SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
รายงาน 
การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ 
การท่าเรือแห่งประเทศไทย 
ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
เสนอ 
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชนิจ เนาวพันธ์ 
จัดทาโดย 
1. นายกฤษฎา ด้วงช้าง รหัส 5430160032 หมู่เรียน 850 
2. นางสาวยุวดี ฤทธิรงค์ รหัส 5430160644 หมู่เรียน 850 
3. นางสาวณัฐกมล เต่าทอง รหัส 5430160245 หมู่เรียน 850 
4. นางสาวสุภาภรณ์ สุระเสน รหัส 5430160849 หมู่เรียน 850 
5. นางสาวสุรีรัตน์ วรสุข รหัส 5430160865 หมู่เรียน 850 
วิชาการบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 03760433 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คานา 
รายงานกฎหมายสิ่งแวดล้อมเล่มนี้ คณะผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบ สาหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการของบริษัท วีนิไทย จากัด (มหาชน) โดยเนื้อหามุ่งเน้นให้ผู้ที่สนใจทุกท่าน เข้าใจถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 หลักจริยธรรม ศีลธรรม ที่จะต้องรับผิดชอบจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท พร้อมทั้งได้เรียนรู้การดาเนินการแก้ไข สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่ายภายในบริษัทด้วย เพื่อทุกท่านจะได้ทราบถึงกรอบงาน ปัจจัยที่ทาให้องค์กรประสบ ความสาเร็จและนามาปรับใช้ในการทางานต่อไป 
นอกจากนี้ยังสามารถนาหลักการหลายๆอย่างไปปรับใช้ได้และเนื้อหาในเล่มนี้ก็มิใช่เรื่อง กฎหมาย และประเด็นสภาพแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังกล่าวถึงหลักการจัดการมลพิษ แนวทางในการ จัดมลพิษ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิดต่างๆ การจัดการรายงานต่อหน้าสาธารณชน เป็นต้น 
รายงานเล่มนี้ได้รวบรวมองค์ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการไว้ส่วน หนึ่ง ทั้งเนื้อหาข่าว การวิเคราะห์พร้อมทั้งแนวคิดต่างๆ ผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์ที่ได้ประสิทธิ ประสาทวิชาให้ ตลอดจนองค์กรต่างๆที่ได้เผยแพร่ความรู้ บทความต่างๆ ทาให้ผู้จัดทาสามารถ จัดทารายงานเล่มนี้ออกมาได้สาเร็จ 
คณะผู้จัดทา
(1) 
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
สารบัญตาราง (3) 
สารบัญภาพ (4) 
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 
2. บทวิเคราะห์องค์ประกอบกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 
2.1 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ 
ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EIA) 1 
2.2 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ 
ต่อสุขภาพของประชาชน(EHIA) 1 
2.3 จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 
และผู้มีส่วนได้เสีย (การทาประชาพิจารณ์)รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ 1 
2.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 1 
3. องค์ประกอบตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 672 
3.1 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ 
ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม(EIA) 2 
3.2 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ 
ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน (EHIA) 6 
3.3 กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย 11 
3.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 17 
4. หลักการจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 20 
4.1 ผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย 
ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 20 
4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา67 20
(2) 
สารบัญ(ต่อ) 
เรื่อง หน้า 
4.3 ข้อคิดเห็นต่อการดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 20 
5. ตัวอย่างโครงการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน (EHIA) 23 
5.1 ข้อมูลองค์กร 23 
5.2 การดาเนินการของการท่าเรือแห่งประเทศไทย 25 
5.3 ผลกระทบที่เกิดจากการก่อสร้างและดาเนินการโครงการก่อสร้าง 
ท่าเรือแหลมฉบัง 26 
5.4 ผลกระทบที่การท่าเรือแห่งประเทศไทยได้รับ 31 
5.5 ผลกระทบต่อการจัดการทางบัญชี 31
(3) 
สารบัญตาราง 
ตารางที่ หน้า 
1 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA 10
(4) 
สารบัญภาพ 
ภาพที่ หน้า 
1 กฎหมายมาตรา 67 1 
2 ขอบเขตการศึกษา EIA 8 
3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 9 
4 ขอบเขตการศึกษา EIA 18 
5 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 18 
6 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 19 
7 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 19 
8 การพังทลายของชายหาด 27 
9 ตะกอนเลน สภาพน้าที่เสียหาย 28 
10 การจราจรหนาแน่นทางน้า 29 
11 การจราจรหนาแน่นทางบก 29 
12 ไฟไหม้ตู้คอนเทรนเนอร์ 30 
13 เกลือทะเลสีขาว 30 
14 สายเคมีรั่วฟุ้งกระจาย 31
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
ภาพที่ 1 กฎหมายมาตรา 67 
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 
2. บทวิเคราะห์องค์ประกอบกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ในการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ต้องดาเนินการตาม 4 องค์ประกอบหลักดังนี้ 
2.1 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EIA) 
2.2 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน(EHIA) 
2.3 จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย (การทา ประชาพิจารณ์)รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ ซึ่งประกอบด้วย 
2.3.1 ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
2 
2.3.2 ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ 
2.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 
3. องค์ประกอบตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
3.1 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม(EIA) 
EIA ย่อมาจากคาว่า Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การใช้หลักวิชาการใน การทานายหรือคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบของการดาเนินโครงการ พัฒนา ที่จะมีผลต่อสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ด้าน ทั้งทางทรัพยากรธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อจะได้หาทางป้องกันผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดขึ้นให้เกิดน้อยที่สุด ในขณะเดียวกันก็มีการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถฟื้นคืนกลับมาได้อย่างมีประโยชน์ มีประสิทธิภาพ สูงสุด คุ้มค่าที่สุด และใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจของนักบริหารว่าสมควรดาเนินการหรือไม่ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะเป็นประโยชน์อย่างมาก หากได้รับการนามาในการวางแผน ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ขั้นตอนศึกษาความเหมาะสมของโครงการจะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นภายหลังดาเนินโครงการไปแล้ว และเป็นวิสัยทัศน์ของนักบริหารที่ มุ่งเน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไข 
3.1.1 ขั้นตอนในการจัดทา EIA 
1. การกลั่นกรองโครงการที่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Screening) เป็นกระบวนการเพื่อตัดสินใจว่า โครงการที่เสนอนั้นจาเป็นต้องจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือไม่ การกลั่นกรองจะเกี่ยวข้องกับการใช้วิจารณญาณพิจารณาว่า ผลกระทบจากโครงการที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่ในระดับ มีนัยสาคัญหรือไม่ 
2. การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Scoping) เป็นกระบวนการ ในการชี้ประเด็นที่สาคัญ ทางเลือกที่จาเป็นต้องมีการศึกษาและประเมิน ทั้งนี้ เนื่องจากหัวข้อใน เรื่องสิ่งแวดล้อมมีหลากหลาย ดังนั้น การกาหนดขอบเขต จึงทาให้การศึกษาในการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตรงประเด็น ลดความขัดแย้ง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การศึกษาด้วยผลที่ได้จากการกาหนดขอบเขตจะนาไปจัดทาเป็นเอกสาร เรียกว่า ขอบเขตการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม (Terms of Reference) 
3. การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
4. การติดตามตรวจสอบ
3 
3.1.2 องค์ประกอบในการจัดทา EIA 
1. บทนา 
กล่าวถึงที่มา วัตถุประสงค์ของโครงการ เหตุผลความจาเป็นในการดาเนิน โครงการ วัตถุประสงค์การจัดทารายงาน ขอบเขตการศึกษา และวิธีการ 
2. ที่ตั้งโครงการ 
โดยมีภาพและแผนที่ที่ตั้งโครงการ รวมทั้งแผนที่ แสดงองค์ประกอบทาง สิ่งแวดล้อม ในบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ มาตราส่วน 1 : 50,000 หรือมาตราส่วนที่ เหมาะสม 
3. รายละเอียดโครงการ 
รายละเอียดโครงการ ได้แก่ ประเภท ขนาดที่ตั้งโครงการ วิธีการดาเนินการ โครงการหรือกิจกรรมประกอบของโครงการ เป็นต้น ตลอดจนแผนผังการใช้ที่ดินของโครงการ โดยแสดงทิศและมาตราส่วนที่เหมาะสม 
4. สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน 
แสดงรายละเอียดพร้อมภาพถ่ายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ชีวภาพ โดยจาแนกเป็นชนิดที่ฟื้นฟู ได้และฟื้นฟูไม่ได้ รายละเอียดคุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ และคุณค่าคุณภาพ ชีวิต ตลอดจนสภาพปัญหาปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการพร้อมแสดง แผนที่ สภาพแวดล้อมบริเวณโครงการ การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ และบริเวณที่อาจได้รับ ผลกระทบจากการดาเนินโครงการทั้งในระยะสั้นและระยะยาวซึ่งในการประเมินสภาพแวดล้อม ปัจจุบันต้องทาการศึกษา 4 ด้านดังนี้ 
1) ทรัพยากรกายภาพ 
2) ทรัพยากรชีวภาพ 
3) คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 
4) คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 
5. การประเมินทางเลือกในการดาเนินการและการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากโครงการ 
1) ทางเลือกในการดาเนินโครงการเสนอทางเลือกซึ่งอาจเป็นทั้งทางเลือกที่ตั้ง โครงการหรือวิธีการดาเนินโครงการทุกทางเลือกจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีเหตุผลว่า บรรลุเป้าหมายและความจาเป็นในการมีโครงการหรือไม่มีโครงการอย่างไรมีมาตรการป้องกันและ แก้ไขผลกระทบในทุกทางเลือก และจะต้องระบุทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดที่จะดาเนินโครงการ พร้อมแสดงเหตุผลและความจาเป็นประกอบ
4 
2) การประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการให้ประเมินผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากโครงการ ทั้งที่เป็นผลกระทบโดยตรง และผลกระทบทางอ้อมต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และคุณค่าต่าง ๆ ทั้ง 4 ด้าน แยกประเภททรัพยากรเป็นชนิดที่สามารถฟื้นฟูได้และฟื้นฟูไม่ได้ รวมทั้งให้ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในทุกทางเลือกของโครงการเปรียบเทียบกัน 
6. มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย 
อธิบายรายละเอียดในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น และในกรณีที่ ความเสียหายไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ให้เสนอแผนการชดเชยความเสียหายดังกล่าว 
7. มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
เสนอมาตรการและแผนการดาเนินการในการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทางวิชาการและการปฏิบัติการ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามและ ประเมินผลภายหลังการดาเนินโครงการด้วย (มาตรการนี้ส่วนใหญ่ จะเป็นการตรวจวัดคุณภาพ สิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น น้า อากาศ เสียง จานวนพืช สัตว์ ฯลฯ ตามความถี่และจุดตรวจวัดที่ กาหนด 
8. ตารางสรุปผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สาคัญพร้อมด้วยมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและและ มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตาม 6) และ7) 
3.1.3 ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทารายงาน EIA 
1. เขื่อนเก็บกักน้าหรืออ่างเก็บน้า ที่มีปริมาณเก็บกักน้าตั้งแต่ 100,000,000 ลบ.ม. ขึ้นไปหรือมีพื้นที่เก็บกักน้าตั้งแต่ 15ตร.กม. ขึ้นไป 
2. กรมชลประทาน ที่มีพื้นที่การชลประทาน ตั้งแต่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป 
3. สนามบินพาณิชย์ ทุกขนาด 
4. โรงแรมหรือสถานที่พักตากออากาศที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป 
5. ระบบทางพิเศษตางกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ หรือโครงการที่มีลักษณะ เช่นเดียวกับทางพิเศษ หรือระบบขนส่งมวลชนที่ใช้รางทุกขนาด 
6. การทาเหมืองตามกฎหมายว่าด้วยแร่ทุกขนาด 
7. นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่านิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะ เช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมทุกขนาด 
8. ท่าเรือพาณิชย์ที่สามารถรับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสขึ้นไป 
9. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่มีกาลังผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ 10 เมกกะวัตต์ขึ้นไป 
10. การอุตสาหกรรม
5 
1) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ใช้วัตถุซึ่งได้จากการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม และ/หรือ การแยกก๊าซธรรมชาติในกระบวนการผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป 
2) อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียมทุกขนาด 
3) อุตสาหกรรมแยกหรือแปลสภาพก๊าซธรรมชาติทุกขนาด 
4) อุตสาหกรรมคลอ-แอลคลอไลน์ ที่ใช้ในการผลิตโซเดียมคาร์บอเนต โซเดียมไฮดรอกไซด์ กรดไฮโดรคลอริค คลอรีน โซเดียมไฮโพคลอไรด์ และปูนคลอรีน ที่มีกาลัง การผลิตสารดังกล่าวแต่ละชนิดหรือรวมกันตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้นไป 
5) อุตสาหกรรมเหล็กและ/หรือเหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้น ไป 
6) อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ ทุกขนาด 
7) อุตสาหกรรมถลุงแร่หรือหลอมโลหะ ซึ่งมิใช่อุตสาหกรรมเหล็กหรือ เหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป 
8) อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป 
11. โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกาหนดให้เป็น พื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1 บีทุกขนาด 
12. การถมที่ดินในทะเลทุกขนาด 
13. อาคารที่ตั้งอยู่ริมน้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือ ชายหาด หรือที่อยู่ใกล้ หรือใน อุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบกระเทือนต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้น ใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป 
14. อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป 
15. การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการพาณิชย์ จานวนที่ดิน แปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลงขึ้นไป หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ 
16. โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล 
1) กรณีตั้งอยู่ริมแม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะ ก่อให้เกิดผลกระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 
2) กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ (1) 
- ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 30 เตียง ขึ้นไป 
- ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 60 เตียง ขึ้นไป
6 
17. อุตสาหกรรมผลิตสารออกฤทธิ์ หรือสารที่ใช้ป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชสัตว์โดย กระบวนการทางเคมีทุกขนาด 
18. อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีโดยกระบวนการทางเคมีทุกขนาด 
19. ทางหลวงหรือถนนซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวงที่ตัดผ่านพื้นที่ ดังต่อไปนี้ 
1) พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 
2) พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ 
3) พื้นที่เขตลุ่มน้าชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว 
4) พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ 
5) พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดทุกขนาดที่ เทียบเท่าหรือสูงกว่ามาตรฐานต่าสุดของทางหลวงชนบทขึ้นไป โดยรวมความถึงการก่อสร้างคัน ทางใหม่เพิ่มเติมจากคันทางที่มีอยู่ 
20. โรงงานปรับปรุงคุณภาพของเสียรวม เฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตาม กฎหมายว่าด้วยโรงงาน ทุกขนาด 
21. อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกี่ยวกับน้าตาล ดังต่อไปนี้ 
1) การทาน้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 
2) การกลูโคส เดกซ์โทรส ฟรักโทส หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่คล้ายคลึงกันทุกขนาด 
22. การพัฒนาปิโตรเลียม 
1) การสารวจและ/หรือผลิตปิโตรเลียม 
2) ระบบการขนส่งปิโตรเลียมและน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ ทุกขนาด 
3.2 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ของประชาชนในชุมชน (EHIA) 
EHIA ย่อมาจาก Environmental Health Impact Assessmentเป็นแนวทางการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพสาหรับโครงการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ของคนในชุมชน 
3.2.1 ความเป็นมาของ EHIA
7 
เนื่องจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเป็นแผนหลักของ ประเทศไทยได้กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมก็ได้ให้ความสาคัญในเรื่องการของการ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อ วันที่ 19 มีนาคม 2550 ได้กาหนดในมาตรา 11 ว่า “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการ ประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ” และ “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คาชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการ อนุญาตหรือการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของ ชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว” 
ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ได้ระบุในมาตรา 67 โดยเฉพาะวรรคสอง ว่า “การดาเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการ ดาเนินการดังกล่าว” 
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงได้ออกประกาศ เพื่อกาหนด ประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อให้การเป็นไปตาม บัญญัติมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 ซึ่งมีทั้งหมด11 ประเภทโครงการ
8 
3.2.2 ขอบเขตการศึกษา EHIA 
ภาพที่ 2 ขอบเขตการศึกษา EIA 
ที่มา: http: //www.iceh.or.th/iceh/Guidline_ehia03.php 
ในการกาหนดขอบเขตการศึกษา ควรพิจารณาโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ สุขภาพ โดยพิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ 
1) สิ่งคุกคามสุขภาพ 
2) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
3) ปัจจัยต่อการรับสัมผัส 
4) ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ 
5) ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ 
6) ผลกระทบต่อสังคมและชีวิตความเป็นอยู่
9 
3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 
ภาพที่ 3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 
ที่มา: http: //www.iceh.or.th/iceh/Guidline_ehia04.php 
3.2.4 ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทารายงาน EHIA 
1. การถมทะเลหรือทะเลสาบฯขนาดตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป
10 
2. การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ขนาดขึ้นอยู่กับประเภทเหมืองแร่ 
3. นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการที่มี ลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมต้องจัดทาทุกขนาด 
4. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลางขนาดขึ้นอยู่กับประเภทและวัตถุดิบ 
ที่เป็นสารเคมี 
5. อุตสาหกรรมถลุงแร่หรือหลอมโลหะขนาดขึ้นอยู่กับประเภทแร่และโลหะ 
6. การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสีต้องจัดทาทุกขนาด 
7. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมหรือโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการฝัง กลบสิ่งปฏิกูลฯหรือการเผาของเสียอันตรายฯต้องจัดทาทุกขนาด 
8. โครงการระบบขนส่งทางอากาศขนาดทางวิ่งของอากาศยานตั้งแต่ 3,000 เมตร 
ขึ้นไป 
9. ท่าเทียบเรือขนาดขึ้นอยู่กับความยาวหน้าท่าพื้นที่การขุดลอกร่องน้า 
10. เขื่อนเก็บกักน้าต้องมีปริมาณการเก็บกักตั้งแต่ 100 ลบ.ม.หรือพื้นที่กักเก็บ ตั้งแต่ 15ตร.กม.ขึ้นไป 
11. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนขนาดขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อเพลิง 
3.2.5 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA 
ตารางที่ 1 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA 
ที่มา : สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2552) 
รายงาน 
การจัดทารายงาน 
การพิจารณารายงาน 
1. รายงาน 
EIA 
ศึกษาตามขอบเขต 4 มิติ ได้แก่ 1.1. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ 1.2. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ 1.3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ 1.4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 
1.1. รายงาน EIA ส่งมา สผ. และหน่วยงาน อนุญาต สผ. ใช้เวลาในการพิจารณาตรวจ สอบ รายงาน (15 วัน ) และให้ความเห็นเบื้องต้น (15 วัน ) คชก. ใช้เวลารอบแรก (45วัน ) รอบสอง (30 วัน ) 
1.2. หลังจากที่ คชก. ให้ความเห็นชอบ สผ. จะ นาส่งให้หน่วยงานอนุมัติ/อนุญาต เพื่อพิจารณา ตัดสินใจอนุมัติ/อนุญาต
11 
2. รายงาน 
EHIA 
ศึกษาตามขอบเขต 4 มิติ ของการ จัดทารายงาน EIA แต่จะมีข้อแตกต่าง คือ 2.1. เน้นเรื่องการประเมินผลกระทบ สุขภาพให้ครอบคลุมปัจจัยกาหนด สุขภาพ และเชื่อมโยงปัจจัยต่างๆ ให้ ชัดเจน 2.2. เน้นกระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนทั้งในขั้น ค.1, ค. 2 และ ค.3 
2.1. รายงาน EHIA ส่งมา สผ. และหน่วยงาน อนุญาต สผ. ใช้เวลาในการพิจารณาตรวจ สอบ รายงาน (15 วัน ) และให้ความเห็นเบื้องต้น (15 วัน ) คชก. ใช้เวลารอบแรก ( 45วัน ) รอบสอง (30 วัน ) 2.2. ภายหลัง จากรายงาน EHIA ผ่านความ เห็นชอบจาก คชก.แล้ว สผ. จะส่งรายงานให้ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อให้ความเห็นประกอบ (ภายใน 60 วัน ) และ ส่งรายงานให้หน่วยงานอนุมัติ/อนุญาต เพื่อจัด กระบวนการรับฟังความคิด เห็นของผู้มีส่วนได้ เสีย (ภาค ง) 2.3. เมื่อหน่วยงานอนุมัติ/ อนุญาตตัดสินใจ แล้ว หน่วยงานผู้มีอานาจในการอนุมัติหรือ อนุญาตต้องเผยแพร่เหตุผลและคาชี้แจงการตัด สินใจต่อสาธารณะและบนเว็บไซต์ 
3.3 กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย 
กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียหรือการทาประชา พิจารณ์ (Public Hearings) คือกระบวนการที่รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นใน ปัญหาสาคัญของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มี โอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการ หรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่งหมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความ คิดเห็น.ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของ ประชาชนทุกคน. การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และ ทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ ดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก
12 
3.2.1 วัตถุประสงค์ 
การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ของรัฐได้แสดงความคิดเห็นในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการ ประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และ กลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจากโครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้อง ได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัดประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติ และเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่ การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชาพิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจ ได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วนราชการ เห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทา ขึ้นเพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้ 
1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 
2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 
3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 
4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 
5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด 
3.2.2 หลักการประชาพิจารณ์ (สืบวงค์กาฬวงค์, 2546) มีดังนี้ 
1. จะต้องกระทาขึ้นก่อนมีการตัดสินใจของรัฐ 
2. จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับผลกระทบแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง 
3. การดาเนินการประชาพิจารณ์ต้องเป็นไปโดยเที่ยงตรงและเปิดเผย 
4. ข้อสรุปจากการประชาพิจารณ์มีฐานะเป็นเพียงข้อเสนอแนะ 
3.2.3 บทบาทของการประชาพิจารณ์ในทางกฎหมาย และการบริหารราชการ 
การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดยกระบวนการมีขั้นตอนดังนี้ 
1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมีคณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนัก กฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผลการศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัด
13 
ให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นประธานคณะกรรมาธิการ และ สมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้เข้าร่วมการพิจารณ์ 
2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ 
ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบ ให้กับสมาชิกนิติบัญญัติในขณะพิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็น ส่วนหนึ่งของประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณา 
ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทาง การเมืองในการผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชน โดยทั่วไปทราบถึงโครงการ และการได้รับความไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มอง ว่าคณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 
3. ขั้นที่ 3 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่งเป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่น หนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดยสรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อ ความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มีความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดง ความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการ ล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุม 
4. ขั้นที่ 3 การรวบรวมบันทึก มีการพิมพ์บันทึกการพิจารณ์ซึ่งจะรวมหนังสือหรือ เอกสาร ซึ่งบุคคลที่ได้รับเชิญเตรียมไว้ล่วงหน้า บ่อยครั้งที่จะมีคาถามในระหว่างการพิจารณ์แก่ บุคคลที่ได้รับเชิญ และต้องให้ตอบเป็นลายลักษณ์อักษรในการบันทึกการพิจารณ์ ซึ่งจะมอบแก่ สมาชิกนิติบัญญัติในการพิจารณาร่างกฎหมาย 
3.3.4 การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย 
แม้ว่าจะมีการศึกษาและถกเถียงเกี่ยวกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งก่อนที่จะมีการตรา กฎหมายเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาหรือดาเนินโครงการใด และแม้จะมีการตรากฎหมายแล้ว กฎหมายซึ่งให้อานาจดาเนินการแก่หน่วยงานดังกล่าวมักไม่กาหนดแนวทางการดาเนินการที่ชัดเจน เช่น กฎหมายกาหนดให้อานาจการสร้างเขื่อนหรือทางด่วน แต่ก็มิได้กาหนดสถานที่ในการ ดาเนินการไว้ ดังนั้นในขั้นตอนการดาเนินการตามกฎหมายจึงจาเป็นต้องมีการประชาพิจารณ์ ซึ่งมี ลักษณะแตกต่างไปจากการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่ได้กล่าวถึงข้างต้น
14 
1. การออกกฎระเบียบอย่างไม่เป็นทางการ: การพิจารณ์ทางการปกครอง ส่วน ราชการมักต้องออกกฎเกณฑ์ทั่วไป เพื่อดาเนินการตามที่กฎหมายแม่บทกาหนด กฎเกณฑ์ดังกล่าว อาจมีเนื้อหาเป็นการกาหนดระดับของมลพิษทางอุตสาหกรรม หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครองของรัฐบาลกาหนด 
ขั้นตอนดาเนินงานที่ง่ายสาหรับการออกกฎ โดยขั้นแรกหน่วยงานจะแจ้งต่อ สาธารณชน โดยแจ้งจะระบุข้อเสนอเบื้องต้นของหน่วยงาน และเชิญให้บุคคลทั่วไปแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอเป็นลายลักษณ์อักษร จากนั้นหน่วยงานต้องเปิดรับข้อสังเกตตามระยะเวลา ที่กาหนดซึ่งอาจเป็นระยะเวลาสามสิบหรือหกสิบวัน และหลังจากหน่วยงานพิจารณาข้อสังเกตและ ได้ร่างกฎระเบียบเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานต้องอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาของกฎเกณฑ์ดังกล่าวด้วย 
ขั้นตอนการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการเป็นวิธีการที่ง่าย รวดเร็ว ไม่เสียเงิน ค่าใช้จ่ายสูง และมีประสิทธิภาพในการเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์ที่อาจได้รับผลกระทบ แจ้ง ให้รัฐบาลทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดจากโครงการของรัฐบาล นอกจากนั้นกลุ่มผลประโยชน์ยัง มั่นใจว่าตนมีโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นและได้รับคาตอบจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามกระบวนการ นี้ก็ไม่ถือเป็นการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ เนื่องจากผู้มีอานาจตัดสินใจมิได้เผชิญหน้ากับบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่สามารถเรียกร้องให้มีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยวาจาโดยตรง ดังนั้นการ ออกกฎอย่างไม่เป็นทางการจึงถูกเรียกในบางครั้งว่า “การพิจารณ์ด้วยเอกสาร” กระบวนการนี้ถือ เป็นการพิจารณ์อย่างแท้จริง เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นสามารถคาดหวังได้ว่าความคิดเห็นของ ตนจะได้รับการพิจารณา แต่ในขณะเดียวกันกระบวนการนี้ก็ไม่มีความยืดหยุ่นเท่ากับการนาเสนอ ด้วยวาจา และไม่เป็นที่พึงพอใจเท่ากับการปรากฏตัวและมีส่วนร่วมในกระบวนการในบางครั้ง ส่วนราชการเลือกที่จะเพิ่มกระบวนการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติในการพิจารณ์ด้วยเอกสารสาหรับการ ออกกฎ โดยอาจจัดให้มีการพิจารณ์ขึ้นในที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการ พิจารณาในการออกกฎหมาย การดาเนินการเช่นนี้เป็นการรวมประโยชน์ของทั้งสองกระบวนการ ไว้ด้วยกัน 
2. การออกกฎอย่างเป็นทางการ กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองยัง กาหนดขั้นตอนไว้อย่างละเอียด สาหรับการออกกฎซึ่งเรียกว่า การออกกฎอย่างเป็นทางการ อันมี ลักษณะเป็นกระบวนการพิจารณาคดีเพื่อการออกกฎโดยมีบุคคลที่ได้ระบุชื่อโดยเฉพาะเจาะจงสอง ฝ่าย ซึ่งจะส่งเอกสารหลักฐานที่อาจมีการโต้แย้งความถูกต้อง และมีผู้พิพากษาคดีปกครองทาคา ตัดสิน ตัวอย่างเช่นครั้งหนึ่งกฎหมายกาหนดให้สานักงานอาหารและยาจัดให้มีการพิจารณาคดีเพื่อ ตัดสินปริมาณของถั่วเหลืองและน้ามันในเนยถั่วเหลืองซึ่งใช้เวลาตัดสินนานกว่าสิบปี การออกกฎ อย่างเป็นทางการเป็นกระบวนการที่ล่าช้า และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
15 
3. การออกกฎโดยเจรจา ส่วนราชการได้ทาการทดลองกระบวนการใหม่ที่เรียกว่า การออกกฎโดยการเจรจา โดยมีแนวคามคิดในการรวบรวมกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ เรื่องที่กาลังพิจารณา เพื่อทาการเจรจาเกี่ยวกับโครงการและหาข้อสรุปที่เป็นฉันทานุมัติ สาหรับการ พิจารณาของส่วนราชการ โดยส่วนราชการจะคัดเลือกกลุ่มผลประโยชน์ที่อาจเข้าร่วมและจัด เจ้าหน้าที่เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ประสานในการดาเนินการประชุมและทบทวนข้อสรุป หากข้อสรุป เป็นที่ยอมรับหน่วยงานจะนาเสนอข้อเสนอดังกล่าวต่อสาธารณชนเสมือนเป็นข้อเสนอของ หน่วยงานเอง ปัจจุบันยังเป็นการเร็วเกินไปที่จะสรุปว่าการออกกฎโดยการเจรจาได้ประสบ ความสาเร็จเพราะแม้ว่าจะมีประโยชน์ในแง่การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์มีส่วนร่วมใน ขั้นต้น แต่ข้อเสียของวิธีการดังกล่าวคือหน่วยงานอาจเสียการควบคุมกระบวนการตัดสินใจของ ตนเอง 
3.3.5 การกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย (ปัญญา อุดชาชน, 2545 อ้างใน สมพิศ สุขแสน) 
วิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ มีดังนี้ 
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบในการดาเนินการพิจารณ์ โดยปกติเมื่อหน่วยงาน จัดให้มีการพิจารณ์ ข้าราชการระดับสูงของหน่วยงานมักได้รับเลือกให้เป็นผู้ดาเนินการพิจารณ์ ข้าราชการผู้ทาหน้าที่ประธานในการพิจารณ์มักเป็นนักกฎหมาย เนื่องจากอาจมีประเด็นปัญหา เกี่ยวกับความเหมาะสมของกระบวนการและการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมในการพิจารณ์ และมักเป็นผู้ มีความคุ้นเคยกับประเด็นปัญหาที่จะทาการพิจารณา เนื่องจากการประชาพิจารณ์อาจใช้เวลา ยาวนาน ข้าราชการผู้เป็นประธานอาจต้องทาหน้าที่เป็นระยะเวลาต่อเนื่องเพื่อดาเนินการพิจารณ์ และรวบรวมผล พร้อมทั้งทาข้อเสนอเพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานจะดาเนินการพิจารณ์ด้วยตนเอง เพื่อ แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเรื่องที่พิจารณา 
2. บุคคลผู้เข้าร่วมในการพิจารณ์ การแจ้งการพิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ของทางการ ต่อสาธารณะ อาจนามาซึ่งการตอบรับของสาธารณะมากเกินกว่าที่หน่วยงานจะรับพิจารณาได้ บาง หน่วยงานได้ประสานกระบวนการทั้งสองในการเชิญบุคคล โดยในขั้นตอนแรกหน่วยงานจะแจ้ง ให้สาธารณชนทราบถึงการพิจารณ์ด้วยเอกสาร และเมื่อทราบจากข้อสังเกตที่ได้รับว่ามีกลุ่ม ผลประโยชน์ใดที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญก็จะเชิญกลุ่มผลประโยชน์นั้นเข้าร่วมการประชา พิจารณ์ต่อไป 
3. สถานที่จัดการพิจารณ์ รัฐบาลมักจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองหลวงของ ประเทศ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของทั้งหน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ อย่างไรก็ตามไม่นานมานี้
16 
หน่วยงานเริ่มที่จะจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองในระดับภูมิภาคที่สาคัญเช่นเดียวกัน แม้ว่าข้อเสนอ จะมีผลกระทบต่อประชาชนทั้งประเทศและเมื่อข้อเสนอมีผลกระทบอย่างมากต่อเขตพื้นที่ใด แน่นอนว่าจะมีการจัดประชาพิจารณ์ในเขตพื้นที่นั้น 
4. เวลาในการจัดการพิจารณ์เวลาในการจัดการประชาพิจารณ์ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หากหน่วยงานต้องการแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนแรกๆ ของกระบวนการก็ควรจัดให้มีการพิจารณาในชั้นแรก แต่หาก ประสงค์ให้มีการวิจารณ์ข้อเสนอเป็นการเฉพาะก็ควรจัดการพิจารณาขึ้นในช่วงเวลาต่อมา 
5. กระบวนการในการพิจารณ์ การพิจารณ์ทางเอกสารเป็นกระบวนการพิจารณ์ที่ เหมาะสมกับความต้องการของหน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังมีความเหมาะสม สาหรับประเด็นปัญหาที่มีลักษณะทางเทคนิคสูง ซึ่งอาจไม่เหมาะกับการใช้การพิจารณ์ทางนิติ บัญญัติ อย่างไรก็ตามการพิจารณ์ทางเอกสารอาจมีประโยชน์ไม่มากนักสาหรับประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งอาจแสดงความคิดเห็นด้วยวาจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า 
6. ขั้นตอนก่อนการทาประชาพิจารณ์ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจที่ให้มีการทาประชา พิจารณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดในเบื้องต้นคือ การแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ ความสาเร็จและ การยอมรับของประชาชนขึ้นอยู่กับการทางานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์เป็นสาคัญ ดังนี้ 
6.1 ขั้นตอนก่อนทาการประชาพิจารณ์ (Pre-hearing stage) 
6.2 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ (Hearing stage) 
6.3 ขั้นตอนควบคุมความประพฤติและการปฏิบัติตามกระบวนการทาประชา พิจารณ์ 
7. การปฏิบัติตามรายงานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์ คณะกรรมการประชา พิจารณ์ด้วยความช่วยเหลือของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่จัดทาผลสรุปการศึกษาการทา ประชาพิจารณ์ขั้นสุดท้าย (Final Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อรายงานต่อผู้แต่งตั้ง 
8. การปฏิบัติตามรายงานสรุปผลการศึกษา การทาประชาพิจารณ์ โดยปกติแล้ว เอกสารรายงานสรุปผลการศึกษาการทาประชาพิจารณ์เพื่อได้ส่งรายงานให้รัฐบาลแล้ว เอกสารจะ ได้รับการเผยแพร่ต่อประชาชนทันที แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลต้องระมัดระวังเกี่ยวกับการตัดสินใจ การปฏิบัติตามสรุปผลการศึกษาการทาประชาพิจารณ์อย่างมาก เนื่องจากต้องรับผิดชอบทางการ เมือง และการตรวจสอบโดยสื่อมวลชน 
9. งบประมาณ สาหรับการทาประชาพิจารณ์ โดยทั่วไปแล้วรัฐบาลจะต้องจัดสรร งบประมาณให้เพียงพอตามความเหมาะสมตามกรอบการศึกษาของการทาประชาพิจารณ์ในแต่ละ
17 
เรื่อง ดังนั้นจานวนค่าใช้จ่ายจะมีจานวนแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะและระยะเวลาของ การศึกษา 
3.3.6 ผลกระทบของการประชาพิจารณ์ 
ประชาพิจารณ์อาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณากฎหมายและการบริหารราชการ แผ่นดินสามประการคือ 
ประการแรก กระบวนการสาธารณะทุกอย่างต้องเสียค่าใช้จ่ายและทาให้การ ตัดสินใจล่าช้า การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่จัดขึ้นในหลายสถานที่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าการพิจารณาด้วยเอกสาร 
ประการที่สอง ในบางครั้งกระบวนการทางสังคมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการหน่วง เหนี่ยวหรือก่อให้เกิดความสับสนกับโครงการของรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ที่โต้แย้งโครงการใด โครงการหนึ่งมักอ้างต่อศาลว่า ตนไม่ได้รับสิทธิในการเข้าร่วมการพิจารณ์ตามที่กฎหมายกาหนด และร้องขอให้มีการพิจารณาคาตัดสินของหน่วยงานใหม่ ทาให้เห็นว่าประเทศไทยอาจต้องทดลอง ขั้นตอนการประชาพิจารณ์ซึ่งหน่วยงานมีสิทธิเด็ดขาดในการตัดสินใจดาเนินการโดยไม่ให้สิทธิใน การอุทธรณ์ หรืออาจใช้กระบวนการของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ 
ประการที่สาม เป็นประการที่สาคัญที่สุด คือกระบวนการสาธารณะส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจของหน่วยงานไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะในประเด็นปัญหาทั่วไปที่มีลักษณะทาง เทคนิค 
การประชาพิจารณ์ในปัจจุบัน ได้ตอบสนองต่อกลุ่มผลประโยชน์ที่มีจานวนมากขึ้น แนวโน้มในการนากระบวนการประชาพิจารณ์มาใช้เพื่อให้การดาเนินการของส่วนราชการ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนมากขึ้น จึงถือเป็นการคุ้มค่ากับเวลาและค่าใช้จ่ายที่เสีย ไป 
3.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 
3.4.1 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการเอกชนและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม.(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม/จัดทาใหม่ทั้งฉบับ)
18 
ภาพที่ 4 ขอบเขตการศึกษา EIA 
ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696 
3.4.2 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการเอกชนและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม. 
ภาพที่ 5 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 
ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696
19 
3.4.3 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจโครงการ ร่วมกับเอกชน ซึ่งต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม. 
ภาพที่ 6 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 
ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696 
3.4.4 ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ EHIA 
ภาพที่ 7 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 
ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696
20 
4. หลักการจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 
4.1 ผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
การดาเนินการตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ส่งผลให้บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงาน การศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน ค่าใช้จ่ายในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน รวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์ในการจัดการ เกี่ยวกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน เช่น การจัดตั้งระบบบาบัดน้าเสีย การ ติดตั้งระบบตรวจจับการปล่อยมลพิษ การตรวจสุขภาพของประชาชน เป็นต้น ซึ่งค่าใช้จ่ายในการ จัดการสิ่งแวดล้อมถือเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์ 
4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา67 
ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพของประชาชนในชุมชน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนกิจการถือ เป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ แต่หากมีการลงทุนตามที่ได้จัดทาไว้ในรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่ง เป็นต้นทุนของโครงการ บันทึกเป็นสินทรัพย์ของกิจการ แต่หากโครงการที่จัดทานั้นได้ ทาการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชนแล้ว ไม่สามารถดาเนินการโครงการก็ถือเป็นค่าใช้จ่ายทันทีในงวดบัญชีนั้น 
4.3 ข้อคิดเห็นต่อการดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
คุณกมลพงศ์ แซ่จัน 
ผู้สอบบัญชีได้รับอนุญาตเลขทะเบียน 11215
21 
ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค่าใช้จ่าย EIA) และค่าธรรมเนียมใน การขออนุญาตต่างๆของโครงการควรถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการในงวดนั้น เนื่องจากตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในย่อหน้าที่ 16 และ 19 ไม่ถือให้ ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมถือรวมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ของโครงการ สาหรับค่าใช้จ่ายในการลงทุนในสินทรัพย์ของโครงการให้ถือเป็นสินทรัพย์ของโครงการ และตัด เป็นค่าเสื่อมราคาตามวิธีที่เหมาะสมที่มาตราฐานการบัญชีกาหนด 
อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ 
ดารงตาแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมและการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการผู้ชานาญการ คณะกรรมการในสภาวิชาชีพ และAudit Committee ในคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ 
EIA เป็นกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตาม กฎหมาย ซึ่งจะกาหนดประเภทของกิจกรรมที่ต้องทาหลายประเภท เช่น ขนาดของสนามบิน การ ขนส่ง โรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า มี 2 ระดับด้วยกัน คือ ระดับหนึ่งเป็นเรื่อง ของประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ซึ่งจะเป็นโครงการที่มีความรุนแรงสูง เช่น โรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินโดยมีกาลังการผลิตมากกว่า 100 เมกะวัตต์ อ่างและนิคมขนาดใหญ่ๆ โดยจะขึ้นอยู่กับขนาดของโครงการ 
EIA เป็นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมตามปกติ ใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาว่า โครงการนั้นเหมาะสมที่จะดาเนินการต่อไปและมีผลกระทบอะไรเกิดขึ้นหรือไม่ โดย EIA เป็น เครื่องมือในการคาดการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต ส่วน ค่าใช้จ่ายมีในเรื่องของการศึกษา ซึ่งจะมีบริษัท ที่ปรึกษาทางด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวิศวกรรมในประเทศไทยอยู่ตอนนี้ประมาณ 70-80 บริษัท ขึ้นอยู่
22 
กับขนาดโครงการ เช่น คอนโดมิเนียมที่เห็นตามป้ายโฆษณา EIA Approve โดยมีจานวนมากกว่า 100 ห้อง 
โดยมีค่าใช้จ่ายในการยื่นขอก็เป็นค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย แล้วแต่หน่วยงานอนุมัติ อนุญาต เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายนอกเขต นิคม แล้วไปยื่นต่อกรม โรงงาน โดยมีการยื่น 2 ระดับ คือ กรมโรงงานจะอนุมัติในเรื่องของการตั้งโรงงาน ส่วนการ ก่อสร้างต้องไปยื่นกับท้องถิ่น มาตรการต่างๆของ EIA เหล่านี้จะถูกผนวกเป็นเงื่อนไขในการขอ อนุญาต และโรงงานที่ตั้งในนิคมจะว่าด้วยพระราชบัญญัติของการนิคม จะมีค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึ่ง แล้วแต่โครงการ และประเภทของโครงการ 
สาหรับค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการลงทุน เช่น ระบบบาบัดต่างๆ ควรถือเป็นต้นทุน เพราะเป็นการเริ่มการดาเนินงาน เมื่อทาการศึกษาเสร็จ คณะกรรมการหรือผู้ดูแลจะเป็นคนออกมาตรการ ซึ่งจะต้องสั่งซื้ออุปกรณ์ในการบาบัด โดยเฉพาะ การทาบ่อบาบัดน้าเสียต้องติดตั้งอุปกรณ์ ทั้งในเรื่องของปล่องมลพิษ ก๊าซต่างๆที่เกิดขึ้น ต้องมี เครื่องมือ ซึ่งเป็นต้นทุนในการเริ่มดาเนินการ อาจจะต้องซื้อเครื่องมือประมาณ 10-20 ล้านบาท พวกเทคโนโลยีใหม่ๆ น่าเป็นต้นทุนมากกว่า ส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจะเป็นพวกค่าไฟฟ้าที่ใช้กับบ่อ บาบัด ซึ่งไม่ได้เป็นกระบวนการผลิต โดยจะต้องแยกส่วนและในหลักการกฎหมาย คือ คนใดที่ทา ให้เกิดมลพิษต้องเป็นผู้ที่ออกค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา พวกประเทศที่เจริญแล้วจะชัดเจนในเรื่อง บัญชีสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะใส่อยู่ในเรื่องของระดับบัญชีประชาชาติ ระบบบัญชีการเงิน บัญชีบริหาร การตัดสินใจ ซึ่งมี 3 ระดับ ประเทศไทยยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องนี้ ซึ่งในเรื่องนี้จะแสดงถึงภาระ รับผิดชอบและความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลโดยทาให้ทราบว่าธุรกิจของเรามีความรับผิดชอบ ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นและได้ดาเนินการในสิ่งเหล่านี้มากน้อยแค่ไหน และหากเป็นโครงการที่ไม่ได้รับการ อนุมัติกิจการควรถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนั้น รวมถึงค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างบุคคลภายนอกใน กระบวนการตรวจสอบและติดตามผลซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายเช่นกัน
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new
รายงาน Ehia new

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์K'Keng Hale's
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลNamRinNamRin
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้งBaKa BaKa Saiaku
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังคณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังพัน พัน
 
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)ประพันธ์ เวารัมย์
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการPinNii Natthaya
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 

What's hot (20)

เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์ข้อสอบเมทริกซ์
ข้อสอบเมทริกซ์
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อแนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ถามตอบ 115  ข้อ
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ถามตอบ 115 ข้อ
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลังคณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
คณิตศาสตร์ ม.2 เลขยกกำลัง
 
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
 
5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ5.อุปกรณ์และวิธีการ
5.อุปกรณ์และวิธีการ
 
Spelling Bee ม.ต้น
Spelling Bee ม.ต้นSpelling Bee ม.ต้น
Spelling Bee ม.ต้น
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 

Similar to รายงาน Ehia new

สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)CFS626
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)Nat Srpn
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)Ruangvit_G
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)Pim-Ngarm Mudha
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57Suriya Phongsiang
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1teeclub
 
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหารการจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหารVorawut Wongumpornpinit
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Naname001
 

Similar to รายงาน Ehia new (20)

06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.106_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
06_การจัดการสิ่งแวดล้อม Vol.1 No.1
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 2 กรณีตัวอย่างความขัดแย้ง)
 
รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3รายงานบำเพ็ญ4 3
รายงานบำเพ็ญ4 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57คู๋มือPre onet57
คู๋มือPre onet57
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
 
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหารการจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
การจัดการคาร์บอนฟุตพรินท์สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
 
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาคอิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
อิทธิพลขององค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมที่มีผลต่อสภาพภูมิอากาศระดับจุลภาค
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
 

รายงาน Ehia new

  • 1. รายงาน การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชนิจ เนาวพันธ์ จัดทาโดย 1. นายกฤษฎา ด้วงช้าง รหัส 5430160032 หมู่เรียน 850 2. นางสาวยุวดี ฤทธิรงค์ รหัส 5430160644 หมู่เรียน 850 3. นางสาวณัฐกมล เต่าทอง รหัส 5430160245 หมู่เรียน 850 4. นางสาวสุภาภรณ์ สุระเสน รหัส 5430160849 หมู่เรียน 850 5. นางสาวสุรีรัตน์ วรสุข รหัส 5430160865 หมู่เรียน 850 วิชาการบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 03760433 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 2. คานา รายงานกฎหมายสิ่งแวดล้อมเล่มนี้ คณะผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบ สาหรับผู้ที่สนใจจะศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการของบริษัท วีนิไทย จากัด (มหาชน) โดยเนื้อหามุ่งเน้นให้ผู้ที่สนใจทุกท่าน เข้าใจถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 หลักจริยธรรม ศีลธรรม ที่จะต้องรับผิดชอบจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท พร้อมทั้งได้เรียนรู้การดาเนินการแก้ไข สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่ายภายในบริษัทด้วย เพื่อทุกท่านจะได้ทราบถึงกรอบงาน ปัจจัยที่ทาให้องค์กรประสบ ความสาเร็จและนามาปรับใช้ในการทางานต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถนาหลักการหลายๆอย่างไปปรับใช้ได้และเนื้อหาในเล่มนี้ก็มิใช่เรื่อง กฎหมาย และประเด็นสภาพแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังกล่าวถึงหลักการจัดการมลพิษ แนวทางในการ จัดมลพิษ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิดต่างๆ การจัดการรายงานต่อหน้าสาธารณชน เป็นต้น รายงานเล่มนี้ได้รวบรวมองค์ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการไว้ส่วน หนึ่ง ทั้งเนื้อหาข่าว การวิเคราะห์พร้อมทั้งแนวคิดต่างๆ ผู้จัดทาขอขอบคุณอาจารย์ที่ได้ประสิทธิ ประสาทวิชาให้ ตลอดจนองค์กรต่างๆที่ได้เผยแพร่ความรู้ บทความต่างๆ ทาให้ผู้จัดทาสามารถ จัดทารายงานเล่มนี้ออกมาได้สาเร็จ คณะผู้จัดทา
  • 3. (1) สารบัญ เรื่อง หน้า สารบัญตาราง (3) สารบัญภาพ (4) 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 2. บทวิเคราะห์องค์ประกอบกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 2.1 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EIA) 1 2.2 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพของประชาชน(EHIA) 1 2.3 จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และผู้มีส่วนได้เสีย (การทาประชาพิจารณ์)รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ 1 2.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 1 3. องค์ประกอบตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 672 3.1 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม(EIA) 2 3.2 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน (EHIA) 6 3.3 กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย 11 3.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 17 4. หลักการจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 20 4.1 ผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 20 4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา67 20
  • 4. (2) สารบัญ(ต่อ) เรื่อง หน้า 4.3 ข้อคิดเห็นต่อการดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 20 5. ตัวอย่างโครงการที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน (EHIA) 23 5.1 ข้อมูลองค์กร 23 5.2 การดาเนินการของการท่าเรือแห่งประเทศไทย 25 5.3 ผลกระทบที่เกิดจากการก่อสร้างและดาเนินการโครงการก่อสร้าง ท่าเรือแหลมฉบัง 26 5.4 ผลกระทบที่การท่าเรือแห่งประเทศไทยได้รับ 31 5.5 ผลกระทบต่อการจัดการทางบัญชี 31
  • 5. (3) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA 10
  • 6. (4) สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 กฎหมายมาตรา 67 1 2 ขอบเขตการศึกษา EIA 8 3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 9 4 ขอบเขตการศึกษา EIA 18 5 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 18 6 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 19 7 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA 19 8 การพังทลายของชายหาด 27 9 ตะกอนเลน สภาพน้าที่เสียหาย 28 10 การจราจรหนาแน่นทางน้า 29 11 การจราจรหนาแน่นทางบก 29 12 ไฟไหม้ตู้คอนเทรนเนอร์ 30 13 เกลือทะเลสีขาว 30 14 สายเคมีรั่วฟุ้งกระจาย 31
  • 7. 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ภาพที่ 1 กฎหมายมาตรา 67 ที่มา: สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2. บทวิเคราะห์องค์ประกอบกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ในการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ต้องดาเนินการตาม 4 องค์ประกอบหลักดังนี้ 2.1 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EIA) 2.2 จัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน(EHIA) 2.3 จัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย (การทา ประชาพิจารณ์)รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระ ซึ่งประกอบด้วย 2.3.1 ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
  • 8. 2 2.3.2 ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ 2.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 3. องค์ประกอบตามกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 3.1 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม(EIA) EIA ย่อมาจากคาว่า Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การใช้หลักวิชาการใน การทานายหรือคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบของการดาเนินโครงการ พัฒนา ที่จะมีผลต่อสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ด้าน ทั้งทางทรัพยากรธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อจะได้หาทางป้องกันผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดขึ้นให้เกิดน้อยที่สุด ในขณะเดียวกันก็มีการ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถฟื้นคืนกลับมาได้อย่างมีประโยชน์ มีประสิทธิภาพ สูงสุด คุ้มค่าที่สุด และใช้เป็นแนวทางในการตัดสินใจของนักบริหารว่าสมควรดาเนินการหรือไม่ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะเป็นประโยชน์อย่างมาก หากได้รับการนามาในการวางแผน ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ขั้นตอนศึกษาความเหมาะสมของโครงการจะช่วยลดค่าใช้จ่ายใน การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นภายหลังดาเนินโครงการไปแล้ว และเป็นวิสัยทัศน์ของนักบริหารที่ มุ่งเน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไข 3.1.1 ขั้นตอนในการจัดทา EIA 1. การกลั่นกรองโครงการที่ต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Screening) เป็นกระบวนการเพื่อตัดสินใจว่า โครงการที่เสนอนั้นจาเป็นต้องจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือไม่ การกลั่นกรองจะเกี่ยวข้องกับการใช้วิจารณญาณพิจารณาว่า ผลกระทบจากโครงการที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่ในระดับ มีนัยสาคัญหรือไม่ 2. การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Scoping) เป็นกระบวนการ ในการชี้ประเด็นที่สาคัญ ทางเลือกที่จาเป็นต้องมีการศึกษาและประเมิน ทั้งนี้ เนื่องจากหัวข้อใน เรื่องสิ่งแวดล้อมมีหลากหลาย ดังนั้น การกาหนดขอบเขต จึงทาให้การศึกษาในการจัดทารายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตรงประเด็น ลดความขัดแย้ง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายใน การศึกษาด้วยผลที่ได้จากการกาหนดขอบเขตจะนาไปจัดทาเป็นเอกสาร เรียกว่า ขอบเขตการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม (Terms of Reference) 3. การพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4. การติดตามตรวจสอบ
  • 9. 3 3.1.2 องค์ประกอบในการจัดทา EIA 1. บทนา กล่าวถึงที่มา วัตถุประสงค์ของโครงการ เหตุผลความจาเป็นในการดาเนิน โครงการ วัตถุประสงค์การจัดทารายงาน ขอบเขตการศึกษา และวิธีการ 2. ที่ตั้งโครงการ โดยมีภาพและแผนที่ที่ตั้งโครงการ รวมทั้งแผนที่ แสดงองค์ประกอบทาง สิ่งแวดล้อม ในบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ มาตราส่วน 1 : 50,000 หรือมาตราส่วนที่ เหมาะสม 3. รายละเอียดโครงการ รายละเอียดโครงการ ได้แก่ ประเภท ขนาดที่ตั้งโครงการ วิธีการดาเนินการ โครงการหรือกิจกรรมประกอบของโครงการ เป็นต้น ตลอดจนแผนผังการใช้ที่ดินของโครงการ โดยแสดงทิศและมาตราส่วนที่เหมาะสม 4. สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน แสดงรายละเอียดพร้อมภาพถ่ายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ ชีวภาพ โดยจาแนกเป็นชนิดที่ฟื้นฟู ได้และฟื้นฟูไม่ได้ รายละเอียดคุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ และคุณค่าคุณภาพ ชีวิต ตลอดจนสภาพปัญหาปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการพร้อมแสดง แผนที่ สภาพแวดล้อมบริเวณโครงการ การใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ และบริเวณที่อาจได้รับ ผลกระทบจากการดาเนินโครงการทั้งในระยะสั้นและระยะยาวซึ่งในการประเมินสภาพแวดล้อม ปัจจุบันต้องทาการศึกษา 4 ด้านดังนี้ 1) ทรัพยากรกายภาพ 2) ทรัพยากรชีวภาพ 3) คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ 4) คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 5. การประเมินทางเลือกในการดาเนินการและการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น จากโครงการ 1) ทางเลือกในการดาเนินโครงการเสนอทางเลือกซึ่งอาจเป็นทั้งทางเลือกที่ตั้ง โครงการหรือวิธีการดาเนินโครงการทุกทางเลือกจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีเหตุผลว่า บรรลุเป้าหมายและความจาเป็นในการมีโครงการหรือไม่มีโครงการอย่างไรมีมาตรการป้องกันและ แก้ไขผลกระทบในทุกทางเลือก และจะต้องระบุทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดที่จะดาเนินโครงการ พร้อมแสดงเหตุผลและความจาเป็นประกอบ
  • 10. 4 2) การประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการให้ประเมินผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นจากโครงการ ทั้งที่เป็นผลกระทบโดยตรง และผลกระทบทางอ้อมต่อทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และคุณค่าต่าง ๆ ทั้ง 4 ด้าน แยกประเภททรัพยากรเป็นชนิดที่สามารถฟื้นฟูได้และฟื้นฟูไม่ได้ รวมทั้งให้ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในทุกทางเลือกของโครงการเปรียบเทียบกัน 6. มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย อธิบายรายละเอียดในการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น และในกรณีที่ ความเสียหายไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ให้เสนอแผนการชดเชยความเสียหายดังกล่าว 7. มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม เสนอมาตรการและแผนการดาเนินการในการติดตามตรวจสอบผลกระทบ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทางวิชาการและการปฏิบัติการ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการติดตามและ ประเมินผลภายหลังการดาเนินโครงการด้วย (มาตรการนี้ส่วนใหญ่ จะเป็นการตรวจวัดคุณภาพ สิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น น้า อากาศ เสียง จานวนพืช สัตว์ ฯลฯ ตามความถี่และจุดตรวจวัดที่ กาหนด 8. ตารางสรุปผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สาคัญพร้อมด้วยมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและและ มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตาม 6) และ7) 3.1.3 ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทารายงาน EIA 1. เขื่อนเก็บกักน้าหรืออ่างเก็บน้า ที่มีปริมาณเก็บกักน้าตั้งแต่ 100,000,000 ลบ.ม. ขึ้นไปหรือมีพื้นที่เก็บกักน้าตั้งแต่ 15ตร.กม. ขึ้นไป 2. กรมชลประทาน ที่มีพื้นที่การชลประทาน ตั้งแต่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป 3. สนามบินพาณิชย์ ทุกขนาด 4. โรงแรมหรือสถานที่พักตากออากาศที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป 5. ระบบทางพิเศษตางกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ หรือโครงการที่มีลักษณะ เช่นเดียวกับทางพิเศษ หรือระบบขนส่งมวลชนที่ใช้รางทุกขนาด 6. การทาเหมืองตามกฎหมายว่าด้วยแร่ทุกขนาด 7. นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่านิคมอุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะ เช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมทุกขนาด 8. ท่าเรือพาณิชย์ที่สามารถรับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอสขึ้นไป 9. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่มีกาลังผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ 10 เมกกะวัตต์ขึ้นไป 10. การอุตสาหกรรม
  • 11. 5 1) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ใช้วัตถุซึ่งได้จากการกลั่นน้ามันปิโตรเลียม และ/หรือ การแยกก๊าซธรรมชาติในกระบวนการผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป 2) อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียมทุกขนาด 3) อุตสาหกรรมแยกหรือแปลสภาพก๊าซธรรมชาติทุกขนาด 4) อุตสาหกรรมคลอ-แอลคลอไลน์ ที่ใช้ในการผลิตโซเดียมคาร์บอเนต โซเดียมไฮดรอกไซด์ กรดไฮโดรคลอริค คลอรีน โซเดียมไฮโพคลอไรด์ และปูนคลอรีน ที่มีกาลัง การผลิตสารดังกล่าวแต่ละชนิดหรือรวมกันตั้งแต่ 10 ตันต่อวันขึ้นไป 5) อุตสาหกรรมเหล็กและ/หรือเหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้น ไป 6) อุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ ทุกขนาด 7) อุตสาหกรรมถลุงแร่หรือหลอมโลหะ ซึ่งมิใช่อุตสาหกรรมเหล็กหรือ เหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป 8) อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป 11. โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกาหนดให้เป็น พื้นที่ลุ่มน้าชั้น 1 บีทุกขนาด 12. การถมที่ดินในทะเลทุกขนาด 13. อาคารที่ตั้งอยู่ริมน้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือ ชายหาด หรือที่อยู่ใกล้ หรือใน อุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบกระเทือนต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้น ใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป 14. อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป 15. การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการพาณิชย์ จานวนที่ดิน แปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลงขึ้นไป หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ 16. โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล 1) กรณีตั้งอยู่ริมแม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะ ก่อให้เกิดผลกระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2) กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ (1) - ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 30 เตียง ขึ้นไป - ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนตั้งแต่ 60 เตียง ขึ้นไป
  • 12. 6 17. อุตสาหกรรมผลิตสารออกฤทธิ์ หรือสารที่ใช้ป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชสัตว์โดย กระบวนการทางเคมีทุกขนาด 18. อุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีโดยกระบวนการทางเคมีทุกขนาด 19. ทางหลวงหรือถนนซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวงที่ตัดผ่านพื้นที่ ดังต่อไปนี้ 1) พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 2) พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ 3) พื้นที่เขตลุ่มน้าชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว 4) พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ 5) พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดทุกขนาดที่ เทียบเท่าหรือสูงกว่ามาตรฐานต่าสุดของทางหลวงชนบทขึ้นไป โดยรวมความถึงการก่อสร้างคัน ทางใหม่เพิ่มเติมจากคันทางที่มีอยู่ 20. โรงงานปรับปรุงคุณภาพของเสียรวม เฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตาม กฎหมายว่าด้วยโรงงาน ทุกขนาด 21. อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกี่ยวกับน้าตาล ดังต่อไปนี้ 1) การทาน้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ น้าตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 2) การกลูโคส เดกซ์โทรส ฟรักโทส หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่คล้ายคลึงกันทุกขนาด 22. การพัฒนาปิโตรเลียม 1) การสารวจและ/หรือผลิตปิโตรเลียม 2) ระบบการขนส่งปิโตรเลียมและน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ ทุกขนาด 3.2 การจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ของประชาชนในชุมชน (EHIA) EHIA ย่อมาจาก Environmental Health Impact Assessmentเป็นแนวทางการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพสาหรับโครงการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ของคนในชุมชน 3.2.1 ความเป็นมาของ EHIA
  • 13. 7 เนื่องจาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเป็นแผนหลักของ ประเทศไทยได้กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมก็ได้ให้ความสาคัญในเรื่องการของการ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อ วันที่ 19 มีนาคม 2550 ได้กาหนดในมาตรา 11 ว่า “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการ ประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ” และ “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คาชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการ อนุญาตหรือการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของ ชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว” ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ได้ระบุในมาตรา 67 โดยเฉพาะวรรคสอง ว่า “การดาเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการ ดาเนินการดังกล่าว” กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงได้ออกประกาศ เพื่อกาหนด ประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อให้การเป็นไปตาม บัญญัติมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 ซึ่งมีทั้งหมด11 ประเภทโครงการ
  • 14. 8 3.2.2 ขอบเขตการศึกษา EHIA ภาพที่ 2 ขอบเขตการศึกษา EIA ที่มา: http: //www.iceh.or.th/iceh/Guidline_ehia03.php ในการกาหนดขอบเขตการศึกษา ควรพิจารณาโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ สุขภาพ โดยพิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ 1) สิ่งคุกคามสุขภาพ 2) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3) ปัจจัยต่อการรับสัมผัส 4) ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ 5) ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ 6) ผลกระทบต่อสังคมและชีวิตความเป็นอยู่
  • 15. 9 3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA ภาพที่ 3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA ที่มา: http: //www.iceh.or.th/iceh/Guidline_ehia04.php 3.2.4 ประเภทและขนาดโครงการหรือกิจการที่ต้องจัดทารายงาน EHIA 1. การถมทะเลหรือทะเลสาบฯขนาดตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป
  • 16. 10 2. การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ขนาดขึ้นอยู่กับประเภทเหมืองแร่ 3. นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการที่มี ลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมต้องจัดทาทุกขนาด 4. อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลางขนาดขึ้นอยู่กับประเภทและวัตถุดิบ ที่เป็นสารเคมี 5. อุตสาหกรรมถลุงแร่หรือหลอมโลหะขนาดขึ้นอยู่กับประเภทแร่และโลหะ 6. การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสีต้องจัดทาทุกขนาด 7. โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมหรือโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการฝัง กลบสิ่งปฏิกูลฯหรือการเผาของเสียอันตรายฯต้องจัดทาทุกขนาด 8. โครงการระบบขนส่งทางอากาศขนาดทางวิ่งของอากาศยานตั้งแต่ 3,000 เมตร ขึ้นไป 9. ท่าเทียบเรือขนาดขึ้นอยู่กับความยาวหน้าท่าพื้นที่การขุดลอกร่องน้า 10. เขื่อนเก็บกักน้าต้องมีปริมาณการเก็บกักตั้งแต่ 100 ลบ.ม.หรือพื้นที่กักเก็บ ตั้งแต่ 15ตร.กม.ขึ้นไป 11. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนขนาดขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อเพลิง 3.2.5 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA ตารางที่ 1 ข้อแตกต่างระหว่าง EIA และ EHIA ที่มา : สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2552) รายงาน การจัดทารายงาน การพิจารณารายงาน 1. รายงาน EIA ศึกษาตามขอบเขต 4 มิติ ได้แก่ 1.1. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ 1.2. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ 1.3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์ 1.4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต 1.1. รายงาน EIA ส่งมา สผ. และหน่วยงาน อนุญาต สผ. ใช้เวลาในการพิจารณาตรวจ สอบ รายงาน (15 วัน ) และให้ความเห็นเบื้องต้น (15 วัน ) คชก. ใช้เวลารอบแรก (45วัน ) รอบสอง (30 วัน ) 1.2. หลังจากที่ คชก. ให้ความเห็นชอบ สผ. จะ นาส่งให้หน่วยงานอนุมัติ/อนุญาต เพื่อพิจารณา ตัดสินใจอนุมัติ/อนุญาต
  • 17. 11 2. รายงาน EHIA ศึกษาตามขอบเขต 4 มิติ ของการ จัดทารายงาน EIA แต่จะมีข้อแตกต่าง คือ 2.1. เน้นเรื่องการประเมินผลกระทบ สุขภาพให้ครอบคลุมปัจจัยกาหนด สุขภาพ และเชื่อมโยงปัจจัยต่างๆ ให้ ชัดเจน 2.2. เน้นกระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนทั้งในขั้น ค.1, ค. 2 และ ค.3 2.1. รายงาน EHIA ส่งมา สผ. และหน่วยงาน อนุญาต สผ. ใช้เวลาในการพิจารณาตรวจ สอบ รายงาน (15 วัน ) และให้ความเห็นเบื้องต้น (15 วัน ) คชก. ใช้เวลารอบแรก ( 45วัน ) รอบสอง (30 วัน ) 2.2. ภายหลัง จากรายงาน EHIA ผ่านความ เห็นชอบจาก คชก.แล้ว สผ. จะส่งรายงานให้ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อให้ความเห็นประกอบ (ภายใน 60 วัน ) และ ส่งรายงานให้หน่วยงานอนุมัติ/อนุญาต เพื่อจัด กระบวนการรับฟังความคิด เห็นของผู้มีส่วนได้ เสีย (ภาค ง) 2.3. เมื่อหน่วยงานอนุมัติ/ อนุญาตตัดสินใจ แล้ว หน่วยงานผู้มีอานาจในการอนุมัติหรือ อนุญาตต้องเผยแพร่เหตุผลและคาชี้แจงการตัด สินใจต่อสาธารณะและบนเว็บไซต์ 3.3 กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียหรือการทาประชา พิจารณ์ (Public Hearings) คือกระบวนการที่รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นใน ปัญหาสาคัญของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มี โอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการ หรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่งหมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความ คิดเห็น.ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของ ประชาชนทุกคน. การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และ ทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ ดาเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก
  • 18. 12 3.2.1 วัตถุประสงค์ การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ของรัฐได้แสดงความคิดเห็นในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการ ประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และ กลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจากโครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้อง ได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัดประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติ และเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่ การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชาพิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจ ได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วนราชการ เห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทา ขึ้นเพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด 3.2.2 หลักการประชาพิจารณ์ (สืบวงค์กาฬวงค์, 2546) มีดังนี้ 1. จะต้องกระทาขึ้นก่อนมีการตัดสินใจของรัฐ 2. จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับผลกระทบแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง 3. การดาเนินการประชาพิจารณ์ต้องเป็นไปโดยเที่ยงตรงและเปิดเผย 4. ข้อสรุปจากการประชาพิจารณ์มีฐานะเป็นเพียงข้อเสนอแนะ 3.2.3 บทบาทของการประชาพิจารณ์ในทางกฎหมาย และการบริหารราชการ การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดยกระบวนการมีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมีคณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนัก กฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผลการศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัด
  • 19. 13 ให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นประธานคณะกรรมาธิการ และ สมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้เข้าร่วมการพิจารณ์ 2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบ ให้กับสมาชิกนิติบัญญัติในขณะพิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็น ส่วนหนึ่งของประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณา ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทาง การเมืองในการผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชน โดยทั่วไปทราบถึงโครงการ และการได้รับความไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มอง ว่าคณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 3. ขั้นที่ 3 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่งเป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่น หนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดยสรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อ ความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มีความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดง ความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการ ล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุม 4. ขั้นที่ 3 การรวบรวมบันทึก มีการพิมพ์บันทึกการพิจารณ์ซึ่งจะรวมหนังสือหรือ เอกสาร ซึ่งบุคคลที่ได้รับเชิญเตรียมไว้ล่วงหน้า บ่อยครั้งที่จะมีคาถามในระหว่างการพิจารณ์แก่ บุคคลที่ได้รับเชิญ และต้องให้ตอบเป็นลายลักษณ์อักษรในการบันทึกการพิจารณ์ ซึ่งจะมอบแก่ สมาชิกนิติบัญญัติในการพิจารณาร่างกฎหมาย 3.3.4 การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย แม้ว่าจะมีการศึกษาและถกเถียงเกี่ยวกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งก่อนที่จะมีการตรา กฎหมายเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาหรือดาเนินโครงการใด และแม้จะมีการตรากฎหมายแล้ว กฎหมายซึ่งให้อานาจดาเนินการแก่หน่วยงานดังกล่าวมักไม่กาหนดแนวทางการดาเนินการที่ชัดเจน เช่น กฎหมายกาหนดให้อานาจการสร้างเขื่อนหรือทางด่วน แต่ก็มิได้กาหนดสถานที่ในการ ดาเนินการไว้ ดังนั้นในขั้นตอนการดาเนินการตามกฎหมายจึงจาเป็นต้องมีการประชาพิจารณ์ ซึ่งมี ลักษณะแตกต่างไปจากการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่ได้กล่าวถึงข้างต้น
  • 20. 14 1. การออกกฎระเบียบอย่างไม่เป็นทางการ: การพิจารณ์ทางการปกครอง ส่วน ราชการมักต้องออกกฎเกณฑ์ทั่วไป เพื่อดาเนินการตามที่กฎหมายแม่บทกาหนด กฎเกณฑ์ดังกล่าว อาจมีเนื้อหาเป็นการกาหนดระดับของมลพิษทางอุตสาหกรรม หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครองของรัฐบาลกาหนด ขั้นตอนดาเนินงานที่ง่ายสาหรับการออกกฎ โดยขั้นแรกหน่วยงานจะแจ้งต่อ สาธารณชน โดยแจ้งจะระบุข้อเสนอเบื้องต้นของหน่วยงาน และเชิญให้บุคคลทั่วไปแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอเป็นลายลักษณ์อักษร จากนั้นหน่วยงานต้องเปิดรับข้อสังเกตตามระยะเวลา ที่กาหนดซึ่งอาจเป็นระยะเวลาสามสิบหรือหกสิบวัน และหลังจากหน่วยงานพิจารณาข้อสังเกตและ ได้ร่างกฎระเบียบเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานต้องอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาของกฎเกณฑ์ดังกล่าวด้วย ขั้นตอนการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการเป็นวิธีการที่ง่าย รวดเร็ว ไม่เสียเงิน ค่าใช้จ่ายสูง และมีประสิทธิภาพในการเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์ที่อาจได้รับผลกระทบ แจ้ง ให้รัฐบาลทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดจากโครงการของรัฐบาล นอกจากนั้นกลุ่มผลประโยชน์ยัง มั่นใจว่าตนมีโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นและได้รับคาตอบจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามกระบวนการ นี้ก็ไม่ถือเป็นการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ เนื่องจากผู้มีอานาจตัดสินใจมิได้เผชิญหน้ากับบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่สามารถเรียกร้องให้มีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยวาจาโดยตรง ดังนั้นการ ออกกฎอย่างไม่เป็นทางการจึงถูกเรียกในบางครั้งว่า “การพิจารณ์ด้วยเอกสาร” กระบวนการนี้ถือ เป็นการพิจารณ์อย่างแท้จริง เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นสามารถคาดหวังได้ว่าความคิดเห็นของ ตนจะได้รับการพิจารณา แต่ในขณะเดียวกันกระบวนการนี้ก็ไม่มีความยืดหยุ่นเท่ากับการนาเสนอ ด้วยวาจา และไม่เป็นที่พึงพอใจเท่ากับการปรากฏตัวและมีส่วนร่วมในกระบวนการในบางครั้ง ส่วนราชการเลือกที่จะเพิ่มกระบวนการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติในการพิจารณ์ด้วยเอกสารสาหรับการ ออกกฎ โดยอาจจัดให้มีการพิจารณ์ขึ้นในที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการ พิจารณาในการออกกฎหมาย การดาเนินการเช่นนี้เป็นการรวมประโยชน์ของทั้งสองกระบวนการ ไว้ด้วยกัน 2. การออกกฎอย่างเป็นทางการ กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองยัง กาหนดขั้นตอนไว้อย่างละเอียด สาหรับการออกกฎซึ่งเรียกว่า การออกกฎอย่างเป็นทางการ อันมี ลักษณะเป็นกระบวนการพิจารณาคดีเพื่อการออกกฎโดยมีบุคคลที่ได้ระบุชื่อโดยเฉพาะเจาะจงสอง ฝ่าย ซึ่งจะส่งเอกสารหลักฐานที่อาจมีการโต้แย้งความถูกต้อง และมีผู้พิพากษาคดีปกครองทาคา ตัดสิน ตัวอย่างเช่นครั้งหนึ่งกฎหมายกาหนดให้สานักงานอาหารและยาจัดให้มีการพิจารณาคดีเพื่อ ตัดสินปริมาณของถั่วเหลืองและน้ามันในเนยถั่วเหลืองซึ่งใช้เวลาตัดสินนานกว่าสิบปี การออกกฎ อย่างเป็นทางการเป็นกระบวนการที่ล่าช้า และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
  • 21. 15 3. การออกกฎโดยเจรจา ส่วนราชการได้ทาการทดลองกระบวนการใหม่ที่เรียกว่า การออกกฎโดยการเจรจา โดยมีแนวคามคิดในการรวบรวมกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ เรื่องที่กาลังพิจารณา เพื่อทาการเจรจาเกี่ยวกับโครงการและหาข้อสรุปที่เป็นฉันทานุมัติ สาหรับการ พิจารณาของส่วนราชการ โดยส่วนราชการจะคัดเลือกกลุ่มผลประโยชน์ที่อาจเข้าร่วมและจัด เจ้าหน้าที่เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ประสานในการดาเนินการประชุมและทบทวนข้อสรุป หากข้อสรุป เป็นที่ยอมรับหน่วยงานจะนาเสนอข้อเสนอดังกล่าวต่อสาธารณชนเสมือนเป็นข้อเสนอของ หน่วยงานเอง ปัจจุบันยังเป็นการเร็วเกินไปที่จะสรุปว่าการออกกฎโดยการเจรจาได้ประสบ ความสาเร็จเพราะแม้ว่าจะมีประโยชน์ในแง่การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์มีส่วนร่วมใน ขั้นต้น แต่ข้อเสียของวิธีการดังกล่าวคือหน่วยงานอาจเสียการควบคุมกระบวนการตัดสินใจของ ตนเอง 3.3.5 การกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย (ปัญญา อุดชาชน, 2545 อ้างใน สมพิศ สุขแสน) วิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ มีดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบในการดาเนินการพิจารณ์ โดยปกติเมื่อหน่วยงาน จัดให้มีการพิจารณ์ ข้าราชการระดับสูงของหน่วยงานมักได้รับเลือกให้เป็นผู้ดาเนินการพิจารณ์ ข้าราชการผู้ทาหน้าที่ประธานในการพิจารณ์มักเป็นนักกฎหมาย เนื่องจากอาจมีประเด็นปัญหา เกี่ยวกับความเหมาะสมของกระบวนการและการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมในการพิจารณ์ และมักเป็นผู้ มีความคุ้นเคยกับประเด็นปัญหาที่จะทาการพิจารณา เนื่องจากการประชาพิจารณ์อาจใช้เวลา ยาวนาน ข้าราชการผู้เป็นประธานอาจต้องทาหน้าที่เป็นระยะเวลาต่อเนื่องเพื่อดาเนินการพิจารณ์ และรวบรวมผล พร้อมทั้งทาข้อเสนอเพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานจะดาเนินการพิจารณ์ด้วยตนเอง เพื่อ แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเรื่องที่พิจารณา 2. บุคคลผู้เข้าร่วมในการพิจารณ์ การแจ้งการพิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ของทางการ ต่อสาธารณะ อาจนามาซึ่งการตอบรับของสาธารณะมากเกินกว่าที่หน่วยงานจะรับพิจารณาได้ บาง หน่วยงานได้ประสานกระบวนการทั้งสองในการเชิญบุคคล โดยในขั้นตอนแรกหน่วยงานจะแจ้ง ให้สาธารณชนทราบถึงการพิจารณ์ด้วยเอกสาร และเมื่อทราบจากข้อสังเกตที่ได้รับว่ามีกลุ่ม ผลประโยชน์ใดที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญก็จะเชิญกลุ่มผลประโยชน์นั้นเข้าร่วมการประชา พิจารณ์ต่อไป 3. สถานที่จัดการพิจารณ์ รัฐบาลมักจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองหลวงของ ประเทศ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของทั้งหน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ อย่างไรก็ตามไม่นานมานี้
  • 22. 16 หน่วยงานเริ่มที่จะจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองในระดับภูมิภาคที่สาคัญเช่นเดียวกัน แม้ว่าข้อเสนอ จะมีผลกระทบต่อประชาชนทั้งประเทศและเมื่อข้อเสนอมีผลกระทบอย่างมากต่อเขตพื้นที่ใด แน่นอนว่าจะมีการจัดประชาพิจารณ์ในเขตพื้นที่นั้น 4. เวลาในการจัดการพิจารณ์เวลาในการจัดการประชาพิจารณ์ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หากหน่วยงานต้องการแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับประเด็น ปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนแรกๆ ของกระบวนการก็ควรจัดให้มีการพิจารณาในชั้นแรก แต่หาก ประสงค์ให้มีการวิจารณ์ข้อเสนอเป็นการเฉพาะก็ควรจัดการพิจารณาขึ้นในช่วงเวลาต่อมา 5. กระบวนการในการพิจารณ์ การพิจารณ์ทางเอกสารเป็นกระบวนการพิจารณ์ที่ เหมาะสมกับความต้องการของหน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังมีความเหมาะสม สาหรับประเด็นปัญหาที่มีลักษณะทางเทคนิคสูง ซึ่งอาจไม่เหมาะกับการใช้การพิจารณ์ทางนิติ บัญญัติ อย่างไรก็ตามการพิจารณ์ทางเอกสารอาจมีประโยชน์ไม่มากนักสาหรับประชาชนโดยทั่วไป ซึ่งอาจแสดงความคิดเห็นด้วยวาจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า 6. ขั้นตอนก่อนการทาประชาพิจารณ์ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจที่ให้มีการทาประชา พิจารณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดในเบื้องต้นคือ การแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ ความสาเร็จและ การยอมรับของประชาชนขึ้นอยู่กับการทางานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์เป็นสาคัญ ดังนี้ 6.1 ขั้นตอนก่อนทาการประชาพิจารณ์ (Pre-hearing stage) 6.2 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ (Hearing stage) 6.3 ขั้นตอนควบคุมความประพฤติและการปฏิบัติตามกระบวนการทาประชา พิจารณ์ 7. การปฏิบัติตามรายงานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์ คณะกรรมการประชา พิจารณ์ด้วยความช่วยเหลือของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่จัดทาผลสรุปการศึกษาการทา ประชาพิจารณ์ขั้นสุดท้าย (Final Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อรายงานต่อผู้แต่งตั้ง 8. การปฏิบัติตามรายงานสรุปผลการศึกษา การทาประชาพิจารณ์ โดยปกติแล้ว เอกสารรายงานสรุปผลการศึกษาการทาประชาพิจารณ์เพื่อได้ส่งรายงานให้รัฐบาลแล้ว เอกสารจะ ได้รับการเผยแพร่ต่อประชาชนทันที แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลต้องระมัดระวังเกี่ยวกับการตัดสินใจ การปฏิบัติตามสรุปผลการศึกษาการทาประชาพิจารณ์อย่างมาก เนื่องจากต้องรับผิดชอบทางการ เมือง และการตรวจสอบโดยสื่อมวลชน 9. งบประมาณ สาหรับการทาประชาพิจารณ์ โดยทั่วไปแล้วรัฐบาลจะต้องจัดสรร งบประมาณให้เพียงพอตามความเหมาะสมตามกรอบการศึกษาของการทาประชาพิจารณ์ในแต่ละ
  • 23. 17 เรื่อง ดังนั้นจานวนค่าใช้จ่ายจะมีจานวนแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะและระยะเวลาของ การศึกษา 3.3.6 ผลกระทบของการประชาพิจารณ์ ประชาพิจารณ์อาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณากฎหมายและการบริหารราชการ แผ่นดินสามประการคือ ประการแรก กระบวนการสาธารณะทุกอย่างต้องเสียค่าใช้จ่ายและทาให้การ ตัดสินใจล่าช้า การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่จัดขึ้นในหลายสถานที่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากกว่าการพิจารณาด้วยเอกสาร ประการที่สอง ในบางครั้งกระบวนการทางสังคมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการหน่วง เหนี่ยวหรือก่อให้เกิดความสับสนกับโครงการของรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ที่โต้แย้งโครงการใด โครงการหนึ่งมักอ้างต่อศาลว่า ตนไม่ได้รับสิทธิในการเข้าร่วมการพิจารณ์ตามที่กฎหมายกาหนด และร้องขอให้มีการพิจารณาคาตัดสินของหน่วยงานใหม่ ทาให้เห็นว่าประเทศไทยอาจต้องทดลอง ขั้นตอนการประชาพิจารณ์ซึ่งหน่วยงานมีสิทธิเด็ดขาดในการตัดสินใจดาเนินการโดยไม่ให้สิทธิใน การอุทธรณ์ หรืออาจใช้กระบวนการของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ประการที่สาม เป็นประการที่สาคัญที่สุด คือกระบวนการสาธารณะส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจของหน่วยงานไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะในประเด็นปัญหาทั่วไปที่มีลักษณะทาง เทคนิค การประชาพิจารณ์ในปัจจุบัน ได้ตอบสนองต่อกลุ่มผลประโยชน์ที่มีจานวนมากขึ้น แนวโน้มในการนากระบวนการประชาพิจารณ์มาใช้เพื่อให้การดาเนินการของส่วนราชการ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนมากขึ้น จึงถือเป็นการคุ้มค่ากับเวลาและค่าใช้จ่ายที่เสีย ไป 3.4 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 3.4.1 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการเอกชนและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม.(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม/จัดทาใหม่ทั้งฉบับ)
  • 24. 18 ภาพที่ 4 ขอบเขตการศึกษา EIA ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696 3.4.2 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการเอกชนและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม. ภาพที่ 5 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696
  • 25. 19 3.4.3 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA สาหรับโครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจโครงการ ร่วมกับเอกชน ซึ่งต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจาก ครม. ภาพที่ 6 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696 3.4.4 ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ EHIA ภาพที่ 7 ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA ที่มา: http: //www.gotoknow.org/posts/461696
  • 26. 20 4. หลักการจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 4.1 ผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 การดาเนินการตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ส่งผลให้บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงาน การศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน ค่าใช้จ่ายในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน รวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์ในการจัดการ เกี่ยวกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน เช่น การจัดตั้งระบบบาบัดน้าเสีย การ ติดตั้งระบบตรวจจับการปล่อยมลพิษ การตรวจสุขภาพของประชาชน เป็นต้น ซึ่งค่าใช้จ่ายในการ จัดการสิ่งแวดล้อมถือเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์ 4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา67 ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพของประชาชนในชุมชน รวมถึงค่าใช้จ่ายในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนกิจการถือ เป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ แต่หากมีการลงทุนตามที่ได้จัดทาไว้ในรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่ง เป็นต้นทุนของโครงการ บันทึกเป็นสินทรัพย์ของกิจการ แต่หากโครงการที่จัดทานั้นได้ ทาการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชนแล้ว ไม่สามารถดาเนินการโครงการก็ถือเป็นค่าใช้จ่ายทันทีในงวดบัญชีนั้น 4.3 ข้อคิดเห็นต่อการดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 คุณกมลพงศ์ แซ่จัน ผู้สอบบัญชีได้รับอนุญาตเลขทะเบียน 11215
  • 27. 21 ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ค่าใช้จ่าย EIA) และค่าธรรมเนียมใน การขออนุญาตต่างๆของโครงการควรถือเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการในงวดนั้น เนื่องจากตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในย่อหน้าที่ 16 และ 19 ไม่ถือให้ ค่าใช้จ่ายในการจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมถือรวมเป็นต้นทุนของสินทรัพย์ของโครงการ สาหรับค่าใช้จ่ายในการลงทุนในสินทรัพย์ของโครงการให้ถือเป็นสินทรัพย์ของโครงการ และตัด เป็นค่าเสื่อมราคาตามวิธีที่เหมาะสมที่มาตราฐานการบัญชีกาหนด อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ดารงตาแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมและการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการผู้ชานาญการ คณะกรรมการในสภาวิชาชีพ และAudit Committee ในคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ EIA เป็นกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตาม กฎหมาย ซึ่งจะกาหนดประเภทของกิจกรรมที่ต้องทาหลายประเภท เช่น ขนาดของสนามบิน การ ขนส่ง โรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า มี 2 ระดับด้วยกัน คือ ระดับหนึ่งเป็นเรื่อง ของประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ซึ่งจะเป็นโครงการที่มีความรุนแรงสูง เช่น โรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินโดยมีกาลังการผลิตมากกว่า 100 เมกะวัตต์ อ่างและนิคมขนาดใหญ่ๆ โดยจะขึ้นอยู่กับขนาดของโครงการ EIA เป็นผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมตามปกติ ใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการพิจารณาว่า โครงการนั้นเหมาะสมที่จะดาเนินการต่อไปและมีผลกระทบอะไรเกิดขึ้นหรือไม่ โดย EIA เป็น เครื่องมือในการคาดการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต ส่วน ค่าใช้จ่ายมีในเรื่องของการศึกษา ซึ่งจะมีบริษัท ที่ปรึกษาทางด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวิศวกรรมในประเทศไทยอยู่ตอนนี้ประมาณ 70-80 บริษัท ขึ้นอยู่
  • 28. 22 กับขนาดโครงการ เช่น คอนโดมิเนียมที่เห็นตามป้ายโฆษณา EIA Approve โดยมีจานวนมากกว่า 100 ห้อง โดยมีค่าใช้จ่ายในการยื่นขอก็เป็นค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย แล้วแต่หน่วยงานอนุมัติ อนุญาต เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ภายนอกเขต นิคม แล้วไปยื่นต่อกรม โรงงาน โดยมีการยื่น 2 ระดับ คือ กรมโรงงานจะอนุมัติในเรื่องของการตั้งโรงงาน ส่วนการ ก่อสร้างต้องไปยื่นกับท้องถิ่น มาตรการต่างๆของ EIA เหล่านี้จะถูกผนวกเป็นเงื่อนไขในการขอ อนุญาต และโรงงานที่ตั้งในนิคมจะว่าด้วยพระราชบัญญัติของการนิคม จะมีค่าธรรมเนียมต่างๆ ซึ่ง แล้วแต่โครงการ และประเภทของโครงการ สาหรับค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการลงทุน เช่น ระบบบาบัดต่างๆ ควรถือเป็นต้นทุน เพราะเป็นการเริ่มการดาเนินงาน เมื่อทาการศึกษาเสร็จ คณะกรรมการหรือผู้ดูแลจะเป็นคนออกมาตรการ ซึ่งจะต้องสั่งซื้ออุปกรณ์ในการบาบัด โดยเฉพาะ การทาบ่อบาบัดน้าเสียต้องติดตั้งอุปกรณ์ ทั้งในเรื่องของปล่องมลพิษ ก๊าซต่างๆที่เกิดขึ้น ต้องมี เครื่องมือ ซึ่งเป็นต้นทุนในการเริ่มดาเนินการ อาจจะต้องซื้อเครื่องมือประมาณ 10-20 ล้านบาท พวกเทคโนโลยีใหม่ๆ น่าเป็นต้นทุนมากกว่า ส่วนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจะเป็นพวกค่าไฟฟ้าที่ใช้กับบ่อ บาบัด ซึ่งไม่ได้เป็นกระบวนการผลิต โดยจะต้องแยกส่วนและในหลักการกฎหมาย คือ คนใดที่ทา ให้เกิดมลพิษต้องเป็นผู้ที่ออกค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา พวกประเทศที่เจริญแล้วจะชัดเจนในเรื่อง บัญชีสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะใส่อยู่ในเรื่องของระดับบัญชีประชาชาติ ระบบบัญชีการเงิน บัญชีบริหาร การตัดสินใจ ซึ่งมี 3 ระดับ ประเทศไทยยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องนี้ ซึ่งในเรื่องนี้จะแสดงถึงภาระ รับผิดชอบและความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลโดยทาให้ทราบว่าธุรกิจของเรามีความรับผิดชอบ ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นและได้ดาเนินการในสิ่งเหล่านี้มากน้อยแค่ไหน และหากเป็นโครงการที่ไม่ได้รับการ อนุมัติกิจการควรถือเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีนั้น รวมถึงค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างบุคคลภายนอกใน กระบวนการตรวจสอบและติดตามผลซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายเช่นกัน