SlideShare a Scribd company logo
1 of 70
Download to read offline
รายงาน 
วิชา Environmental Management Accounting 
รหัสวิชา 03760433 
เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67 
บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) 
เสนอ 
ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ 
จัดทาโดย (sec.800) 
5430110183 นางสาวจุฑาทิพ ทัดสุขสกุล R13 
5430110540 นางสาวพิมพ์ชนก ไชยสถาน R13 
5430110825 นางสาวสุขวสา รุ้งสิริเดชา R13 
5430110841 นางสาวสุภาภรณ์ ตันติวงศ์ R13 
5430110957 นางสาวศศิมล ศรีพินิจ R13 
คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบัญชีบริหาร 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
คานา 
รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting ซึ่งได้จัดนาเสนอเนื้อหา เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในมาตรา 67 สภาพแวดล้อมโดยรวมขององค์การ การจัดการ มลพิษ ข้อมูลองค์การและแนวทางการจัดการรายงานต่อสาธารณชน และคณะผู้จัดทาได้นาเสนอข้อมูลของ บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) เนื่องจากบริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) เป็นองค์การที่มีการจัดทาบัญชี สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหลักอีกทั้งยังมีกิจกรรมด้าน CSR พร้อมทั้งดูแลสาธารณชนใน ละแวกองค์การที่ได้รับผลกระทบและมีการจัดทารายงานความยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อเป็นการศึกษาถึงการคิดต้นทุน สิ่งแวดล้อม หนี้สินสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นเพื่อนาไปพัฒนาองค์การและสภาพแวดล้อมต่อไป 
คณะผู้จัดทา
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 1 
การวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 
 การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) 2 
 การจัดทารายงานการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) 6 
 การจัดทาประชาพิจารณ์ 8 
 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 16 
ความหมายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 17 
การจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 
 การจัดทา EIA ที่มีผลกระทบต่อบัญชีของบริษัท 25 
 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่ายอย่างไร 30 
 การดาเนินการทางบัญชี 31 
ตัวอย่างของบริษัทและการพัฒนาปิโตรเลียม 
 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิดและการดาเนินงาน 34 
 คดีพิพาทของบริษัท 48 
 ผลที่บริษัทได้รับ 57 
 การพัฒนาปิโตรเลียม 58 
 ผลกระทบต่อการจัดการบัญชีปิโตรเลียม 65 
บรรณานุกรม 67
ห น้า | 1 
บทที่ 1 
กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67
ห น้า | 2 
บทที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 
การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
ห น้า | 3 
โครงการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการและโครงการที่ไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี 
สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (สผ.) กองวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะต้องตรวจสอบ ความถูกต้องสมบูรณ์ ภายใน 15 วัน ถ้ารายงานไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ จะถูกส่งกลับไปให้เจ้าของโครงการ แก้ไข แต่ถ้าถูกต้องสมบูรณ์ สานักงานฯ จะพิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมภายใน 15 วัน เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาต่อไปให้แล้วเสร็จ ภายใน 45 วัน ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบกับรายงานฯ หน่วยงานผู้อนุญาตจะออก ใบอนุญาต ให้เจ้าของโครงการดาเนินการต่อไปได้ แต่หากไม่เห็นชอบกับรายงานฯ ให้เจ้าของโครงการ ดาเนินการแก้ไขรายงานฯ 
แล้วยื่น รายงานที่ได้แก้ไขเพิ่มเติม หรือได้จัดทาใหม่ทั้งฉบับ แล้วให้สานักงานฯ สรุปผลการพิจารณา และนาเสนอคณะกรรมการผู้ชานาญการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ทั้งนี้ถ้าคณะกรรมการผู้ ชานาญการมิได้ พิจารณาให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลาให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญการเห็นชอบกับรายงานฯ ฉบับแก้ไขนั้น หน่วยงานผู้อนุญาต สามารถออกใบอนุญาตให้เจ้าของโครงการดาเนินการต่อไปได้ 
ภาพที่1 : ขั้นตอนการพิจารณา EIA สาหรับ โครงการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
ห น้า | 4 
โครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และโครงการร่วมกับเอกชนซึ่งต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี 
จะต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ขั้นศึกษาความเหมาะสมของโครงการ เพอื่ 
นาเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติโดย สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม จะเป็นฝ่ายเลขานุการ 
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ โดยเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรีต่อไป ทั้งนี้ 
คณะรัฐมนตรีอาจขอรับความเห็นจากบุคคล หรือสถาบันเพอื่ประกอบการพิจารณาให้ความเห็นต่อโครงการฯ 
ได้ ในการพิจารณารายงานฯโดยที่โครงการประเภทนี้ ไม่ได้กา หนดระยะเวลาในการพิจารณาไว้ในกฎหมาย
ห น้า | 5 
ขั้นตอนและระยะเวลาการพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการพิจารณาผู้มี สิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมของสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการดาเนินการทั้งสิ้น 10 ขั้นตอน รวมระยะเวลาไม่เกิน 55 วันทาการ ดังนี้ ขั้นตอน ระยะเวลา 1. 
งานสารบรรณส่งเรื่องให้กลุ่มงานนิติการ 
1 วัน 
2. 
กลุ่มงานนิติการตรวจสอบคุณสมบัตินิติบุคคล 
2 วัน 
3. 
กลุ่มงานนิติการส่งเรื่องให้สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
1 วัน 
4. 
สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตรวจสอบเอกสารแสดงคุณสมบัติผู้เสนอขอ เป็นผู้ชานาญการ 
7 วัน 
5. 
สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสรุปคุณสมบัติ ผลงาน และประสบการณ์ ของนิติบุคคลผู้เสนอขอเป็นผู้ชานาญการและเจ้าหน้าที่ 
10 วัน 
6. 
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขออนุญาตทารายงานฯ สัมภาษณ์ ผู้เสนอขอเป็น ชานาญการ 
20 วัน 
7. 
คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิทารายงานฯ พิจารณาขั้นสุดท้าย 
- วัน 
8. 
สรุปมติการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 
3 วัน 
9. 
รับรองมติคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 
7 วัน 
10. 
แจ้งผลการพิจารณา 
4 วัน รวม 55 วัน
ห น้า | 6 
การจัดทารายงานการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)
ห น้า | 7 
ความหมายของ EHIA 
EHIA มาจากตัวย่อของ EIA และ HIA ซึ่งเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่ง HIA เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบใน EIA โดย EIA เป็นตัวย่อมาจาก Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของ สิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผล กระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้ง ความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่ง บางครั้งอาจนาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง 
สาหรับประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งในปีในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและ เปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ใน ส่วนของการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และกฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์ แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตราโดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนาเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติม 
โดยที่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สาคัญ คือ โครงการพัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ดาเนิน กิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ของไทย ทาให้ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
ห น้า | 8 
การทาประชาพิจารณ์ 
คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่งหมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความคิดเห็น 
ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของประชาชนทุก คน การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจดาเนินการใดๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผล ต่อประชาชนจานวนมาก 
การประชาพิจารณ์เป็นกระบวนการที่รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในปัญหาสาคัญ ของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มีโอกาสรับทราบข้อมูลโดย ละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการหรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ เห็นด้วยก็ตามรวมทั้งการทาประชาพิจารณ์เป็นการดาเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเป็น ทางการ ตามระเบียบสานักนายกฯ จึงจาเป็นต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ มีการประกาศเชิญ ชวนให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมประชาพิจารณ์ มีการลงทะเบียนเพื่อการเข้าร่วมประชาพิจารณ์ 
วัตถุประสงค์ของการทาประชาพิจารณ์ 
การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการของรัฐได้แสดงความคิดเห็น ในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่าง เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และกลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจาก โครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้องได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัด ประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติและเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่ สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชา พิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วน ราชการเห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทาขึ้นเพื่อ จุดประสงค์ดังต่อไปนี้
ห น้า | 9 
1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 
2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 
3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 
4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 
5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด 
หลักการประชาพิจารณ์ (สืบวงค์ กาฬวงค์, 2546) มีดังนี้ 
1. จะต้องกระทาขึ้นก่อนมีการตัดสินใจของรัฐ 
2. จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับผลกระทบแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง 
3. การดาเนินการประชาพิจารณ์ต้องเป็นไปโดยเที่ยงตรงและเปิดเผย 
4. ข้อสรุปจากการประชาพิจารณ์มีฐานะเป็นเพียงข้อเสนอแนะ 
บทบาทของการประชาพิจารณ์ในทางกฎหมาย และการบริหารราชการ 
การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ : กระบวนการศึกษาปัญหาด้านนโยบายเบื้องต้น 
การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดยกระบวนการมีขั้นตอน ดังนี้ 
1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมี คณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนักกฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผล การศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัดให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้น ประธานคณะกรรมาธิการ และสมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้ เข้าร่วมการพิจารณ์ 
2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ
ห น้า | 10 
ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบให้กับสมาชิกนิติบัญญัติในขณะ พิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการ พิจารณา 
ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทางการเมืองในการผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบถึงโครงการ และการได้รับความ ไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มองว่าคณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 
3. ขั้นที่ 3 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่ง เป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความ ช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่นหนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดย สรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มี ความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดงความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้ สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วม ประชุม 
4. ขั้นที่ 3 การรวบรวมบันทึก มีการพิมพ์บันทึกการพิจารณ์ซึ่งจะรวมหนังสือหรือเอกสาร ซึ่งบุคคลที่ได้รับเชิญ เตรียมไว้ล่วงหน้า บ่อยครั้งที่จะมีคาถามในระหว่างการพิจารณ์แก่บุคคลที่ได้รับเชิญ และต้องให้ตอบเป็นลาย ลักษณ์อักษรในการบันทึกการพิจารณ์ ซึ่งจะมอบแก่สมาชิกนิติบัญญัติในการพิจารณาร่างกฎหมาย 
การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย 
แม้ว่าจะมีการศึกษาและถกเถียงเกี่ยวกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งก่อนที่จะมีการตรากฎหมายเพื่อดาเนินการแก้ไข ปัญหาหรือดาเนินโครงการใด และแม้จะมีการตรากฎหมายแล้ว กฎหมายซึ่งให้อานาจดาเนินการแก่หน่วยงาน ดังกล่าวมักไม่กาหนดแนวทางการดาเนินการที่ชัดเจน เช่น กฎหมายกาหนดให้อานาจการสร้างเขื่อนหรือทาง ด่วน แต่ก็มิได้กาหนดสถานที่ในการดาเนินการไว้ ดังนั้นในขั้นตอนการดาเนินการตามกฎหมายจึงจาเป็นต้องมี การประชาพิจารณ์ 
ซึ่งมีลักษณะแตกต่างไปจากการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่ได้กล่าวถึงข้างต้น 
1. การออกกฎระเบียบอย่างไม่เป็นทางการ : การพิจารณ์ทางการปกครอง
ห น้า | 11 
ส่วนราชการมักต้องออกกฎเกณฑ์ทั่วไป เพื่อดาเนินการตามที่กฎหมายแม่บทกาหนด กฎเกณฑ์ดังกล่าวอาจมี เนื้อหาเป็นการกาหนดระดับของมลพิษทางอุตสาหกรรม หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของ รัฐบาลกาหนด 
ขั้นตอนดาเนินงานที่ง่ายสาหรับการออกกฎ โดยขั้นแรกหน่วยงานจะแจ้งต่อสาธารณชน โดยแจ้งจะระบุ ข้อเสนอเบื้องต้นของหน่วยงาน และเชิญให้บุคคลทั่วไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอเป็นลายลักษณ์ อักษร จากนั้นหน่วยงานต้องเปิดรับข้อสังเกตตามระยะเวลาที่กาหนดซึ่งอาจเป็นระยะเวลาสามสิบหรือหกสิบวัน และหลังจากหน่วยงานพิจารณาข้อสังเกตและได้ร่างกฎระเบียบเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานต้องอธิบายเกี่ยวกับ เนื้อหาของกฎเกณฑ์ดังกล่าวด้วย 
ตัวอย่างเช่นเมื่อสานักงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมจะออกกฎกาหนดระดับมลพิษทางน้าและอากาศของกิจการ อุตสาหกรรม สานักงาน ฯ จะต้องแจ้งต่อสาธารณชนถึงวัตถุประสงค์ในการดาเนินการและระดับของมลพิษที่จะ กาหนด หลังจากได้รับข้อสังเกตจากกลุ่มอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมแล้ว สานักงานฯ จะพิจารณาว่ากฎที่จะ กาหนดควรมีลักษณะและเนื้อหาเช่นใด และในการประกาศกฎ สานักงานฯ จะระบุเหตุผลความจาเป็นในการ ออกกฎดังกล่าว ซึ่งเป็นการตอบคาถามต่อข้อสังเกตที่สาคัญว่าเหตุใดจึงได้รับการยอมรับหรือปฏิเสธไปในตัว 
ขั้นตอนการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการเป็นวิธีการที่ง่าย รวดเร็ว ไม่เสียเงินค่าใช้จ่ายสูง และมีประสิทธิภาพใน การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์ที่อาจได้รับผลกระทบ แจ้งให้รัฐบาลทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดจาก โครงการของรัฐบาล นอกจากนั้นกลุ่มผลประโยชน์ยังมั่นใจว่าตนมีโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นและได้รับ คาตอบจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามกระบวนการนี้ก็ไม่ถือเป็นการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ เนื่องจากผู้มีอานาจ ตัดสินใจมิได้เผชิญหน้ากับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่สามารถเรียกร้องให้มีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย วาจาโดยตรง ดังนั้นการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการจึงถูกเรียกในบางครั้งว่า ‚การพิจารณ์ด้วยเอกสาร‛ กระบวนการนี้ถือเป็นการพิจารณ์อย่างแท้จริง เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นสามารถคาดหวังได้ว่าความคิดเห็น ของตนจะได้รับการพิจารณา แต่ในขณะเดียวกันกระบวนการนี้ก็ไม่มีความยืดหยุ่นเท่ากับการนาเสนอด้วยวาจา และไม่เป็นที่พึงพอใจเท่ากับการปรากฏตัวและมีส่วนร่วมในกระบวนการในบางครั้ง ส่วนราชการเลือกที่จะเพิ่ม กระบวนการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติในการพิจารณ์ด้วยเอกสารสาหรับการออกกฎ โดยอาจจัดให้มีการพิจารณ์ขึ้น ในที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาในการออกกฎหมาย การดาเนินการเช่นนี้ เป็นการรวมประโยชน์ของทั้งสองกระบวนการไว้ด้วยกัน
ห น้า | 12 
2. การออกกฎอย่างเป็นทางการ กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองยังกาหนดขั้นตอนไว้อย่าง ละเอียด สาหรับการออกกฎซึ่งเรียกว่า การออกกฎอย่างเป็นทางการ อันมีลักษณะเป็นกระบวนการพิจารณาคดี เพื่อการออกกฎโดยมีบุคคลที่ได้ระบุชื่อโดยเฉพาะเจาะจงสองฝ่าย ซึ่งจะส่งเอกสารหลักฐานที่อาจมีการโต้แย้ง ความถูกต้อง และมีผู้พิพากษาคดีปกครองทาคาตัดสิน ตัวอย่างเช่นครั้งหนึ่งกฎหมายกาหนดให้สานักงานอาหาร และยาจัดให้มีการพิจารณาคดีเพื่อตัดสินปริมาณของถั่วเหลืองและน้ามันในเนยถั่วเหลืองซึ่งใช้เวลาตัดสินนาน กว่าสิบปี การออกกฎอย่างเป็นทางการเป็นกระบวนการที่ล่าช้า และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่เป็นที่นิยมใช้ใน ปัจจุบัน 
3. การออกกฎโดยเจรจา ส่วนราชการได้ทาการทดลองกระบวนการใหม่ที่เรียกว่า การออกกฎโดยการเจรจา โดยมีแนวคามคิดในการรวบรวมกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องที่กาลังพิจารณา เพื่อทาการเจรจา เกี่ยวกับโครงการและหาข้อสรุปที่เป็นฉันทานุมัติ สาหรับการพิจารณาของส่วนราชการ โดยส่วนราชการจะ คัดเลือกกลุ่มผลประโยชน์ที่อาจเข้าร่วมและจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ประสานในการดาเนินการประชุม และทบทวนข้อสรุป หากข้อสรุปเป็นที่ยอมรับหน่วยงานจะนาเสนอข้อเสนอดังกล่าวต่อสาธารณชนเสมือนเป็น ข้อเสนอของหน่วยงานเอง ปัจจุบันยังเป็นการเร็วเกินไปที่จะสรุปว่าการออกกฎโดยการเจรจาได้ประสบ ความสาเร็จเพราะแม้ว่าจะมีประโยชน์ในแง่การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์มีส่วนร่วมในขั้นต้น แต่ข้อเสีย ของวิธีการดังกล่าวคือหน่วยงานอาจเสียการควบคุมกระบวนการตัดสินใจของตนเอง 
การกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย (ปัญญา อุดชาชน, 2545 อ้างใน สมพิศ สุขแสน) 
วิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ มีดังนี้ 
1.เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบในการดาเนินการพิจารณ์ โดยปกติเมื่อหน่วยงานจัดให้มีการพิจารณ์ข้าราชการ ระดับสูงของหน่วยงานมักได้รับเลือกให้เป็นผู้ดาเนินการพิจารณ์ ข้าราชการผู้ทาหน้าที่ประธานในการพิจารณ์ มักเป็นนักกฎหมาย เนื่องจากอาจมีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของกระบวนการและการปฏิบัติอย่าง เป็นธรรมในการพิจารณ์ และมักเป็นผู้มีความคุ้นเคยกับประเด็นปัญหาที่จะทาการพิจารณา เนื่องจากการประชา พิจารณ์อาจใช้เวลายาวนาน ข้าราชการผู้เป็นประธานอาจต้องทาหน้าที่เป็นระยะเวลาต่อเนื่องเพื่อดาเนินการ
ห น้า | 13 
พิจารณ์และรวบรวมผล พร้อมทั้งทาข้อเสนอเพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานจะดาเนินการพิจารณ์ด้วยตนเอง เพื่อ แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเรื่องที่พิจารณา 
2. บุคคลผู้เข้าร่วมในการพิจารณ์ การแจ้งการพิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ของทางการต่อสาธารณะ อาจนามาซึ่งการ ตอบรับของสาธารณะมากเกินกว่าที่หน่วยงานจะรับพิจารณาได้ บางหน่วยงานได้ประสานกระบวนการทั้งสอง ในการเชิญบุคคล โดยในขั้นตอนแรกหน่วยงานจะแจ้งให้สาธารณชนทราบถึงการพิจารณ์ด้วยเอกสาร และเมื่อ ทราบจากข้อสังเกตที่ได้รับว่ามีกลุ่มผลประโยชน์ใดที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญก็จะเชิญกลุ่มผลประโยชน์นั้น เข้าร่วมการประชาพิจารณ์ต่อไป 
3. สถานที่จัดการพิจารณ์ รัฐบาลมักจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองหลวงของประเทศ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของทั้ง หน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ อย่างไรก็ตามไม่นานมานี้หน่วยงานเริ่มที่จะจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองใน ระดับภูมิภาคที่สาคัญเช่นเดียวกัน แม้ว่าข้อเสนอจะมีผลกระทบต่อประชาชนทั้งประเทศและเมื่อข้อเสนอมี ผลกระทบอย่างมากต่อเขตพื้นที่ใด แน่นอนว่าจะมีการจัดประชาพิจารณ์ในเขตพื้นที่นั้น 
4. เวลาในการจัดการพิจารณ์ เวลาในการจัดการประชาพิจารณ์ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หาก หน่วยงานต้องการแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนแรกๆ ของกระบวนการ ก็ควรจัดให้มีการพิจารณาในชั้นแรก แต่หากประสงค์ให้มีการวิจารณ์ข้อเสนอเป็นการเฉพาะก็ควรจัดการ พิจารณาขึ้นในช่วงเวลาต่อมา 
5. กระบวนการในการพิจารณ์ การพิจารณ์ทางเอกสารเป็นกระบวนการพิจารณ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของ หน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังมีความเหมาะสมสาหรับประเด็นปัญหาที่มีลักษณะทางเทคนิค สูง ซึ่งอาจไม่เหมาะกับการใช้การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ อย่างไรก็ตามการพิจารณ์ทางเอกสารอาจมีประโยชน์ไม่ มากนักสาหรับประชาชนโดยทั่วไปซึ่งอาจแสดงความคิดเห็นด้วยวาจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า 
6. ขั้นตอนก่อนการทาประชาพิจารณ์ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจที่ให้มีการทาประชาพิจารณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดใน เบื้องต้นคือ การแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ ความสาเร็จและการยอมรับของประชาชนขึ้นอยู่กับการ ทางานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์เป็นสาคัญ ดังนี้ 
6.1 ขั้นตอนก่อนทาการประชาพิจารณ์ (Pre-hearing stage) 
6.2 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ (Hearing stage)
ห น้า | 14 
6.3 ขั้นตอนควบคุมความประพฤติและการปฏิบัติตามกระบวนการทาประชาพิจารณ์ 
7. การปฏิบัติตามรายงานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์ คณะกรรมการประชาพิจารณ์ด้วยความช่วยเหลือ ของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่จัดทาผลสรุปการศึกษาการทาประชาพิจารณ์ขั้นสุดท้าย (Final Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อรายงานต่อผู้แต่งตั้ง 
8. การปฏิบัติตามรายงานสรุปผลการศึกษา การทาประชาพิจารณ์ โดยปกติแล้ว เอกสารรายงานสรุปผล การศึกษาการทาประชาพิจารณ์เพื่อได้ส่งรายงานให้รัฐบาลแล้ว เอกสารจะได้รับการเผยแพร่ต่อประชาชนทันที แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลต้องระมัดระวังเกี่ยวกับการตัดสินใจการปฏิบัติตามสรุปผลการศึกษาการทาประชา พิจารณ์อย่างมาก เนื่องจากต้องรับผิดชอบทางการเมือง และการตรวจสอบโดยสื่อมวลชน 
9. งบประมาณ สาหรับการทาประชาพิจารณ์ โดยทั่วไปแล้วรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอตาม ความเหมาะสมตามกรอบการศึกษาของการทาประชาพิจารณ์ในแต่ละเรื่อง ดังนั้นจานวนค่าใช้จ่ายจะมีจานวน แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษระและระยะเวลาของการศึกษา 
ผลกระทบของการประชาพิจารณ์ 
ประชาพิจารณ์อาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณากฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดินสามประการคือ 
ประการแรก กระบวนการสาธารณะทุกอย่างต้องเสียค่าใช้จ่ายและทาให้การตัดสินใจล่าช้า การพิจารณ์ทางนิติ บัญญัติที่จัดขึ้นในหลายสถานที่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่าการพิจารณาด้วยเอกสาร 
ประการที่สอง ในบางครั้งกระบวนการทางสังคมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการหน่วงเหนี่ยวหรือก่อให้เกิดความ สับสนกับโครงการของรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ที่โต้แย้งโครงการใดโครงการหนึ่งมักอ้างต่อศาลว่า ตนไม่ได้ รับสิทธิในการเข้าร่วมการพิจารณ์ตามที่กฎหมายกาหนด และร้องขอให้มีการพิจารณาคาตัดสินของหน่วยงาน ใหม่ ทาให้เห็นว่าประเทศไทยอาจต้องทดลองขั้นตอนการประชาพิจารณ์ซึ่งหน่วยงานมีสิทธิเด็ดขาดในการ ตัดสินใจดาเนินการโดยไม่ให้สิทธิในการอุทธรณ์ หรืออาจใช้กระบวนการของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ 
ประการที่สาม เป็นประการที่สาคัญที่สุด คือกระบวนการสาธารณะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจของหน่วยงาน ไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะในประเด็นปัญหาทั่วไปที่มีลักษณะทางเทคนิค
ห น้า | 15 
การประชาพิจารณ์ในปัจจุบัน ได้ตอบสนองต่อกลุ่มผลประโยชน์ที่มีจานวนมากขึ้น แนวโน้มในการนา กระบวนการประชาพิจารณ์มาใช้เพื่อให้การดาเนินการของส่วนราชการตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชนมากขึ้น จึงถือเป็นการคุ้มค่ากับเวลาและค่าใช้จ่ายที่เสียไป 
บ.ไออาร์พีซี จากัด(มหาชน) จัดทาประชาพิจารณ์ เตรียมขยายโรงผลิต ท่ามกลางชาวบ้านที่เห็นด้วยและหวั่น ความปลอดภัยในทุกด้าน 
บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) ได้จัดการประชุมรับฟังความคิดเห็นการทบทวนร่างรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในโครงการโรงงานเอทิลเบนซีนสไตรีนโมโนเมอร์ (ขยายกาลงการ ผลิต ครั้งที่ 1 ) โดยการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพด้วยพลังงานสะอาด บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ประชาชนจากชุมชนต่าง ๆ มาร่วมรับฟังและแสดงความคิดเห็น มากกว่า 300 คน ณ โรงแรมสตาร์ อ.เมือง จ.ระยอง 
ทั้งนี้การจัดประชุมก็ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของร่าง รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้นาเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นเพิ่มเติม เพื่อนาไปปรับปรุงร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 
ขณะที่ชาวบ้านหลายคนที่อาศัยใกล้โรงงานฯดังกล่าว บอกว่า เมื่อในสมัย ก่อน มีปัญหามากจริง แต่ ในช่วง 2-4 ปีที่ผ่านมา รู้สึกว่าดีขึ้น เมื่อมีปัญหา โรงงานก็เข้ามาดูแล ตรงไหนที่ไม่ดีก็บอกให้โรงงานมาแก้ไข ซึ่งทางชุมชนก็อยู่ได้ และคนในชุมชนส่วนมากก็อายุยืน ซึ่งเรื่องต่าง ๆ ในชุมชน โรงงานก็ให้ความช่วยเหลือทั้ง ในเรื่องของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ทุกสิ้นเดือนจะมีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เข้ามาดูแล รวมไปถึงสวนสุขภาพใน ชุมชนด้วย ถ้าชุมชนต้องการอะไร จะเสนอโครงการไป โรงงานก็เข้ามาดูแลเอาใจใส่ ส่วนเรื่องความปลอดภัย รู้สึกมั่นใจ เพราะ โรงงานมอบถังดับเพลิง 50 ลูก ติดตั้งในแต่ละจุด ภายในชุมชน
ห น้า | 16 
การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
ห น้า | 17 
บทที่ 3 
ความหมายของการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 
การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือที่เราเรียกติดปากว่า EIA (Environmental Impact Assessment) หมายถึงการประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมถึงความเสี่ยงที่จะมีผลต่อความสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์ และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่ง บางครั้งอาจนาไปสู่ภัยภิบัติต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกัน ได้ว่า ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจ ได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อ สิ่งแวดล้อมก่อนทาการอนุมัติให้ดาเนินโครงการ 
ตามหลักการและวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น หากหน่วยงานที่รับผิดชอบมีการปฏิบัติอย่างเข้าใจ และมี ความเที่ยงธรรมแล้ว กระบวนการ EIA ก็จะเป็นกระบวนการที่เป็นที่พึ่งของประชาชน สามารถสะท้อนปัญหา ความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนได้ แต่จากการมีประสบการณ์ตรงในพื้นที่ อ.เกาะสมุย จากกรณี โครงการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่สัมปทาน รอบๆ เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน พบว่ากระบวนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ถือปฏิบัติกันอยู่ มิได้มีเป้าประสงค์ที่จะ ศึกษาผลกระทบจากการดาเนินโครงการอย่างตรงไปตรงมา เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพิจารณาอนุมัติหรือไม่ อนุมัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบ เสมือนหนึ่งว่าเป็นการศึกษาเพื่อให้ครบกระบวนความตามที่ กฎหมายกาหนดไว้เท่านั้น ดังจะเห็นได้ว่าบริษัทผู้รับทา EIA ยังไม่เคยมีรายงานปรากฏให้เห็นเลยว่า ผู้รับ สัมปทานรายใดไม่ควรจะดาเนินโครงการ ในขณะเดียวกันหน่วยงานผู้พิจารณาโครงการก็ไม่ปรากฏเช่นกันว่า มี มติสั่งระงับการขุดเจาะสารวจหรือผลิตปิโตรเลียมหลุมใดหรือแปลงใด 
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ EIA เป็นเพียงเครื่องมือหาความชอบธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากรของ ประเทศ จึงเกิดกระแสการต่อต้านและไม่ยอมรับ การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของบริษัท รวมถึงการไม่ยอมรับ ในเนื้อหา หรือระเบียบปฏิบัติของ EIA เอง ดังเป็นข่าวปรากฏแทบทุกพื้นที่ในภาคใต้ที่มีการจัดเวทีรับฟังความ คิดเห็น
ห น้า | 18 
ความไม่โปร่งใสในกระบวนการจัดทา EIA 
1. การแจ้งข้อมูลข่าวสารล่าช้าไม่ทั่วถึง ในการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น เกือบทุกกรณีผู้เข้าร่วมเวทีจะได้รับ การแจ้ง วันเวลา อย่างกระชั้นชิด หรือไม่ได้รับทราบ ไม่ทั่วถึง ทาให้มีผู้เข้าร่วมน้อย และไม่มีการเตรียมตัว ควร จะต้องมีการระบุให้เป็นระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจนถึงระยะเวลาที่เหมาะสม และจะต้องใช้สื่อประเภทใดบ้าง เพื่อให้ ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึง 
2. การคัดเลือกพื้นที่และกลุ่มตัวอย่างรับฟังความคิดเห็นไม่เหมาะสม ในทางปฏิบัติ บริษัทผู้ศึกษาผลกระทบ มักเลือกพื้นที่ศึกษาที่เห็นว่าจะได้คาตอบที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทผู้ว่าจ้าง (ผู้รับสัมปทาน) เช่น พื้นที่ห่างไกล จากแท่นขุดเจาะ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับสภาพพื้นที่และปัญหาที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นการเลือกพื้นที่รับฟังความคิดเห็น ควรจะได้รับการกากับดูแลจากหน่วยงานที่เป็นกลาง หรือราชการ หรือคณะกรรมการที่มีการจัดตั้งขึ้นเพื่อ พิจารณา 
การเลือกกลุ่มตัวแทนเพื่อเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นหรือเพื่อสอบถามความคิดเห็น มักไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มอาชีพ ทาให้ประชาชนจานวนมากยังไม่รับทราบว่ามีการเข้ามารับฟังความคิดเห็นแล้ว ในขณะที่บริษัท ผู้จัดมักเน้นการเชิญข้าราชการ หัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนองค์กร ทาให้บรรยากาศการ ประชุมไม่เอื้อต่อการแสดงความคิดเห็นของประชาชน 
3. รูปแบบการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น โดยส่วนใหญ่แล้ว บริษัทที่ปรึกษาผู้จัดเวทีมักเลือกเอาสถานที่ ราชการ เช่น ศาลากลางจังหวัด เทศบาล อาเภอ หรือแม้แต่ใน สานักงานพลังงานจังหวัดเป็นสถานที่จัด แล้ว นาเอาข้าราชการระดับสูงมาเป็นประธาน เพื่อผลทางจิตวิทยาต่อผู้เข้าร่วมประชุม ซึ่งหากประธานมีความโน้ม เอียงไปทางผู้รับสัมปทาน ก็ยิ่งทาให้เป็นเวทีไม่มีผู้คัดค้าน หรือมีก็น้อย ในบางกรณี หน่วยราชการ เช่น กรม เชื้อเพลิงธรรมชาติ ก็เคยลงมาเป็นผู้ดาเนินรายการเอง จัดเวทีร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา ซึ่งก็ยิ่งทาให้ดูไม่เหมาะสม มากขึ้น เพราะผู้ดาเนินรายการมักวางตัวไม่เป็นกลาง 
4. การหลีกเลี่ยงการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เป็นวิธีการที่บริษัทที่ปรึกษาและบริษัทน้ามันนิยมปฏิบัติ (Focus Group) โดยการนัดหมายการพูดคุยในกลุ่มเล็กๆ อาจนัดหมายเฉพาะบุคคลคนเดียว หรือ 2 – 3 คน การพูดจามี เหตุผล หว่านล้อม และเสนอประโยชน์ สามารถเปลี่ยนความคิด หรือลดระดับการต่อต้านลงได้ หากไม่มีความ มั่นคงในจิตใจเพียงพอ หรือขาดข้อมูลข้อเท็จจริงที่จะโต้แย้งความคิด การพูดคุยแบบเจาะรายบุคคลเช่นนี้ บริษัท
ห น้า | 19 
ที่ปรึกษามักอ้างว่าเป็นขั้นตอนและวิธีการหนึ่งในการศึกษาผลกระทบ และอ้างความชอบธรรม ว่าได้ปฏิบัติตาม เงื่อนไขตามกฎหมาย และอ้างต่อชุมชนได้ว่าได้มีการรับฟังความคิดเห็นแล้ว 
5. เนื้อหาในการศึกษาผลกระทบทาไม่ครบถ้วน การศึกษาผลกระทบทุกบริษัทมิได้ทาการประเมินผลกระทบ หรือความเสียหายในเชิงธุรกิจของพื้นที่ ในกรณีที่เกิดน้ามันรั่วไหล แต่กลับพยายามบอกว่า ไม่มีโอกาสจะเกิด การรั่วไหล เนื่องจากสารพัดเหตุผล เช่น มีมาตรฐานการทางานดี มีระบบควบคุมน้ามันรั่วไหลที่ดี ซึ่งไม่ใช่การ ตอบคาถามของสังคม การหลีกเลี่ยงที่จะตอบคาถามก็เนื่องจากว่า หากเกิดเหตุการณ์รั่วไหลที่รุนแรงจริงบริษัท ผู้รับสัมปทานไม่สามารถจะชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ ทั้งความเสียหายต่อธุรกิจด้านท่องเที่ยว และด้าน อื่นๆ ที่มีที่ตั้งอยู่บนเกาะและนอกเกาะ ทั้งนี้เนื่องจากว่าขนาดและจานวนประเภทธุรกิจที่เชื่อมโยงอยู่กับการ ท่องเที่ยวบนเกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่านั้น มีขนาดใหญ่มาก และมีมูลค่ามหาศาลเกินกว่าที่บริษัทจะรับ ชดเชยค่าเสียหายได้ แต่ก็มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษาว่าหากเกิดกรณีสถานการณ์เลวร้ายขึ้น มี อะไรบ้างที่กระทบ และคิดเป็นมูลค่าเท่าไร 
การประเมินความเสียหายต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก็เช่นเดียวกับกรณีความเสียหายเชิงธุรกิจ ในกรณีเกิด สถานการณ์เลวร้ายขึ้น ธรรมชาติอะไรบ้างที่ต้องสูญเสียไป หรือต้องฟื้นฟูให้กลับมาเช่นเดิม เช่น คุณภาพน้า ทะเล ปะการัง หญ้าทะเล สัตว์หายาก หาดทราย เป็นต้น และหากประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์แล้วคิด เป็นมูลค่าเท่าไร สิ่งเหล่านี้บริษัทผู้ศึกษาผลกระทบมิเคยเอ่ยถึง และไม่ต้องการให้ประชาชนได้เรียนรู้ข้อเท็จจริง 
6. การสรุปเนื้อหารายงานผลกระทบไม่สอดคล้องความเป็นจริง ในการสรุปเนื้อหาการประชุมรับฟังความ คิดเห็น บริษัทผู้จัดมักสรุปไม่ครบถ้วน ความเห็นที่ขัดแย้งจะไม่ได้รับการบันทึกเสมอ เช่นในรายงานการรับฟัง ความคิดเห็นครั้งที่ 1 ที่เกาะสมุย ของบริษัทซาลามานเดอร์ แปลง G4/50 ก็ไม่มีบันทึกในรายงานว่ามีผู้คัดค้าน จานวนมากจนไม่สามารถเปิดเวทีได้ และเช่นเดียวกับการยื่นหนังสือให้การรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 2 ของ บริษัทซาลามานเดอร์เป็นโมฆะที่สานักงานพลังงานจังหวัดเมื่อวันที่ 3 พ.ค.2556 ก็ไม่มีบันทึกในรายงานการ ประชุม ซึ่งเป็นการบิดเบือนความจริงและไม่ประสงค์จะให้คณะกรรมการ คชก.ทราบ ดังนั้นการสรุปข้อมูล อื่นๆ ที่ดาเนินการโดยบริษัทที่ปรึกษา จึงอนุมานได้ทานองเดียวกันว่า ไม่อาจจะให้ความเชื่อถือไว้วางใจได้ว่า เป็นข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงธรรม ไม่มีความลาเอียงเพื่อให้บริษัทผู้ว่าจ้างได้ประโยชน์ 
7. การพิจารณาของคณะกรรมการ คชก. ขาดความโปร่งใส การสรุปความเห็นขั้นคณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) ซึ่งเป็นผู้พิจารณาอนุมัติรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นขั้นตอนที่ประชาชนมีความรู้สึกว่ามีการ
ห น้า | 20 
ทางานที่ปกปิด ขาดการเปิดเผยข้อมูล และการทางานต่อสาธารณชน เช่น รายชื่อคณะกรรมการที่ได้รับการ แต่งตั้ง มีบุคคลใดบ้าง ผ่านการคัดสรรโดยใคร และวิธีใด มีสัดส่วนของคณะกรรมการเช่นไร และประชาชนมี ส่วนร่วมอย่างไรบ้าง และเพราะเหตุใด เสียงคัดค้านของประชาชนเป็นเวลาถึง 4 ปีเต็ม จึงไม่มีผลต่อการระงับ ยับยั้งการอนุมัติผ่าน EIA ได้เลย จึงสมควรที่จะเปิดเผยและเผยแพร่การทางานของคณะกรรมการชุดนี้ให้ สาธารณะชนได้รับรู้มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อสร้างความโปร่งใสในการทางาน และไม่ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลทางการเมืองและผลประโยชน์อย่างที่ประชาชนเข้าใจ 
8. การเสนอประโยชน์แอบแฝงให้กับชุมชน ในช่วงปี 2553 เป็นที่ทราบกันดีว่ากระแสการคัดค้านการขุดเจาะ สารวจปิโตรเลียมเกิดขึ้นแทบทุกชุมชนในเกาะทั้งสาม ดังนั้นวิธีการที่บริษัทน้ามันจะได้รับการยอมรับ ก็คือการ เปลี่ยนความคิดของชุมชน ดังนั้นในช่วงปี 2553 เป็นต้นมา เราจึงพบเห็นความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ของบริษัท น้ามันทั้งของต่างชาติและสัญชาติไทย มอบให้กับชุมชน โรงเรียน องค์กร ภาคธุรกิจ กลุ่มอาชีพต่างๆ องค์กร ปกครองท้องถิ่น องค์กรสื่อ รวมทั้งที่อาจแอบแฝงมากับโครงการของภาคราชการที่ยังไม่อาจตรวจสอบยืนยันได้ ความพยายามอย่างต่อเนื่อง โดยมีเงินทุนและบุคลากรสนับสนุนดาเนินการ ได้ทาให้ชุมชนเกิดความคิดที่ สนับสนุนการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมมากขึ้น รวมทั้งเกิดความรู้สึกเคลือบแคลงสงสัยและไม่พอใจ ในตัวบุคคล และกลุ่มที่เคลื่อนไหวคัดค้านการขุดเจาะสารวจ เพราะอาจทาให้ไม่ได้ประโยชน์หรือความ ช่วยเหลือที่คาดหวังว่าจะได้ ตัวอย่างรูปธรรมที่พบเห็นความช่วยเหลือแบบมีประโยชน์แอบแฝง เช่น การทาสี โรงเรียน การมอบเงินสนับสนุนให้องค์กรสื่อในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การจัดกิจกรรมไปศึกษาดูงาน เป็นต้น การ เปลี่ยนความคิดโดยใช้เงินและวัตถุเป็นตัวล่อ เป็นวิธีการที่สร้างความเห็นแก่ตัวและความแตกแยกให้เกิดขึ้นกับ สังคมอย่างเลวร้าย จนอาจกล่าวได้ว่า สังคมมองไม่เห็นคุณธรรม ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและชาติ บ้านเมือง เป็นปฐมบทของการล่มสลายของชุมชน วัฒนธรรมและประเทศชาติในที่สุด 
ข้อเสนอเพื่อแก้ไขการศึกษาผลกระทบ (EIA) 
1.) ภาครัฐต้องทบทวนทาความเข้าใจต่อหลักสิทธิชุมชนและสิทธิมนุษยชน 
ในสภาพความจริงที่ปรากฏ การกระทาตามนโยบายด้านพลังงานของรัฐที่กาลังสร้างผลกระทบต่อทั้ง สิ่งแวดล้อมและการดารงชีพตามปกติสุขของประชาชนและชุมชนต่างๆ ล้วนไม่สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่ง รัฐตามระบบประชาธิปไตย ที่รัฐต้องคานึงถึงหลักสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญปี 2550 มาตรา 66 และ 67 ที่ กาหนดว่า ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง
ห น้า | 21 
สมดุลย์และยั่งยืน เช่นเดียวกับหลักสิทธิมนุษยชน กฎหมายภายใต้รัฐธรรมนูญไทย ได้นิยามของสิทธิมนุษยชน ครอบคลุมทั้งสิทธิ, เสรีภาพ ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป็นสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี พันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตาม การละเลยหรือเพิกเฉยที่จะปฏิบัติตาม หลักสากลที่สาคัญในการบริหาร ประเทศ เท่ากับเป็นการละเมิดต่ออธิปไตยของปวงชน ซึ่งนิยามว่าประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครอง ประเทศ 
2.) รัฐต้องเร่งทบทวนการทางานของหน่วยงานที่พิจารณาอนุมัติโครงการให้ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด นอกจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 67 ได้ให้สิทธิแก่บุคคลที่จะร่วมกับรัฐและชุมชน ในการอนุรักษ์ บารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม แล้วยังมีกฎหมายอีกหลายฉบับ เช่น พรบ.ป่าไม้ 2484, พรบ.วัตถุ อันตราย 2535, พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 เป็นต้น แต่ปัญหาความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกลับทวีความรุนแรงขึ้น สาเหตุหลักก็คือ การเลือกปฏิบัติ และขาดการ บังคับใช้อย่างจริงจังเกษตรกรและชุมชนท้องถิ่นจานวนมากถูกบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ขณะที่กลุ่มทุน ที่มีทั้งเงินทุนและสายสัมพันธ์กับผู้มีอานาจอิทธิพลต่างๆ กลับทาให้ยาก (รุจิระ บุญนาค) ไม่ต่างกับกรณี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน จากการขุดเจาะปิโตรเลียมประชิดชุมชนบนเกาะและชายฝั่ง อีกทั้งยังตั้งอยู่ บนฐานทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์และหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งวางไข่และเติบโต ของปลาหลากหลายสายพันธุ์หน่วยงานรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุญาตให้มีการขุดเจาะสารวจ และ ผลิตปิโตรเลียม เช่น คณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) และสานักงานสิ่งแวดล้อมและแผน (สผ.) กลับเพิกเฉย ที่จะสั่งระงับโครงการ เพื่อให้มีการทบทวนตรวจสอบตามการเรียกร้องเป็นเวลากว่า 4 ปี ของประชาชนในพื้นที่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า จึงเป็นการสมควรที่รัฐต้องทบทวนการพิจารณาการปฏิบัติงานของผู้เกี่ยวข้อง กับการอนุมัติการดาเนินตามโครงการขุดเจาะสารวจปิโตรเลียม โดยยึดเอาหลักและเจตนารมณ์ของกฎหมาย สิ่งแวดล้อม มาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชาติ 
3.) ต้องแก้ไขระเบียบเงื่อนไขกฎหมาย เพื่อการทา EIA ที่สมบูรณ์ 
3.1) รัฐต้องมีการผนวกการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมให้อยู่ในประเภทโครงการก่อผลกระทบ “รุนแรง” เพื่อมิให้เป็นช่องทางให้ผู้ก่อผลกระทบใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ต้องศึกษาผลกระทบอย่างรอบด้าน ควรแก้ไขเงื่อนไขทางกฎหมาย ให้ครอบคลุมทุกประเภทโครงการ ไม่ว่าประเภทใด เล็กหรือใหญ่ หากมี หลักฐานหรือข้อมูลชี้ชัดว่าได้สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวิถีการดารงชีพของชุมชนแล้ว จะต้องมี
ห น้า | 22 
การศึกษาผลกระทบอย่างละเอียดและรอบด้าน รวมทั้งด้านยุทธเศษสตร์การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจมวลรวมและ ชุมชน, สุขภาพ และความมั่นคงทางสังคม 
3.2) บริษัทหรือองค์กร ผู้ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมต้องมีความเป็นกลาง คุณสมบัติของความเป็นกลาง ต้อง ได้มาจากการยอมรับจากหน่วยงานและองค์กรที่มีความเป็นกลางที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับ ปัจจุบันบริษัทผู้รับ ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมไม่มีความเป็นกลาง มีสายสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบริษัทผู้รับสัมปทาน ทาให้การศึกษา ผลกระทบ ไม่อาจเชื่อถือได้ในสายตาของประชาชน กระบวนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโครงการ ขนาดใหญ่ จาเป็นต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานทางวิชาการที่ไม่ได้อาศัยงบประมาณ หรือ ความช่วยเหลือจากกลุ่มทุนใดๆ 
รายละเอียดการศึกษาด้าน EIA 
ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 
1) ศึกษาองค์ประกอบโครงการ และลักษณะขององค์ประกอบโครงการระบบเครือข่ายน้า แผนดาเนินโครงการ ในระยะต่างๆ แผนการและวิธีการก่อสร้างอย่างละเอียด ตลอดจนความจาเป็นที่ต้องมีโครงการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ จะใช้เป็นพื้นฐานสาคัญในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
2) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) พื้นฐานที่จาเป็นจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการรวบรวมข้อมูล ด้านสาคัญจะจัดทาเป็นระบบฐานข้อมูลเพื่อสามารถนาไปวิเคราะห์ และแสดงผลความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับ สาขาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าอื่นๆ โดยฐานข้อมูลดังกล่าวจะครอบคลุมพื้นที่ศึกษาและพิจารณา การ เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลในอดีตและปัจจุบันตามความจาเป็น ตลอดจนโครงการหรือแผนงานในอนาคต 
3) วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ เพื่อเลือกสรรข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์หรือที่เชื่อถือได้ นามา วิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสถิติตามความจาเป็น และหาความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
4) ดาเนินการสารวจภาคสนาม โดยการตรวจสอบ สังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ และการเก็บตัวอย่าง เพื่อเก็บ ข้อมูลปฐมภูมิ การเก็บตัวอย่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในด้านที่มีผลกระทบที่มีนัยสาคัญ และการวิเคราะห์ใน ห้องปฏิบัติการ และเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจัดทาเป็นสภาพแวดล้อมในปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการ ระบบ เครือข่ายน้า
ห น้า | 23 
5) เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล แสดงสภาพในอดีต ปัจจุบัน และการคาดการณ์หรือพยากรณ์ สภาพหรือ แนวโน้มในอนาคตในสภาวะที่ไม่มีโครงการ (Without Project Conditions) รวมถึงการแสดงความสัมพันธ์ ของ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ 
6) วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพยากรสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในอนาคต ในกรณีที่มีโครงการ (With Project Conditions) ระบบเครือข่ายน้าในพื้นที่โครงการที่อาจส่งผลกระทบ ต่อ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันบริเวณโครงการระบบเครือข่ายน้า 
7) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ และ/หรือผลกระทบขององค์ประกอบ ต่างๆ ของโครงการ และของโครงการทั้งหมด (Overall Project) เพื่อทาให้การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้ผลสมบูรณ์และมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น 
8) กาหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการระบบ เครือข่ายน้าในพื้นที่โครงการระบบเครือข่ายน้า พร้อมทั้งเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมที่มีความจาเป็น ทั้งในระยะก่อสร้างและดาเนินการโครงการฯ 
9) ดาเนินการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการระบบเครือข่ายน้า ตามขอบเขตที่ กาหนดใน TOR และขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่กาหนดโดยสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)

  • 1. รายงาน วิชา Environmental Management Accounting รหัสวิชา 03760433 เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67 บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) เสนอ ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ จัดทาโดย (sec.800) 5430110183 นางสาวจุฑาทิพ ทัดสุขสกุล R13 5430110540 นางสาวพิมพ์ชนก ไชยสถาน R13 5430110825 นางสาวสุขวสา รุ้งสิริเดชา R13 5430110841 นางสาวสุภาภรณ์ ตันติวงศ์ R13 5430110957 นางสาวศศิมล ศรีพินิจ R13 คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting ซึ่งได้จัดนาเสนอเนื้อหา เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในมาตรา 67 สภาพแวดล้อมโดยรวมขององค์การ การจัดการ มลพิษ ข้อมูลองค์การและแนวทางการจัดการรายงานต่อสาธารณชน และคณะผู้จัดทาได้นาเสนอข้อมูลของ บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) เนื่องจากบริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) เป็นองค์การที่มีการจัดทาบัญชี สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเป็นหลักอีกทั้งยังมีกิจกรรมด้าน CSR พร้อมทั้งดูแลสาธารณชนใน ละแวกองค์การที่ได้รับผลกระทบและมีการจัดทารายงานความยั่งยืน ทั้งนี้เพื่อเป็นการศึกษาถึงการคิดต้นทุน สิ่งแวดล้อม หนี้สินสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นเพื่อนาไปพัฒนาองค์การและสภาพแวดล้อมต่อไป คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า กฎหมายรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 1 การวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ  การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) 2  การจัดทารายงานการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) 6  การจัดทาประชาพิจารณ์ 8  การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม 16 ความหมายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 17 การจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง  การจัดทา EIA ที่มีผลกระทบต่อบัญชีของบริษัท 25  ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่ายอย่างไร 30  การดาเนินการทางบัญชี 31 ตัวอย่างของบริษัทและการพัฒนาปิโตรเลียม  ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิดและการดาเนินงาน 34  คดีพิพาทของบริษัท 48  ผลที่บริษัทได้รับ 57  การพัฒนาปิโตรเลียม 58  ผลกระทบต่อการจัดการบัญชีปิโตรเลียม 65 บรรณานุกรม 67
  • 4. ห น้า | 1 บทที่ 1 กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67
  • 5. ห น้า | 2 บทที่ 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
  • 6. ห น้า | 3 โครงการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการและโครงการที่ไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (สผ.) กองวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะต้องตรวจสอบ ความถูกต้องสมบูรณ์ ภายใน 15 วัน ถ้ารายงานไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ จะถูกส่งกลับไปให้เจ้าของโครงการ แก้ไข แต่ถ้าถูกต้องสมบูรณ์ สานักงานฯ จะพิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมภายใน 15 วัน เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาต่อไปให้แล้วเสร็จ ภายใน 45 วัน ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบกับรายงานฯ หน่วยงานผู้อนุญาตจะออก ใบอนุญาต ให้เจ้าของโครงการดาเนินการต่อไปได้ แต่หากไม่เห็นชอบกับรายงานฯ ให้เจ้าของโครงการ ดาเนินการแก้ไขรายงานฯ แล้วยื่น รายงานที่ได้แก้ไขเพิ่มเติม หรือได้จัดทาใหม่ทั้งฉบับ แล้วให้สานักงานฯ สรุปผลการพิจารณา และนาเสนอคณะกรรมการผู้ชานาญการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ทั้งนี้ถ้าคณะกรรมการผู้ ชานาญการมิได้ พิจารณาให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลาให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญการเห็นชอบกับรายงานฯ ฉบับแก้ไขนั้น หน่วยงานผู้อนุญาต สามารถออกใบอนุญาตให้เจ้าของโครงการดาเนินการต่อไปได้ ภาพที่1 : ขั้นตอนการพิจารณา EIA สาหรับ โครงการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการและโครงการที่ไม่ต้อง เสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
  • 7. ห น้า | 4 โครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และโครงการร่วมกับเอกชนซึ่งต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี จะต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ขั้นศึกษาความเหมาะสมของโครงการ เพอื่ นาเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติโดย สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม จะเป็นฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ โดยเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรีต่อไป ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีอาจขอรับความเห็นจากบุคคล หรือสถาบันเพอื่ประกอบการพิจารณาให้ความเห็นต่อโครงการฯ ได้ ในการพิจารณารายงานฯโดยที่โครงการประเภทนี้ ไม่ได้กา หนดระยะเวลาในการพิจารณาไว้ในกฎหมาย
  • 8. ห น้า | 5 ขั้นตอนและระยะเวลาการพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการพิจารณาผู้มี สิทธิขอรับใบอนุญาตทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมของสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการดาเนินการทั้งสิ้น 10 ขั้นตอน รวมระยะเวลาไม่เกิน 55 วันทาการ ดังนี้ ขั้นตอน ระยะเวลา 1. งานสารบรรณส่งเรื่องให้กลุ่มงานนิติการ 1 วัน 2. กลุ่มงานนิติการตรวจสอบคุณสมบัตินิติบุคคล 2 วัน 3. กลุ่มงานนิติการส่งเรื่องให้สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 วัน 4. สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตรวจสอบเอกสารแสดงคุณสมบัติผู้เสนอขอ เป็นผู้ชานาญการ 7 วัน 5. สานักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสรุปคุณสมบัติ ผลงาน และประสบการณ์ ของนิติบุคคลผู้เสนอขอเป็นผู้ชานาญการและเจ้าหน้าที่ 10 วัน 6. คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขออนุญาตทารายงานฯ สัมภาษณ์ ผู้เสนอขอเป็น ชานาญการ 20 วัน 7. คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิทารายงานฯ พิจารณาขั้นสุดท้าย - วัน 8. สรุปมติการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 3 วัน 9. รับรองมติคณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 7 วัน 10. แจ้งผลการพิจารณา 4 วัน รวม 55 วัน
  • 9. ห น้า | 6 การจัดทารายงานการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)
  • 10. ห น้า | 7 ความหมายของ EHIA EHIA มาจากตัวย่อของ EIA และ HIA ซึ่งเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่ง HIA เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบใน EIA โดย EIA เป็นตัวย่อมาจาก Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของ สิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผล กระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้ง ความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่ง บางครั้งอาจนาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง สาหรับประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งในปีในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและ เปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ใน ส่วนของการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และกฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์ แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตราโดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนาเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติม โดยที่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สาคัญ คือ โครงการพัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ดาเนิน กิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ของไทย ทาให้ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
  • 11. ห น้า | 8 การทาประชาพิจารณ์ คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่งหมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความคิดเห็น ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของประชาชนทุก คน การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจดาเนินการใดๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผล ต่อประชาชนจานวนมาก การประชาพิจารณ์เป็นกระบวนการที่รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในปัญหาสาคัญ ของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มีโอกาสรับทราบข้อมูลโดย ละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการหรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ เห็นด้วยก็ตามรวมทั้งการทาประชาพิจารณ์เป็นการดาเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างเป็น ทางการ ตามระเบียบสานักนายกฯ จึงจาเป็นต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ มีการประกาศเชิญ ชวนให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมประชาพิจารณ์ มีการลงทะเบียนเพื่อการเข้าร่วมประชาพิจารณ์ วัตถุประสงค์ของการทาประชาพิจารณ์ การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการของรัฐได้แสดงความคิดเห็น ในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่าง เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และกลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจาก โครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้องได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัด ประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติและเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่ สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชา พิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วน ราชการเห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทาขึ้นเพื่อ จุดประสงค์ดังต่อไปนี้
  • 12. ห น้า | 9 1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด หลักการประชาพิจารณ์ (สืบวงค์ กาฬวงค์, 2546) มีดังนี้ 1. จะต้องกระทาขึ้นก่อนมีการตัดสินใจของรัฐ 2. จะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับผลกระทบแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง 3. การดาเนินการประชาพิจารณ์ต้องเป็นไปโดยเที่ยงตรงและเปิดเผย 4. ข้อสรุปจากการประชาพิจารณ์มีฐานะเป็นเพียงข้อเสนอแนะ บทบาทของการประชาพิจารณ์ในทางกฎหมาย และการบริหารราชการ การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ : กระบวนการศึกษาปัญหาด้านนโยบายเบื้องต้น การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดยกระบวนการมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมี คณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนักกฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผล การศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัดให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้น ประธานคณะกรรมาธิการ และสมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้ เข้าร่วมการพิจารณ์ 2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ
  • 13. ห น้า | 10 ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบให้กับสมาชิกนิติบัญญัติในขณะ พิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการ พิจารณา ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทางการเมืองในการผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบถึงโครงการ และการได้รับความ ไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มองว่าคณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 3. ขั้นที่ 3 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่ง เป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความ ช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่นหนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดย สรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มี ความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดงความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้ สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วม ประชุม 4. ขั้นที่ 3 การรวบรวมบันทึก มีการพิมพ์บันทึกการพิจารณ์ซึ่งจะรวมหนังสือหรือเอกสาร ซึ่งบุคคลที่ได้รับเชิญ เตรียมไว้ล่วงหน้า บ่อยครั้งที่จะมีคาถามในระหว่างการพิจารณ์แก่บุคคลที่ได้รับเชิญ และต้องให้ตอบเป็นลาย ลักษณ์อักษรในการบันทึกการพิจารณ์ ซึ่งจะมอบแก่สมาชิกนิติบัญญัติในการพิจารณาร่างกฎหมาย การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย แม้ว่าจะมีการศึกษาและถกเถียงเกี่ยวกับปัญหาใดปัญหาหนึ่งก่อนที่จะมีการตรากฎหมายเพื่อดาเนินการแก้ไข ปัญหาหรือดาเนินโครงการใด และแม้จะมีการตรากฎหมายแล้ว กฎหมายซึ่งให้อานาจดาเนินการแก่หน่วยงาน ดังกล่าวมักไม่กาหนดแนวทางการดาเนินการที่ชัดเจน เช่น กฎหมายกาหนดให้อานาจการสร้างเขื่อนหรือทาง ด่วน แต่ก็มิได้กาหนดสถานที่ในการดาเนินการไว้ ดังนั้นในขั้นตอนการดาเนินการตามกฎหมายจึงจาเป็นต้องมี การประชาพิจารณ์ ซึ่งมีลักษณะแตกต่างไปจากการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติที่ได้กล่าวถึงข้างต้น 1. การออกกฎระเบียบอย่างไม่เป็นทางการ : การพิจารณ์ทางการปกครอง
  • 14. ห น้า | 11 ส่วนราชการมักต้องออกกฎเกณฑ์ทั่วไป เพื่อดาเนินการตามที่กฎหมายแม่บทกาหนด กฎเกณฑ์ดังกล่าวอาจมี เนื้อหาเป็นการกาหนดระดับของมลพิษทางอุตสาหกรรม หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของ รัฐบาลกาหนด ขั้นตอนดาเนินงานที่ง่ายสาหรับการออกกฎ โดยขั้นแรกหน่วยงานจะแจ้งต่อสาธารณชน โดยแจ้งจะระบุ ข้อเสนอเบื้องต้นของหน่วยงาน และเชิญให้บุคคลทั่วไปแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อเสนอเป็นลายลักษณ์ อักษร จากนั้นหน่วยงานต้องเปิดรับข้อสังเกตตามระยะเวลาที่กาหนดซึ่งอาจเป็นระยะเวลาสามสิบหรือหกสิบวัน และหลังจากหน่วยงานพิจารณาข้อสังเกตและได้ร่างกฎระเบียบเรียบร้อยแล้ว หน่วยงานต้องอธิบายเกี่ยวกับ เนื้อหาของกฎเกณฑ์ดังกล่าวด้วย ตัวอย่างเช่นเมื่อสานักงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมจะออกกฎกาหนดระดับมลพิษทางน้าและอากาศของกิจการ อุตสาหกรรม สานักงาน ฯ จะต้องแจ้งต่อสาธารณชนถึงวัตถุประสงค์ในการดาเนินการและระดับของมลพิษที่จะ กาหนด หลังจากได้รับข้อสังเกตจากกลุ่มอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมแล้ว สานักงานฯ จะพิจารณาว่ากฎที่จะ กาหนดควรมีลักษณะและเนื้อหาเช่นใด และในการประกาศกฎ สานักงานฯ จะระบุเหตุผลความจาเป็นในการ ออกกฎดังกล่าว ซึ่งเป็นการตอบคาถามต่อข้อสังเกตที่สาคัญว่าเหตุใดจึงได้รับการยอมรับหรือปฏิเสธไปในตัว ขั้นตอนการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการเป็นวิธีการที่ง่าย รวดเร็ว ไม่เสียเงินค่าใช้จ่ายสูง และมีประสิทธิภาพใน การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์ที่อาจได้รับผลกระทบ แจ้งให้รัฐบาลทราบถึงผลกระทบที่อาจเกิดจาก โครงการของรัฐบาล นอกจากนั้นกลุ่มผลประโยชน์ยังมั่นใจว่าตนมีโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นและได้รับ คาตอบจากรัฐบาล อย่างไรก็ตามกระบวนการนี้ก็ไม่ถือเป็นการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ เนื่องจากผู้มีอานาจ ตัดสินใจมิได้เผชิญหน้ากับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งไม่สามารถเรียกร้องให้มีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย วาจาโดยตรง ดังนั้นการออกกฎอย่างไม่เป็นทางการจึงถูกเรียกในบางครั้งว่า ‚การพิจารณ์ด้วยเอกสาร‛ กระบวนการนี้ถือเป็นการพิจารณ์อย่างแท้จริง เนื่องจากผู้แสดงความคิดเห็นสามารถคาดหวังได้ว่าความคิดเห็น ของตนจะได้รับการพิจารณา แต่ในขณะเดียวกันกระบวนการนี้ก็ไม่มีความยืดหยุ่นเท่ากับการนาเสนอด้วยวาจา และไม่เป็นที่พึงพอใจเท่ากับการปรากฏตัวและมีส่วนร่วมในกระบวนการในบางครั้ง ส่วนราชการเลือกที่จะเพิ่ม กระบวนการพิจารณ์ทางนิติบัญญัติในการพิจารณ์ด้วยเอกสารสาหรับการออกกฎ โดยอาจจัดให้มีการพิจารณ์ขึ้น ในที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาในการออกกฎหมาย การดาเนินการเช่นนี้ เป็นการรวมประโยชน์ของทั้งสองกระบวนการไว้ด้วยกัน
  • 15. ห น้า | 12 2. การออกกฎอย่างเป็นทางการ กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองยังกาหนดขั้นตอนไว้อย่าง ละเอียด สาหรับการออกกฎซึ่งเรียกว่า การออกกฎอย่างเป็นทางการ อันมีลักษณะเป็นกระบวนการพิจารณาคดี เพื่อการออกกฎโดยมีบุคคลที่ได้ระบุชื่อโดยเฉพาะเจาะจงสองฝ่าย ซึ่งจะส่งเอกสารหลักฐานที่อาจมีการโต้แย้ง ความถูกต้อง และมีผู้พิพากษาคดีปกครองทาคาตัดสิน ตัวอย่างเช่นครั้งหนึ่งกฎหมายกาหนดให้สานักงานอาหาร และยาจัดให้มีการพิจารณาคดีเพื่อตัดสินปริมาณของถั่วเหลืองและน้ามันในเนยถั่วเหลืองซึ่งใช้เวลาตัดสินนาน กว่าสิบปี การออกกฎอย่างเป็นทางการเป็นกระบวนการที่ล่าช้า และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย จึงไม่เป็นที่นิยมใช้ใน ปัจจุบัน 3. การออกกฎโดยเจรจา ส่วนราชการได้ทาการทดลองกระบวนการใหม่ที่เรียกว่า การออกกฎโดยการเจรจา โดยมีแนวคามคิดในการรวบรวมกลุ่มผลประโยชน์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องที่กาลังพิจารณา เพื่อทาการเจรจา เกี่ยวกับโครงการและหาข้อสรุปที่เป็นฉันทานุมัติ สาหรับการพิจารณาของส่วนราชการ โดยส่วนราชการจะ คัดเลือกกลุ่มผลประโยชน์ที่อาจเข้าร่วมและจัดเจ้าหน้าที่เพื่อทาหน้าที่เป็นผู้ประสานในการดาเนินการประชุม และทบทวนข้อสรุป หากข้อสรุปเป็นที่ยอมรับหน่วยงานจะนาเสนอข้อเสนอดังกล่าวต่อสาธารณชนเสมือนเป็น ข้อเสนอของหน่วยงานเอง ปัจจุบันยังเป็นการเร็วเกินไปที่จะสรุปว่าการออกกฎโดยการเจรจาได้ประสบ ความสาเร็จเพราะแม้ว่าจะมีประโยชน์ในแง่การเปิดโอกาสให้กลุ่มผลประโยชน์มีส่วนร่วมในขั้นต้น แต่ข้อเสีย ของวิธีการดังกล่าวคือหน่วยงานอาจเสียการควบคุมกระบวนการตัดสินใจของตนเอง การกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย (ปัญญา อุดชาชน, 2545 อ้างใน สมพิศ สุขแสน) วิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ มีดังนี้ 1.เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับผิดชอบในการดาเนินการพิจารณ์ โดยปกติเมื่อหน่วยงานจัดให้มีการพิจารณ์ข้าราชการ ระดับสูงของหน่วยงานมักได้รับเลือกให้เป็นผู้ดาเนินการพิจารณ์ ข้าราชการผู้ทาหน้าที่ประธานในการพิจารณ์ มักเป็นนักกฎหมาย เนื่องจากอาจมีประเด็นปัญหาเกี่ยวกับความเหมาะสมของกระบวนการและการปฏิบัติอย่าง เป็นธรรมในการพิจารณ์ และมักเป็นผู้มีความคุ้นเคยกับประเด็นปัญหาที่จะทาการพิจารณา เนื่องจากการประชา พิจารณ์อาจใช้เวลายาวนาน ข้าราชการผู้เป็นประธานอาจต้องทาหน้าที่เป็นระยะเวลาต่อเนื่องเพื่อดาเนินการ
  • 16. ห น้า | 13 พิจารณ์และรวบรวมผล พร้อมทั้งทาข้อเสนอเพื่อให้หัวหน้าหน่วยงานจะดาเนินการพิจารณ์ด้วยตนเอง เพื่อ แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของเรื่องที่พิจารณา 2. บุคคลผู้เข้าร่วมในการพิจารณ์ การแจ้งการพิจารณ์ในหนังสือพิมพ์ของทางการต่อสาธารณะ อาจนามาซึ่งการ ตอบรับของสาธารณะมากเกินกว่าที่หน่วยงานจะรับพิจารณาได้ บางหน่วยงานได้ประสานกระบวนการทั้งสอง ในการเชิญบุคคล โดยในขั้นตอนแรกหน่วยงานจะแจ้งให้สาธารณชนทราบถึงการพิจารณ์ด้วยเอกสาร และเมื่อ ทราบจากข้อสังเกตที่ได้รับว่ามีกลุ่มผลประโยชน์ใดที่เกี่ยวข้องและมีความสาคัญก็จะเชิญกลุ่มผลประโยชน์นั้น เข้าร่วมการประชาพิจารณ์ต่อไป 3. สถานที่จัดการพิจารณ์ รัฐบาลมักจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองหลวงของประเทศ เนื่องจากเป็นที่ตั้งของทั้ง หน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ อย่างไรก็ตามไม่นานมานี้หน่วยงานเริ่มที่จะจัดการประชาพิจารณ์ในเมืองใน ระดับภูมิภาคที่สาคัญเช่นเดียวกัน แม้ว่าข้อเสนอจะมีผลกระทบต่อประชาชนทั้งประเทศและเมื่อข้อเสนอมี ผลกระทบอย่างมากต่อเขตพื้นที่ใด แน่นอนว่าจะมีการจัดประชาพิจารณ์ในเขตพื้นที่นั้น 4. เวลาในการจัดการพิจารณ์ เวลาในการจัดการประชาพิจารณ์ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน หาก หน่วยงานต้องการแนวทางในการดาเนินการเกี่ยวกับประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในขั้นตอนแรกๆ ของกระบวนการ ก็ควรจัดให้มีการพิจารณาในชั้นแรก แต่หากประสงค์ให้มีการวิจารณ์ข้อเสนอเป็นการเฉพาะก็ควรจัดการ พิจารณาขึ้นในช่วงเวลาต่อมา 5. กระบวนการในการพิจารณ์ การพิจารณ์ทางเอกสารเป็นกระบวนการพิจารณ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของ หน่วยงานและกลุ่มผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังมีความเหมาะสมสาหรับประเด็นปัญหาที่มีลักษณะทางเทคนิค สูง ซึ่งอาจไม่เหมาะกับการใช้การพิจารณ์ทางนิติบัญญัติ อย่างไรก็ตามการพิจารณ์ทางเอกสารอาจมีประโยชน์ไม่ มากนักสาหรับประชาชนโดยทั่วไปซึ่งอาจแสดงความคิดเห็นด้วยวาจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า 6. ขั้นตอนก่อนการทาประชาพิจารณ์ เมื่อรัฐบาลตัดสินใจที่ให้มีการทาประชาพิจารณ์ สิ่งที่สาคัญที่สุดใน เบื้องต้นคือ การแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ ความสาเร็จและการยอมรับของประชาชนขึ้นอยู่กับการ ทางานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์เป็นสาคัญ ดังนี้ 6.1 ขั้นตอนก่อนทาการประชาพิจารณ์ (Pre-hearing stage) 6.2 ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ (Hearing stage)
  • 17. ห น้า | 14 6.3 ขั้นตอนควบคุมความประพฤติและการปฏิบัติตามกระบวนการทาประชาพิจารณ์ 7. การปฏิบัติตามรายงานของคณะกรรมการประชาพิจารณ์ คณะกรรมการประชาพิจารณ์ด้วยความช่วยเหลือ ของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีหน้าที่จัดทาผลสรุปการศึกษาการทาประชาพิจารณ์ขั้นสุดท้าย (Final Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อรายงานต่อผู้แต่งตั้ง 8. การปฏิบัติตามรายงานสรุปผลการศึกษา การทาประชาพิจารณ์ โดยปกติแล้ว เอกสารรายงานสรุปผล การศึกษาการทาประชาพิจารณ์เพื่อได้ส่งรายงานให้รัฐบาลแล้ว เอกสารจะได้รับการเผยแพร่ต่อประชาชนทันที แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลต้องระมัดระวังเกี่ยวกับการตัดสินใจการปฏิบัติตามสรุปผลการศึกษาการทาประชา พิจารณ์อย่างมาก เนื่องจากต้องรับผิดชอบทางการเมือง และการตรวจสอบโดยสื่อมวลชน 9. งบประมาณ สาหรับการทาประชาพิจารณ์ โดยทั่วไปแล้วรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอตาม ความเหมาะสมตามกรอบการศึกษาของการทาประชาพิจารณ์ในแต่ละเรื่อง ดังนั้นจานวนค่าใช้จ่ายจะมีจานวน แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษระและระยะเวลาของการศึกษา ผลกระทบของการประชาพิจารณ์ ประชาพิจารณ์อาจส่งผลกระทบต่อการพิจารณากฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดินสามประการคือ ประการแรก กระบวนการสาธารณะทุกอย่างต้องเสียค่าใช้จ่ายและทาให้การตัดสินใจล่าช้า การพิจารณ์ทางนิติ บัญญัติที่จัดขึ้นในหลายสถานที่จะต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่าการพิจารณาด้วยเอกสาร ประการที่สอง ในบางครั้งกระบวนการทางสังคมถูกใช้เป็นเครื่องมือในการหน่วงเหนี่ยวหรือก่อให้เกิดความ สับสนกับโครงการของรัฐบาล กลุ่มผลประโยชน์ที่โต้แย้งโครงการใดโครงการหนึ่งมักอ้างต่อศาลว่า ตนไม่ได้ รับสิทธิในการเข้าร่วมการพิจารณ์ตามที่กฎหมายกาหนด และร้องขอให้มีการพิจารณาคาตัดสินของหน่วยงาน ใหม่ ทาให้เห็นว่าประเทศไทยอาจต้องทดลองขั้นตอนการประชาพิจารณ์ซึ่งหน่วยงานมีสิทธิเด็ดขาดในการ ตัดสินใจดาเนินการโดยไม่ให้สิทธิในการอุทธรณ์ หรืออาจใช้กระบวนการของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ประการที่สาม เป็นประการที่สาคัญที่สุด คือกระบวนการสาธารณะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจของหน่วยงาน ไม่มากก็น้อย โดยเฉพาะในประเด็นปัญหาทั่วไปที่มีลักษณะทางเทคนิค
  • 18. ห น้า | 15 การประชาพิจารณ์ในปัจจุบัน ได้ตอบสนองต่อกลุ่มผลประโยชน์ที่มีจานวนมากขึ้น แนวโน้มในการนา กระบวนการประชาพิจารณ์มาใช้เพื่อให้การดาเนินการของส่วนราชการตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชนมากขึ้น จึงถือเป็นการคุ้มค่ากับเวลาและค่าใช้จ่ายที่เสียไป บ.ไออาร์พีซี จากัด(มหาชน) จัดทาประชาพิจารณ์ เตรียมขยายโรงผลิต ท่ามกลางชาวบ้านที่เห็นด้วยและหวั่น ความปลอดภัยในทุกด้าน บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) ได้จัดการประชุมรับฟังความคิดเห็นการทบทวนร่างรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในโครงการโรงงานเอทิลเบนซีนสไตรีนโมโนเมอร์ (ขยายกาลงการ ผลิต ครั้งที่ 1 ) โดยการปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพด้วยพลังงานสะอาด บริษัท ไออาร์พีซี จากัด (มหาชน) โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ประชาชนจากชุมชนต่าง ๆ มาร่วมรับฟังและแสดงความคิดเห็น มากกว่า 300 คน ณ โรงแรมสตาร์ อ.เมือง จ.ระยอง ทั้งนี้การจัดประชุมก็ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของร่าง รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้นาเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นเพิ่มเติม เพื่อนาไปปรับปรุงร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ขณะที่ชาวบ้านหลายคนที่อาศัยใกล้โรงงานฯดังกล่าว บอกว่า เมื่อในสมัย ก่อน มีปัญหามากจริง แต่ ในช่วง 2-4 ปีที่ผ่านมา รู้สึกว่าดีขึ้น เมื่อมีปัญหา โรงงานก็เข้ามาดูแล ตรงไหนที่ไม่ดีก็บอกให้โรงงานมาแก้ไข ซึ่งทางชุมชนก็อยู่ได้ และคนในชุมชนส่วนมากก็อายุยืน ซึ่งเรื่องต่าง ๆ ในชุมชน โรงงานก็ให้ความช่วยเหลือทั้ง ในเรื่องของกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ทุกสิ้นเดือนจะมีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เข้ามาดูแล รวมไปถึงสวนสุขภาพใน ชุมชนด้วย ถ้าชุมชนต้องการอะไร จะเสนอโครงการไป โรงงานก็เข้ามาดูแลเอาใจใส่ ส่วนเรื่องความปลอดภัย รู้สึกมั่นใจ เพราะ โรงงานมอบถังดับเพลิง 50 ลูก ติดตั้งในแต่ละจุด ภายในชุมชน
  • 19. ห น้า | 16 การขอรับอนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
  • 20. ห น้า | 17 บทที่ 3 ความหมายของการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือที่เราเรียกติดปากว่า EIA (Environmental Impact Assessment) หมายถึงการประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม รวมถึงความเสี่ยงที่จะมีผลต่อความสมบูรณ์ของระบบนิเวศน์ และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่ง บางครั้งอาจนาไปสู่ภัยภิบัติต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกัน ได้ว่า ผู้ที่มีอานาจในการตัดสินใจ ได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อ สิ่งแวดล้อมก่อนทาการอนุมัติให้ดาเนินโครงการ ตามหลักการและวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น หากหน่วยงานที่รับผิดชอบมีการปฏิบัติอย่างเข้าใจ และมี ความเที่ยงธรรมแล้ว กระบวนการ EIA ก็จะเป็นกระบวนการที่เป็นที่พึ่งของประชาชน สามารถสะท้อนปัญหา ความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนได้ แต่จากการมีประสบการณ์ตรงในพื้นที่ อ.เกาะสมุย จากกรณี โครงการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่สัมปทาน รอบๆ เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน พบว่ากระบวนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ถือปฏิบัติกันอยู่ มิได้มีเป้าประสงค์ที่จะ ศึกษาผลกระทบจากการดาเนินโครงการอย่างตรงไปตรงมา เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการพิจารณาอนุมัติหรือไม่ อนุมัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบ เสมือนหนึ่งว่าเป็นการศึกษาเพื่อให้ครบกระบวนความตามที่ กฎหมายกาหนดไว้เท่านั้น ดังจะเห็นได้ว่าบริษัทผู้รับทา EIA ยังไม่เคยมีรายงานปรากฏให้เห็นเลยว่า ผู้รับ สัมปทานรายใดไม่ควรจะดาเนินโครงการ ในขณะเดียวกันหน่วยงานผู้พิจารณาโครงการก็ไม่ปรากฏเช่นกันว่า มี มติสั่งระงับการขุดเจาะสารวจหรือผลิตปิโตรเลียมหลุมใดหรือแปลงใด ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ EIA เป็นเพียงเครื่องมือหาความชอบธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากรของ ประเทศ จึงเกิดกระแสการต่อต้านและไม่ยอมรับ การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของบริษัท รวมถึงการไม่ยอมรับ ในเนื้อหา หรือระเบียบปฏิบัติของ EIA เอง ดังเป็นข่าวปรากฏแทบทุกพื้นที่ในภาคใต้ที่มีการจัดเวทีรับฟังความ คิดเห็น
  • 21. ห น้า | 18 ความไม่โปร่งใสในกระบวนการจัดทา EIA 1. การแจ้งข้อมูลข่าวสารล่าช้าไม่ทั่วถึง ในการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น เกือบทุกกรณีผู้เข้าร่วมเวทีจะได้รับ การแจ้ง วันเวลา อย่างกระชั้นชิด หรือไม่ได้รับทราบ ไม่ทั่วถึง ทาให้มีผู้เข้าร่วมน้อย และไม่มีการเตรียมตัว ควร จะต้องมีการระบุให้เป็นระเบียบปฏิบัติที่ชัดเจนถึงระยะเวลาที่เหมาะสม และจะต้องใช้สื่อประเภทใดบ้าง เพื่อให้ ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึง 2. การคัดเลือกพื้นที่และกลุ่มตัวอย่างรับฟังความคิดเห็นไม่เหมาะสม ในทางปฏิบัติ บริษัทผู้ศึกษาผลกระทบ มักเลือกพื้นที่ศึกษาที่เห็นว่าจะได้คาตอบที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทผู้ว่าจ้าง (ผู้รับสัมปทาน) เช่น พื้นที่ห่างไกล จากแท่นขุดเจาะ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องกับสภาพพื้นที่และปัญหาที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นการเลือกพื้นที่รับฟังความคิดเห็น ควรจะได้รับการกากับดูแลจากหน่วยงานที่เป็นกลาง หรือราชการ หรือคณะกรรมการที่มีการจัดตั้งขึ้นเพื่อ พิจารณา การเลือกกลุ่มตัวแทนเพื่อเข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็นหรือเพื่อสอบถามความคิดเห็น มักไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ และกลุ่มอาชีพ ทาให้ประชาชนจานวนมากยังไม่รับทราบว่ามีการเข้ามารับฟังความคิดเห็นแล้ว ในขณะที่บริษัท ผู้จัดมักเน้นการเชิญข้าราชการ หัวหน้าส่วนราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนองค์กร ทาให้บรรยากาศการ ประชุมไม่เอื้อต่อการแสดงความคิดเห็นของประชาชน 3. รูปแบบการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น โดยส่วนใหญ่แล้ว บริษัทที่ปรึกษาผู้จัดเวทีมักเลือกเอาสถานที่ ราชการ เช่น ศาลากลางจังหวัด เทศบาล อาเภอ หรือแม้แต่ใน สานักงานพลังงานจังหวัดเป็นสถานที่จัด แล้ว นาเอาข้าราชการระดับสูงมาเป็นประธาน เพื่อผลทางจิตวิทยาต่อผู้เข้าร่วมประชุม ซึ่งหากประธานมีความโน้ม เอียงไปทางผู้รับสัมปทาน ก็ยิ่งทาให้เป็นเวทีไม่มีผู้คัดค้าน หรือมีก็น้อย ในบางกรณี หน่วยราชการ เช่น กรม เชื้อเพลิงธรรมชาติ ก็เคยลงมาเป็นผู้ดาเนินรายการเอง จัดเวทีร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา ซึ่งก็ยิ่งทาให้ดูไม่เหมาะสม มากขึ้น เพราะผู้ดาเนินรายการมักวางตัวไม่เป็นกลาง 4. การหลีกเลี่ยงการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เป็นวิธีการที่บริษัทที่ปรึกษาและบริษัทน้ามันนิยมปฏิบัติ (Focus Group) โดยการนัดหมายการพูดคุยในกลุ่มเล็กๆ อาจนัดหมายเฉพาะบุคคลคนเดียว หรือ 2 – 3 คน การพูดจามี เหตุผล หว่านล้อม และเสนอประโยชน์ สามารถเปลี่ยนความคิด หรือลดระดับการต่อต้านลงได้ หากไม่มีความ มั่นคงในจิตใจเพียงพอ หรือขาดข้อมูลข้อเท็จจริงที่จะโต้แย้งความคิด การพูดคุยแบบเจาะรายบุคคลเช่นนี้ บริษัท
  • 22. ห น้า | 19 ที่ปรึกษามักอ้างว่าเป็นขั้นตอนและวิธีการหนึ่งในการศึกษาผลกระทบ และอ้างความชอบธรรม ว่าได้ปฏิบัติตาม เงื่อนไขตามกฎหมาย และอ้างต่อชุมชนได้ว่าได้มีการรับฟังความคิดเห็นแล้ว 5. เนื้อหาในการศึกษาผลกระทบทาไม่ครบถ้วน การศึกษาผลกระทบทุกบริษัทมิได้ทาการประเมินผลกระทบ หรือความเสียหายในเชิงธุรกิจของพื้นที่ ในกรณีที่เกิดน้ามันรั่วไหล แต่กลับพยายามบอกว่า ไม่มีโอกาสจะเกิด การรั่วไหล เนื่องจากสารพัดเหตุผล เช่น มีมาตรฐานการทางานดี มีระบบควบคุมน้ามันรั่วไหลที่ดี ซึ่งไม่ใช่การ ตอบคาถามของสังคม การหลีกเลี่ยงที่จะตอบคาถามก็เนื่องจากว่า หากเกิดเหตุการณ์รั่วไหลที่รุนแรงจริงบริษัท ผู้รับสัมปทานไม่สามารถจะชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ ทั้งความเสียหายต่อธุรกิจด้านท่องเที่ยว และด้าน อื่นๆ ที่มีที่ตั้งอยู่บนเกาะและนอกเกาะ ทั้งนี้เนื่องจากว่าขนาดและจานวนประเภทธุรกิจที่เชื่อมโยงอยู่กับการ ท่องเที่ยวบนเกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่านั้น มีขนาดใหญ่มาก และมีมูลค่ามหาศาลเกินกว่าที่บริษัทจะรับ ชดเชยค่าเสียหายได้ แต่ก็มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการศึกษาว่าหากเกิดกรณีสถานการณ์เลวร้ายขึ้น มี อะไรบ้างที่กระทบ และคิดเป็นมูลค่าเท่าไร การประเมินความเสียหายต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก็เช่นเดียวกับกรณีความเสียหายเชิงธุรกิจ ในกรณีเกิด สถานการณ์เลวร้ายขึ้น ธรรมชาติอะไรบ้างที่ต้องสูญเสียไป หรือต้องฟื้นฟูให้กลับมาเช่นเดิม เช่น คุณภาพน้า ทะเล ปะการัง หญ้าทะเล สัตว์หายาก หาดทราย เป็นต้น และหากประเมินเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์แล้วคิด เป็นมูลค่าเท่าไร สิ่งเหล่านี้บริษัทผู้ศึกษาผลกระทบมิเคยเอ่ยถึง และไม่ต้องการให้ประชาชนได้เรียนรู้ข้อเท็จจริง 6. การสรุปเนื้อหารายงานผลกระทบไม่สอดคล้องความเป็นจริง ในการสรุปเนื้อหาการประชุมรับฟังความ คิดเห็น บริษัทผู้จัดมักสรุปไม่ครบถ้วน ความเห็นที่ขัดแย้งจะไม่ได้รับการบันทึกเสมอ เช่นในรายงานการรับฟัง ความคิดเห็นครั้งที่ 1 ที่เกาะสมุย ของบริษัทซาลามานเดอร์ แปลง G4/50 ก็ไม่มีบันทึกในรายงานว่ามีผู้คัดค้าน จานวนมากจนไม่สามารถเปิดเวทีได้ และเช่นเดียวกับการยื่นหนังสือให้การรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 2 ของ บริษัทซาลามานเดอร์เป็นโมฆะที่สานักงานพลังงานจังหวัดเมื่อวันที่ 3 พ.ค.2556 ก็ไม่มีบันทึกในรายงานการ ประชุม ซึ่งเป็นการบิดเบือนความจริงและไม่ประสงค์จะให้คณะกรรมการ คชก.ทราบ ดังนั้นการสรุปข้อมูล อื่นๆ ที่ดาเนินการโดยบริษัทที่ปรึกษา จึงอนุมานได้ทานองเดียวกันว่า ไม่อาจจะให้ความเชื่อถือไว้วางใจได้ว่า เป็นข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงธรรม ไม่มีความลาเอียงเพื่อให้บริษัทผู้ว่าจ้างได้ประโยชน์ 7. การพิจารณาของคณะกรรมการ คชก. ขาดความโปร่งใส การสรุปความเห็นขั้นคณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) ซึ่งเป็นผู้พิจารณาอนุมัติรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นขั้นตอนที่ประชาชนมีความรู้สึกว่ามีการ
  • 23. ห น้า | 20 ทางานที่ปกปิด ขาดการเปิดเผยข้อมูล และการทางานต่อสาธารณชน เช่น รายชื่อคณะกรรมการที่ได้รับการ แต่งตั้ง มีบุคคลใดบ้าง ผ่านการคัดสรรโดยใคร และวิธีใด มีสัดส่วนของคณะกรรมการเช่นไร และประชาชนมี ส่วนร่วมอย่างไรบ้าง และเพราะเหตุใด เสียงคัดค้านของประชาชนเป็นเวลาถึง 4 ปีเต็ม จึงไม่มีผลต่อการระงับ ยับยั้งการอนุมัติผ่าน EIA ได้เลย จึงสมควรที่จะเปิดเผยและเผยแพร่การทางานของคณะกรรมการชุดนี้ให้ สาธารณะชนได้รับรู้มากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพื่อสร้างความโปร่งใสในการทางาน และไม่ตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลทางการเมืองและผลประโยชน์อย่างที่ประชาชนเข้าใจ 8. การเสนอประโยชน์แอบแฝงให้กับชุมชน ในช่วงปี 2553 เป็นที่ทราบกันดีว่ากระแสการคัดค้านการขุดเจาะ สารวจปิโตรเลียมเกิดขึ้นแทบทุกชุมชนในเกาะทั้งสาม ดังนั้นวิธีการที่บริษัทน้ามันจะได้รับการยอมรับ ก็คือการ เปลี่ยนความคิดของชุมชน ดังนั้นในช่วงปี 2553 เป็นต้นมา เราจึงพบเห็นความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ของบริษัท น้ามันทั้งของต่างชาติและสัญชาติไทย มอบให้กับชุมชน โรงเรียน องค์กร ภาคธุรกิจ กลุ่มอาชีพต่างๆ องค์กร ปกครองท้องถิ่น องค์กรสื่อ รวมทั้งที่อาจแอบแฝงมากับโครงการของภาคราชการที่ยังไม่อาจตรวจสอบยืนยันได้ ความพยายามอย่างต่อเนื่อง โดยมีเงินทุนและบุคลากรสนับสนุนดาเนินการ ได้ทาให้ชุมชนเกิดความคิดที่ สนับสนุนการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมมากขึ้น รวมทั้งเกิดความรู้สึกเคลือบแคลงสงสัยและไม่พอใจ ในตัวบุคคล และกลุ่มที่เคลื่อนไหวคัดค้านการขุดเจาะสารวจ เพราะอาจทาให้ไม่ได้ประโยชน์หรือความ ช่วยเหลือที่คาดหวังว่าจะได้ ตัวอย่างรูปธรรมที่พบเห็นความช่วยเหลือแบบมีประโยชน์แอบแฝง เช่น การทาสี โรงเรียน การมอบเงินสนับสนุนให้องค์กรสื่อในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การจัดกิจกรรมไปศึกษาดูงาน เป็นต้น การ เปลี่ยนความคิดโดยใช้เงินและวัตถุเป็นตัวล่อ เป็นวิธีการที่สร้างความเห็นแก่ตัวและความแตกแยกให้เกิดขึ้นกับ สังคมอย่างเลวร้าย จนอาจกล่าวได้ว่า สังคมมองไม่เห็นคุณธรรม ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและชาติ บ้านเมือง เป็นปฐมบทของการล่มสลายของชุมชน วัฒนธรรมและประเทศชาติในที่สุด ข้อเสนอเพื่อแก้ไขการศึกษาผลกระทบ (EIA) 1.) ภาครัฐต้องทบทวนทาความเข้าใจต่อหลักสิทธิชุมชนและสิทธิมนุษยชน ในสภาพความจริงที่ปรากฏ การกระทาตามนโยบายด้านพลังงานของรัฐที่กาลังสร้างผลกระทบต่อทั้ง สิ่งแวดล้อมและการดารงชีพตามปกติสุขของประชาชนและชุมชนต่างๆ ล้วนไม่สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่ง รัฐตามระบบประชาธิปไตย ที่รัฐต้องคานึงถึงหลักสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญปี 2550 มาตรา 66 และ 67 ที่ กาหนดว่า ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง
  • 24. ห น้า | 21 สมดุลย์และยั่งยืน เช่นเดียวกับหลักสิทธิมนุษยชน กฎหมายภายใต้รัฐธรรมนูญไทย ได้นิยามของสิทธิมนุษยชน ครอบคลุมทั้งสิทธิ, เสรีภาพ ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เป็นสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี พันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตาม การละเลยหรือเพิกเฉยที่จะปฏิบัติตาม หลักสากลที่สาคัญในการบริหาร ประเทศ เท่ากับเป็นการละเมิดต่ออธิปไตยของปวงชน ซึ่งนิยามว่าประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครอง ประเทศ 2.) รัฐต้องเร่งทบทวนการทางานของหน่วยงานที่พิจารณาอนุมัติโครงการให้ใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด นอกจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 67 ได้ให้สิทธิแก่บุคคลที่จะร่วมกับรัฐและชุมชน ในการอนุรักษ์ บารุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม แล้วยังมีกฎหมายอีกหลายฉบับ เช่น พรบ.ป่าไม้ 2484, พรบ.วัตถุ อันตราย 2535, พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 เป็นต้น แต่ปัญหาความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกลับทวีความรุนแรงขึ้น สาเหตุหลักก็คือ การเลือกปฏิบัติ และขาดการ บังคับใช้อย่างจริงจังเกษตรกรและชุมชนท้องถิ่นจานวนมากถูกบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ขณะที่กลุ่มทุน ที่มีทั้งเงินทุนและสายสัมพันธ์กับผู้มีอานาจอิทธิพลต่างๆ กลับทาให้ยาก (รุจิระ บุญนาค) ไม่ต่างกับกรณี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน จากการขุดเจาะปิโตรเลียมประชิดชุมชนบนเกาะและชายฝั่ง อีกทั้งยังตั้งอยู่ บนฐานทรัพยากรทางธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์และหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งวางไข่และเติบโต ของปลาหลากหลายสายพันธุ์หน่วยงานรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุญาตให้มีการขุดเจาะสารวจ และ ผลิตปิโตรเลียม เช่น คณะกรรมการผู้ชานาญการ (คชก.) และสานักงานสิ่งแวดล้อมและแผน (สผ.) กลับเพิกเฉย ที่จะสั่งระงับโครงการ เพื่อให้มีการทบทวนตรวจสอบตามการเรียกร้องเป็นเวลากว่า 4 ปี ของประชาชนในพื้นที่ เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า จึงเป็นการสมควรที่รัฐต้องทบทวนการพิจารณาการปฏิบัติงานของผู้เกี่ยวข้อง กับการอนุมัติการดาเนินตามโครงการขุดเจาะสารวจปิโตรเลียม โดยยึดเอาหลักและเจตนารมณ์ของกฎหมาย สิ่งแวดล้อม มาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชาติ 3.) ต้องแก้ไขระเบียบเงื่อนไขกฎหมาย เพื่อการทา EIA ที่สมบูรณ์ 3.1) รัฐต้องมีการผนวกการขุดเจาะสารวจและผลิตปิโตรเลียมให้อยู่ในประเภทโครงการก่อผลกระทบ “รุนแรง” เพื่อมิให้เป็นช่องทางให้ผู้ก่อผลกระทบใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ต้องศึกษาผลกระทบอย่างรอบด้าน ควรแก้ไขเงื่อนไขทางกฎหมาย ให้ครอบคลุมทุกประเภทโครงการ ไม่ว่าประเภทใด เล็กหรือใหญ่ หากมี หลักฐานหรือข้อมูลชี้ชัดว่าได้สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและวิถีการดารงชีพของชุมชนแล้ว จะต้องมี
  • 25. ห น้า | 22 การศึกษาผลกระทบอย่างละเอียดและรอบด้าน รวมทั้งด้านยุทธเศษสตร์การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจมวลรวมและ ชุมชน, สุขภาพ และความมั่นคงทางสังคม 3.2) บริษัทหรือองค์กร ผู้ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมต้องมีความเป็นกลาง คุณสมบัติของความเป็นกลาง ต้อง ได้มาจากการยอมรับจากหน่วยงานและองค์กรที่มีความเป็นกลางที่ทุกฝ่ายให้การยอมรับ ปัจจุบันบริษัทผู้รับ ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมไม่มีความเป็นกลาง มีสายสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบริษัทผู้รับสัมปทาน ทาให้การศึกษา ผลกระทบ ไม่อาจเชื่อถือได้ในสายตาของประชาชน กระบวนการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากโครงการ ขนาดใหญ่ จาเป็นต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานทางวิชาการที่ไม่ได้อาศัยงบประมาณ หรือ ความช่วยเหลือจากกลุ่มทุนใดๆ รายละเอียดการศึกษาด้าน EIA ขั้นตอนการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 1) ศึกษาองค์ประกอบโครงการ และลักษณะขององค์ประกอบโครงการระบบเครือข่ายน้า แผนดาเนินโครงการ ในระยะต่างๆ แผนการและวิธีการก่อสร้างอย่างละเอียด ตลอดจนความจาเป็นที่ต้องมีโครงการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ จะใช้เป็นพื้นฐานสาคัญในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 2) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) พื้นฐานที่จาเป็นจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการรวบรวมข้อมูล ด้านสาคัญจะจัดทาเป็นระบบฐานข้อมูลเพื่อสามารถนาไปวิเคราะห์ และแสดงผลความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับ สาขาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าอื่นๆ โดยฐานข้อมูลดังกล่าวจะครอบคลุมพื้นที่ศึกษาและพิจารณา การ เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลในอดีตและปัจจุบันตามความจาเป็น ตลอดจนโครงการหรือแผนงานในอนาคต 3) วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้ เพื่อเลือกสรรข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์หรือที่เชื่อถือได้ นามา วิเคราะห์ข้อมูลทางด้านสถิติตามความจาเป็น และหาความสัมพันธ์ของข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) ดาเนินการสารวจภาคสนาม โดยการตรวจสอบ สังเกตการณ์ การสัมภาษณ์ และการเก็บตัวอย่าง เพื่อเก็บ ข้อมูลปฐมภูมิ การเก็บตัวอย่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในด้านที่มีผลกระทบที่มีนัยสาคัญ และการวิเคราะห์ใน ห้องปฏิบัติการ และเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจัดทาเป็นสภาพแวดล้อมในปัจจุบันบริเวณพื้นที่โครงการ ระบบ เครือข่ายน้า
  • 26. ห น้า | 23 5) เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล แสดงสภาพในอดีต ปัจจุบัน และการคาดการณ์หรือพยากรณ์ สภาพหรือ แนวโน้มในอนาคตในสภาวะที่ไม่มีโครงการ (Without Project Conditions) รวมถึงการแสดงความสัมพันธ์ ของ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ 6) วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพยากรสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในอนาคต ในกรณีที่มีโครงการ (With Project Conditions) ระบบเครือข่ายน้าในพื้นที่โครงการที่อาจส่งผลกระทบ ต่อ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันบริเวณโครงการระบบเครือข่ายน้า 7) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่างๆ และ/หรือผลกระทบขององค์ประกอบ ต่างๆ ของโครงการ และของโครงการทั้งหมด (Overall Project) เพื่อทาให้การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้ผลสมบูรณ์และมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น 8) กาหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการระบบ เครือข่ายน้าในพื้นที่โครงการระบบเครือข่ายน้า พร้อมทั้งเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมที่มีความจาเป็น ทั้งในระยะก่อสร้างและดาเนินการโครงการฯ 9) ดาเนินการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการระบบเครือข่ายน้า ตามขอบเขตที่ กาหนดใน TOR และขอบเขตการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่กาหนดโดยสานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)