่อนที่นี้ วันเป็นองศา ซึงค่าของแรงดันชั่วขณะสามารถหาได้จากสมการ ่ เมื่อแบ่งการหมุนของขดลวดตัวนำาใน 1 วัฎจักร (360 ๐) เมื่อ คำานวณค่าแรงดันชั่วขณะที่เกิดขึ้น ณ มุมต่างๆ ตั้งแต่ตำาแหน่ง 0 ( 0 องศา) ตำาแหน่ง 1 (30 องศา) และตำาแหน่ง 2, 3, 4 จนถึง ตำาแหน่งที่ 12 โดยเพิ่มค่ามุมทีละ 30 ๐ เราจะได้รูปคลื่นไซน์ของ แรงดันไฟฟ้าสลับที่เกิดขึ้นมีขนดดังรูป ความถี่ของกระแสสลับ (Frequency ตัวย่อ f) หมายถึง จำานวนวัฏจักรของการเกิดรูปคลื่นไซน์ต่อเวลา 1 วินาที ถ้าเกิดรูปคลื่นไซน์ 2 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที ก็แสดงว่า ไฟฟ้ากระแสสลับที่เกิดขึ้นมีความถี่ 2 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที หรือ เรียกแทนในหน่วยเฮิรตซ์ (Hz) หรือความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ 50 เฮิรตซ์ ก็คือการเกิดรูปคลื่นไซน์จำานวน 50 วัฏจักรต่อเวลา 1 วินาที และจากรูป 4.2 รูปคลื่นไซน์นี้มีความถี่เท่ากับ 1 เฮิรตซ์ เป็นต้น
  • 4. ค่าต่างๆ ทีสำาคัญของรูปคลื่นไซน์ นอกจากความถี่และคาบ ่ เวลานั้นมีอีก 4 ค่า คือ ค่าสูงสุด(Maximum) ค่ายอดถึงยอด(Peak- to-Peak) ค่าเฉลี่ย(Average) และค่าใช้งาน(Effective) ค่ายอดถึงยอด วัตถุจากจุดยอดของรูปคลื่นไซน์ด้านบวก จนถึงจุดยอดของรูปคลื่นไซน์ด้านลบ นั่นคือ ค่ายอดถึงยอดเท่ากับ 2 เท่าของค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยของรูปคลื่นไซน์นั้นเราพิจารณาเฉพาะด้าน ใดด้านหนึ่ง คือด้านบวกหรือด้านลบเพียงด้านเดียว เพราะถ้า พิจารณาทั้งวัฏจักรจะได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์ ดังนั้นค่าเฉลี่ยจึงเป็น ปริมาณทางไฟตรง พิจารณาตั้งแต่ 0 องศา ถึง 180 องศา ค่าแรงดันใช้งาน (Effective Voltage) ปกติเมื่อนำามิเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น AC.Voltmeter หรือ RMS. Voltmeter ไป วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับที่เต้ารับในบ้านจะอ่านค่าได้ 220 V เมื่อ นำาเครื่องมือวัดรูปร่างของรูปคลื่นไฟสลับ (ไซน์) ดังกล่าว เช่น นำา ออสซิลโลสโคปไปวัดจะได้รูปคลื่นไซน์
  • 5. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) การศึกษาไฟฟ้ าสถิต (Electrostatic) ในบทที่ผานมาเป็นการ ่ ศึกษากรณีที่ประจุไฟฟ้ าทีเกิดขึ้นไม่ ่ เคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่แบบระยะสั้นชั่วขณะเวลาหนึ่ง ต่อไปนี้ เป็นการศึกษาประจุที่เคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องซึ่ง เราเรียกว่า กระแสไฟฟ้ าและ ถ้ากระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ครบรอบวง ปิดเราจะเรียกว่า วงจรไฟฟ้ า (Electric circuit) วงจรไฟฟ้ าเป็นพื้นฐานสำาคัญของการส่งพลังงานจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในรูปแบบพลังงานไฟฟ้ า เพื่อนำาไปเปลียนเป็นพลังงานรูปแบบอื่นให้เราใช้ประโยชน์กันทุก ่ วันนี้
  • 6. การนำาไฟฟ้าของตัวกลางต่างๆ การนำาไฟฟ้าในโลหะ ในโลหะประกอบด้วย Valence electron ทีถูกยึดไว้อย่างหลอม ๆ ่ อิเล็กตรอนเหล่านี้จะหลุดจาก อิเล็กตรอนได้ง่าย เมื่อหลุดแล้วจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระสามารถ ไปได้ทวโลหะทั้งก้อน เรียกอิเล็กตรอน ั่ เหล่านีว่า อิเล็กตรอนอิสระ (free electron) ซึ่งอิเล็กตรอน ้ เหล่านี้จะเคลื่อนที่อย่างไร้ระเบียบไม่มีทิศทาง แน่นอน การเคลื่อนที่แบบนี้เรียกว่า การเคลื่อนทีแบบบราวน์ ่ ความเร็วเฉลี่ยของอิเล็กตรอนเป็น 0 เมื่อเราทำาให้ปลายโลหะทั้งสองมีความต่างศักย์ไฟฟ้ าเกิดขึ้น โดย ต่อปลายทั้งสองข้างของโลหะกับ แหล่งกำาเนิดไฟฟ้ าจะทำาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่โดยมีความเร็ว เฉลี่ยไม่เท่ากับ 0 เรียกว่าความเร็วลอยเลื่อน (Drift velocity) ดังนั้นการนำาไฟฟ้ าในโลหะเกิดจากการ เคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระ การนำาไฟฟ้าในหลอดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศเป็นหลอดแก้วที่สูบอากาศออกหมด ส่วน ประกอบหลักภายในจะมีขวสำาหรับให้ ั้ อิเล็กตรอนเรียกว่า ขัว แคโทด (Cathode) และขั้วสำาหรับรับ ้ อิเล็กตรอนเรียกว่า ขัว อาโนด (Anode) หรือเพลต ้ หลอดสุญญากาศ ทีมีเฉพาะ ขั้วแคโทดและ อาโนด เรียกว่าหลอด ่ ไดโอด (Diode) หลอดประเภทอื่น ก็จะมีส่วนประกอบที่มากกว่านี้ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กระแสในหลอดสุญญากาศเกิดขึ้นได้อย่างไร? ถ้าเราตอขัวบวกของแบตเตอรี่เข้ากบ ่ ั ้ ขั้วอาโนด และขัวลบที่ขั้ว ้ แคโทดของหลอดไดโอด และทำาให้ แคโทดร้อน อิเล็กตรอนบางตัวจะหลุดออกจากแคโทด เป็น อิเล็กตรอนอิสระ ดังนั้นถ้าเราต่อแหล่งกำาเนิด ไฟฟ้ ากับแคโทดและแอโนด โดยให้โดยศักย์ไฟฟ้ าทีแอโนดสูง ่ กว่า (ขั้วบวกต่อกับแอดโนด ขัวลบต่อกับ ้ แคโทด) สนามไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นจะทำาให้อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ ไปยังแอโนด จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้น ในวงจร ดังนั้นการนำาไฟฟ้ าในไดโอดเกิดจากการเคลื่อนที่ ของอิเล็กตรอนอิสระ แล้วถ้าเราต่อสลับขั้วจะนำา
  • 7. ไฟฟ้าได้หรือไม่? นอกจากนี้ยังมีหลอดสุญญากาศที่ใช้ความร้อนจากแสงทำาให้ อิเล็กตรอนหลุดจากแคโทดอีกด้วยเรียกหลอด ประเภทนี้ว่า หลอดโฟโตอิเล็กตริก นอกจากนี้สมบัติของหลอดได โอดเรานำามาใช้ประกอบเป็นอุปกรณ์ เปลียนไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ่ การนำาไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ สารอิเล็กโทรไลต์เป็นสารละลายทีนำาไฟฟ้ าได้ เช่น สารละลาย ่ ของกรด เบส หรือเกลือ ไม่ว่าจะเป็น สารละลายเกลือกำามะถัน สารละลายเบสโซเดียมไฮดรอกไซด์ เกลือซัลเฟตเป็นต้น โดย กระแสไฟฟ้ าเกิดจากการเคลื่อนที่ของไอออนที่เกิดจากการแตก ตัวของกรด เบส หรือ เกลือ การนำาไฟฟ้ าในอิ เล็กโทไลต์ ทำาให้เกิดขึ้นโดยจุ่มแผ่นโลหะ 2 แผ่น แผ่นหนึงต่อเข้า ่ กับขั้วบวก และอีกแผ่นต่อกับขั้วลบ ลงไป ในอิเล็กโทรไลต์ แท่งแผ่นโลหะ จะทำาหน้าที่เป็นขัวบวก และ ้ ขั้วลบ ทำาให้เกิดสนามไฟฟ้ า ผ่านอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งส่งผลให้ ไอออนบวก เคลื่อนทีไปยังขัวลบ ไอออนลบ เคลื่อนที่ ่ ้ ไปยังขั้วบวก จึงทำาให้มีกระแสไฟฟ้ า เกิดขึ้น ดังนั้นกระแสไฟฟ้าในอิเล็กโทรไลต์ จึงเกิดจากการ เคลื่อนที่ ของทังประจุบวก และประจุลบ ้ หลักการนี้การนำาไปใช้ประโยชน์ในการชุบโลหะ และการแยกธาตุ บริสทธ์ิ เมื่อต้องการชุบวัตถุด้วย ุ โลหะชนิดใดก็ต้องใช้อิเล็กโทไลต์ที่มไอออนชนิดนั้น เพื่อให้ ี ไอออนมาเกาะ สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 3 การนำาไฟฟ้ าในหลอดสุญญากาศ หลอดบรรจุแก็สเป็นหลอดสุญญากาศที่บรรจุแก็สบางชนิดลงไป เป็นปริมาณน้อย เช่น ไฮโดรเจน นีออน อาร์กอน หรือ ไอปรอท ความดันภายในหลอดจะตำ่ากว่า ความดันบรรยากาศมาก ที่ปลายขั้วหลอดทั้ สองข้างจะต่อกับขั้วไฟฟ้ า ถ้าความต่างศักย์ สูงพอจะทำาให้มี กระแสไฟฟ้ าเกิดขึ้นและมีแสงสีต่างๆ ตาม คุณสมบัติแก็สที่ใส่ในหลอด เช่นหลอดไฟโฆษณาต่างๆ
  • 8. กระแสเกิดขึ้นจาก เมื่อเราให้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วมากๆ ทำาให้ เกิดสนามไฟฟ้ า โมเลกุลของแก็ส จะแตกตัว เป็นไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ โดยไอออนบวก จะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้ าลบ อิเล็กตรอนอิสระจะเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้ าบวก ดังนั้นจะเห็น ว่าการนำาไฟฟ้าของหลอดบรรจุแก๊สเกิดจาก การเคลื่อนที่ของไอออนบวก และอิเล็กตรอนอิสระ การนำาไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำา (Semiconductor) สารกึ่งตัวนำาเป็นสารที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้ าอยูระหว่างตัวนำาและ ่ ฉนวน พิจารณาโครงสร้างของสาร กึ่งตัวนำาเช่น ซิลิกอน พบว่า Valence Electron ของแต่ละตัวจะมี พันธะกับ Valence Electron ข้างเคียง ดังรูป 1.1 และ 1.2 จึงไม่มีอิเล็กตรอนอิสระที่จะนำาไฟฟ้ าได้ ถ้าใส่สนามไฟฟ้ าข้าไป หรือ ให้ความร้อนมากพอ Valence Electron สามารถหลุดเป็นอิสระได้ ทำาให้เกิด ช่องว่างเรียกว่า โฮล ซึ่งมีลักษณะคล้ายประจุไฟฟ้ าบวก แรง เนื่องจากสนามไฟฟ้ าทีกระทำาต่อ ่ สาขาฟิสิกส์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 4 อิเล็กตรอนอิสระและโฮลจะมีทิศตรงข้ามกัน ทำาให้มันเคลื่อนทีใน ่ ทิศตรงข้ามกัน โดยอิเล็กตรอนอิสระ เคลื่อนที่ตรงข้ามกับสนาม โฮลเคลื่อนที่ทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า ทำาให้เกิดการนำาไฟฟ้ าขึ้น ดังนั้นการนำาไฟฟ้า ของสารกึ่งตัวนำาเกิดจากการเคลื่อนที่ของ โฮล และอิเล็กตรอน อิสระ 1. กระแสไฟฟ้า (Electric current) กระแสไฟฟ้ าคือ การเคลื่อนที่ของประจุจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง กรณีที่ไม่มีกระแสไฟฟ้ าในวัสดุ ตัวนำา ไม่ได้แปลว่าไม่มีประจุไฟฟ้ าในวัสดุนั้น ตัวอย่างเช่นวัสดุ ตัวนำาพวกลวดโลหะ พาหะในการถ่ายเท ประจุไฟฟ้ าคืออิเล็กตรอนอิสระ (Free electron) อิเล็กตรอนอิสระ เหล่านี้จะเคลื่อนที่โดยไม่มทิศทางแน่นอน ี (random) ดังรูปที่ 2.1 ทำาให้ไม่เกิดการไหลของประจุไฟฟ้ าไป ทางใดทางหนึ่งอย่างแน่นอน จึงถือว่าไม่มี กระแสไฟฟ้ า แต่ถ้าต่อปลายทั้งสองข้างของลวดตัวนำากับขั้วของ เซลล์ไฟฟ้ า หรือ แบตเตอรี่ จะทำาให้เกิด
  • 9. สนามไฟฟ้า E v ทีทุกจุดในเส้นลวดนั้น และทำาให้เกิดแรงกระทำาต่ออิเล็กตรอน ่ ทำาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไป ในทิศเดียวกันตามแรง F qE vv = และเนื่องจากประจุของอิเล็กตรอนเป็น –e ทำาให้ประจุลบ เคลื่อนที่ในทิศตรง ข้ามกับทิศของสนามไฟฟ้ า การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ านีทำาให้ ้ เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น เรากำาหนดขนาดของ กระแสไฟฟ้ าทีผ่านพื้นที่หน้าตัดใดๆ ด้วยอัตราการถ่ายเท ่ ประจุไฟฟ้ า q ผ่านพื้นที่หน้าตัดนั้น ๆ นั่นคือถ้ามี ประจุเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดใดๆ ในเวลา t วินาที กระแสไฟฟ้ า มีค่า เท่ากับ t I = q (2.1) ในระบบเอสไอ (SI Unit) I มีหน่วยเป็น C/s หรือ แอมแปร์ (ampere) ใช้อักษรย่อ A เพื่อเป็นเกียรติ แก่ อองเดร-มารี อองแปร์ (André Marie Ampére) นักฟิสิกส์ชาว ฝรั่งเศสผู้ค้นพบ -