SlideShare a Scribd company logo
1 of 85
Download to read offline
TREES – NC
                                                  Version 1.0


                   Thai’s Rating of
             Energy and Environmental
      Sustainability for New Construction and Major Renovation

         ก        Fก                                                                       F
                                          ก กF     F                           ก       F
                                                       ก           2553



                                      ก   ก                กก         Fก

                                              F            F               F




     ก                 F                                       F                   ก              F

สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                            หนา 1 / 84
จากสภาวการณปจจุบันที่โลกของเราตองเผชิญกับการเผาผลาญพลังงานอยางสิ้นเปลือง และ
สภาพแวดลอมที่ถูกทํารายมากขึ้น ๆ ในฐานะของนักวิชาชีพ สถาปนิก และวิศวกรที่เกี่ยวของกับการกอสราง
ซึ่งมีการใชทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานจํานวนมาก เรื่องที่เราควรจะริเริ่มดําเนินการเพื่อชวยเหลือโลกคือ
การพัฒนาและสรางแนวคิดเรื่อง “อาคารเขียว” นั่นเอง

            เมื่ อ ตนป 2552 สมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรมราชู ป ถั ม ภ รวมกั บ วิ ศ วกรรมสถานแหง
ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ไดลงนามความรวมมือในการจัดตั้ง                             ขึ้นเพื่อเปน
จุดเริ่มตนของการพัฒนาและดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหแนวคิดเรื่องอาคารเขียวในประเทศไทย เปน
รูปธรรมโดยเร็วที่สุด

             เอกสารนี้เปน หลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว ซึ่ง จัดเตรียมโดย คณะอนุกรรมการจัดทํา
หลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว ที่มีตัวแทนมาจากสองสมาคมฯ ดังกลาวนั้น ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการ
เดินหนาเรื่อง อาคารเขียวในประเทศไทยอยางเต็มรูปแบบเปนครั้งแรกนั่นเอง ซึ่งเกณฑการประเมิน TREES-
NC หรือ เกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย สําหรับการกอสรางและการปรับปรุง
โครงการใหมนี้ เปนจุดเริ่ม ตนที่มุงเนนการประเมินโครงการอาคารสาธารณะที่จ ะสรางขึ้นใหมหรือมีการ
ปรับปรุงครั้งใหญ เชน เปลี่ยนระบบปรับอากาศหรือเปลือกอาคาร เปนตน และในอนาคตอันใกลสถาบัน
อาคารเขียวมุงหวังที่จะออกหลักเกณฑสําหรับบานพักอาศัย การตกแตงภายใน อาคารใชแลว เปนตน เพื่อให
อาคารทุกประเภทมีโอกาสที่จะเปนอาคารเขียว ซึ่งจะมีสวนชวยในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนตอไป

           คูมือฉบับนี้ปรับปรุงตามขอคิดเห็นตางๆจากการประชาพิจารณในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552 จึง
ถือไดวาการแบงสัดสวนคะแนน และความถูกตองตามหลักทฤษฎี ตลอดจนความเปนไปไดในการประยุกตใช
ไดผานการตรวจสอบจากภาควิชาการ วิชาชีพ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของมาแลว และทางคณะทํางานคาด
วาเกณฑฉบับนี้จะสามารถนําไปใชประเมินอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

                                                                        ดวยความปรารถนาดี
                                                                        ก ก            กก         F
                                                                    ก




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                         หนา 2 / 84
ก ก
1. นายประสงค ธาราไชย                  ประธาน
2. นายทวีจิตร จันทรสาขา               รองประธาน
3. นายเกชา ธีระโกเมน                  กรรมการ
4. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน             กรรมการ
5. ดร.ชเล คุณาวงศ                     กรรมการ
6. นายบุญญวัฒน ทิพทัส                 กรรมการ
7. นายวิวัฒน กุลวงศวิทย               กรรมการ
8. ผศ.ดร.อรรจน เศรษฐบุตร              กรรมการ
9. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน             เหรัญญิก
10. นายนินนาท ไชยภิญโญ                เลขาธิการ

     ก      ก                                             ก ก
                                                            กก ก    F
1. นายนินนาท ไชยภิญโญ                  ประธาน     1. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน              ประธาน
2. นายเกชา ธีระโกเมน                   กรรมการ    2. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน              รองประธาน
3. นายกมล ตันพิพัฒน                    กรรมการ    3. นายกมล ตันพิพัฒน                    อนุกรรมการ
4. นายคมกฤช ชูเกียรติมั่น              กรรมการ    4. ดร.จตุวฒน วโรดมพันธ
                                                            ั                            อนุกรรมการ
5. ดร.จญาดา บุณยเกียรติ                กรรมการ    5. นายประพุธ พงษเลาหพันธุ              อนุกรรมการ
6. ดร.จตุวฒน วโรดมพันธ
          ั                            กรรมการ    6. ดร.พร วิรุฬหรักษ                    อนุกรรมการ
7. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน              กรรมการ    7. รองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน    อนุกรรมการ
8. รองศาสตราจารย ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล กรรมการ    8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิชัย กฤชไมตรี อนุกรรมการ
9. ดร.ชานัน ติรณะรัต                   กรรมการ    9. นายรพีรัฐ ธัญวัฒนพรกุล              อนุกรรมการ
10. ดร.ณรงควิทย อารีมตริ               กรรมการ    10. นายวัลลภ เรืองดวยธรรม              อนุกรรมการ
11. นายประพุธ พงษเลาหพันธุ             กรรมการ    11. นางศิรินทร วงษเสาวศุภ              อนุกรรมการ
12. ดร.พร วิรุฬหรักษ                   กรรมการ    12. นายสมจินต ดิสวัสดิ์                อนุกรรมการ
13. รองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน กรรมการ      13. นายอภิชย กําแพงเศรษฐ
                                                               ั                         อนุกรรมการ
14. ดร.ภัทรนันท ทักขนนท                กรรมการ    14. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร อนุกรรมการ
15. นายรพีรัฐ ธัญวัฒนพรกุล             กรรมการ    15. นายอนวัช พงศสุวรรณ                 เลขานุการ
16. ดร.วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์            กรรมการ    16. นางสาวสุพรรณีย ทองจูด              เลขานุการ
17. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน             กรรมการ
18. นางศิรินทร วงษเสาวศุภ              กรรมการ
19. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร กรรมการ
20. อาจารย เอกวัฒน โอภาสพงษกร          กรรมการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                        หนา 3 / 84
F                                                                                      F
                                                                                                     (            )
            ก       F ก                                                                        8
BM                    1ก                      ก               (Building Management)            9 3 (1)
 BM P1 การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว                                                     10     บังคับ
  BM 1 การประชาสัมพันธสูสังคม                                                                 11           1
  BM 2 คูมือและการฝกอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาอาคาร                                     12           1
  BM 3 การติดตามประเมินผลขณะออกแบบ กอสรางและเมืออาคารแลวเสร็จ
                                                  ่                                           13           1
SL                      2                                F (Site and Landscape)               14 16 (2)
  SL P1     การหลีกเลี่ยงที่ตงที่ไมเหมาะกับการสรางอาคาร
                             ั้                                                               15         บังคับ
  SL P2     การลดผลกระทบตอพื้นที่ที่มีความสมบูรณทางธรรมชาติ                                   16         บังคับ
  SL 1      การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่พฒนาแลว
                                             ั                                                17            1
  SL 2      การลดการใชรถยนตสวนตัว                                                             18            4
  SL 3      การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยงยืน
                                          ั่                                                  19            3
     SL 3.1 มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ                                         1
     SL 3.2 มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น)                                1
     SL 3.3 ใชพืชพรรณพื้นถิ่นที่เหมาะสม                                                                               1
   SL 4 การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม                                                            22           4
   SL 5 การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ                                    23           4
     SL 5.1 มีการจัดสวนบนหลังคาหรือสวนแนวตัง
                                           ้                                                                           2
     SL 5.2 มีพื้นที่ดาดแข็งที่รับรังสีตรงจากดวงอาทิตย ไมเกินรอยละ 50 ของพื้นที่โครงการ                               1
     SL 5.3 มีตนไมยืนตนทางทิศใต ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ที่บังแดดไดอยางมีประสิทธิภาพและไม                           1
            กอใหเกิดความเสียหายกับตัวอาคาร
WC                      3ก                        (Water Conservation)                        26 6
  WC 1 การประหยัดน้าและการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ
                   ํ                                                                          27           6
     WC 1.1 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 15 หรือใชโถสุขภัณฑประหยัดน้ํา                                                       2
     WC 1.2 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 25 หรือใชกอกน้ําในหองน้ําชนิดประหยัดน้ํา                                            2
     WC 1.3 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 35 หรือการบริหารจัดการน้ําและการใชน้ําฝน                                            2

EA                      4                            ก      (Energy and Atmosphere)           30 20 (2)
  EA P1 การประกันคุณภาพอาคาร                                                                  31         บังคับ
            มีแผนการตรวจสอบและปรับแตงระบบโดยบุคคลทีสาม
                                                   ่


สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                       หนา 4 / 84
F                                                                                                    F
                                                                                                                    (            )
  EA P2 ประสิทธิภาพการใชพลังงานขั้นต่า
                                     ํ                                                                      33          บังคับ
             ได 4 คะแนนในขอ EA 1
     EA 1 ประสิทธิภาพการใชพลังงาน                                                                           34           16
     EA 2 การใชพลังงานทดแทน                                                                                 36           2
             ผลิตพลังงานทดแทน ใหไดไมนอยกวา รอยละ0.5-1.5 ของปริมาณคาใชจายพลังงานในอาคาร
     EA 3 การตรวจสอบและพิสูจนผลเพื่อยืนยันการประหยัดพลังงาน                                                 37            1
             มีแผนการตรวจสอบและพิสูจนผลตามขอกําหนด IPMVP
     EA 4 สารทําความเย็นในระบบปรับอากาศทีไมทําลายชั้นบรรยากาศ
                                         ่                                                                  38            1
             ไมใชสาร CFC และ HCFC-22
MR                    5               ก                ก กF         F                                       39 13
             (Materials and Resources)
  MR 1 การใชอาคารเดิม                                                                                       40            2
             เก็บรักษาพื้นหรือหลังคาของอาคารเดิมไวรอยละ 50-75 ของพื้นที่ผิว
  MR 2 การบริหารจัดการขยะจากการกอสราง                                                                       41            2
             นําขยะไปใชหรือรีไซเคิล 50-75% ของปริมาตรหรือน้ําหนัก
  MR 3 การเลือกใชวัสดุใชแลว                                                                                 42            2
             นําวัสดุกอสรางกลับมาใชใหมเปนมูลคารอยละ 5-10
  MR 4 การเลือกใชวัสดุรไซเคิล
                       ี                                                                                    43            2
             ใชวัสดุรีไซเคิลเปนมูลคารอยละ 10-20
  MR 5 การใชวัสดุพื้นถิ่นหรือในประเทศ                                                                       44            2
             การใชวัสดุที่ ขุด ผลิต ประกอบ หรือวัสดุพื้นถิ่นหรือในประเทศไมนอยกวารอยละ 10-20 ของมูลคาวัสดุ
             กอสรางทั้งหมด
  MR 6 วัสดุที่ผลิตหรือมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ํา                                                            45            3
     MR 6.1 ใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตามฉลากเขียวและฉลากคารบอนของไทยไมนอยกวารอยละ 10-20                                           2
            ของมูลคาวัสดุกอสรางทั้งหมด
     MR 6.2 ใชวัสดุที่มีการเผยแพรขอมูลความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไมนอยกวารอยละ 30 ของมูลคาวัสดุกอสราง                                    1
            ทั้งหมด
IE                   6                                      F                                               47 17 (2)
             (Indoor Environmental Quality)
  IE P1 ปริมาณการระบายอากาศภายในอาคาร                                                                       48          บังคับ
             อัตราการระบายอากาศผานเกณฑตามมาตรฐาน
  IE P2 ความสองสวางภายในอาคาร                                                                               49          บังคับ
             ความสองสวางขันต่ําผานเกณฑตามมาตรฐาน
                          ้
     IE 1    การลดผลกระทบมลภาวะ                                                                             50            5
       IE 1.1 ชองนําอากาศเขาไมอยูตําแหนงที่มีความรอนหรือมลพิษ                                                                        1


สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                                      หนา 5 / 84
F                                                                                                F
                                                                                                             (            )
     IE 1.2 ความดันเปนลบ (Negative pressure) สําหรับหองพิมพงาน ถายเอกสาร เก็บสารเคมี และเก็บสารทํา                            1
            ความสะอาด
     IE 1.3 ควบคุมแหลงมลพิษจากภายนอกเขาสูภายในอาคาร                                                                           1
     IE 1.4 พื้นที่สูบบุหรี่หางจากประตูหนาตางหรือชองนําอากาศเขาไมนอยกวา 10 เมตร                                               1
     IE 1.5 ประสิทธิภาพการกรองอากาศผานเกณฑตามมาตรฐาน                                                                          1

   IE 2     การเลือกใชวัสดุทไมกอมลพิษ
                            ี่                                                                         55          4
     IE 2.1 การใชวัสดุประสาน วัสดุยาแนว และรองพื้น ที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร                                                  1
     IE 2.2 การใชสี และวัสดุเคลือบผิว ที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร                                                               1
     IE 2.3 การใชพรมที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร                                                                                 1
     IE 2.4 การใชผลิตภัณฑทีประกอบขึ้นจากไมที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร
                           ่                                                                                                  1
   IE 3     การควบคุมแสงสวางภายในอาคาร                                                                 60          1
            แยกวงจรแสงประดิษฐทุก 250 ตารางเมตรหรือตามความตองการ
   IE 4     การใชแสงธรรมชาติภายในอาคาร                                                                 61          4
            ออกแบบใหหองที่มีการใชงานประจําไดรับแสงธรรมชาติอยางพอเพียง
   IE 5     สภาวะนาสบาย                                                                                62          3
            อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในสวนที่มีการปรับอากาศเหมาะสมตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและ
            ระบายอากาศ
EP                  7ก        ก ก                        F          F                                  63 5 (2)
            (Environmental Protection)
  EP P1 การลดมลพิษจากการกอสราง                                                                         64        บังคับ
            มีแผนและดําเนินการปองกันมลพิษและสิ่งรบกวนจากการกอสราง
  EP P2 การบริหารจัดการขยะ                                                                             65        บังคับ
            การเตรียมพื้นที่แยกขยะ
   EP 1 ใชสารเคมีที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยในระบบดับเพลิง                                             66          1
            ไมใชสารฮาลอน (Halon) หรือ ซีเอฟซี (CFC) หรือ เอสซีเอฟซี (HCFC) ในระบบดับเพลิง
   EP 2 ตําแหนงเครื่องระบายความรอน                                                                     67          1
            การวางตําแหนงเครื่องระบายความรอนหางจากที่ดินขางเคียง
   EP 3 การใชกระจกภายนอกอาคาร                                                                          68          1
            กระจกมีคาสะทอนแสงไมเกินรอยละ 15
   EP 4 การควบคุมโรคที่เกียวของกับอาคาร
                          ่                                                                            69          1
            ปฏิบัติตามประกาศกรมอนามัยเรื่องขอปฏิบัติการควบคุมเชื้อลีจิโอเนลลา (Legionella) ในหอระบาย
            ความรอนของอาคารในประเทศไทย
   EP 5 ติดตังมาตรวัดไฟฟาที่ใชกับระบบบําบัดน้ําเสีย
             ้                                                                                         70          1



สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                               หนา 6 / 84
F                                                           F
                                                                          (        )
GI                      8            ก   (Green Innovation)        71 5
GI 1-5       มีเทคนิควิธีทไมระบุไวในแบบประเมิน
                          ี่                                       71         5
                                 F                                  72
                        ก                                           76
                        กก                                          77
                                                              รวมคะแนน 85 (9)




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                           หนา 7 / 84
การผานการประเมิน

         ในการผานเกณฑการประเมิน TREES-NC Version 1 นี้ ผูเขารวมประเมินตองสงเอกสารที่เกียวของในแตละหัวขอ
                                                                                        ่
คะแนนเพื่อยืนยันวาไดมีการดําเนินกิจกรรมในการทําคะแนนในหัวขอตางๆจริง (เอกสารที่ตองนําสงตลอดจนชวงเวลาในการ
สงจะถูกระบุไวในเอกสารการประเมินฉบับเต็ม) ทางสถาบันฯจะมีการตรวจสอบในรูปแบบตางๆ เพื่อยืนยันวากิจกรรมตางๆ
เปนไปตามที่ผูเขารวมประเมินไดกลาวอาง ซึ่งหากทางสถาบันพบวามีการ บิดเบือน ปลอม หรือ สรางหลักฐานเท็จ ทาง
สถาบันขอสงวนสิทธิ์ในการยกเลิกการรับรองและถอดถอนรางวัลที่ไดมอบใหจากเจาของโครงการ ซึ่งในการประเมินนั้น ทาง
สถาบันอาคารเขียวจะทําหนาที่ประเมินหลักฐานตางๆ ตลอดจนวิธีการดําเนินการ วามีความถูกตองและสอดคลองตอ
วัตถุประสงคของหัวขอคะแนนตางๆ และสมควรไดรับการรับรองคะแนนหรือไม

          การรับรองอาคารทีเ่ ขารวมประเมินนั้นจะแบงรางวัลเปน 4 ระดับ ตามคะแนนที่ไดดังนี้

                               PLATINUM                       61      คะแนน ขึ้นไป
                               GOLD                           46-60   คะแนน
                               SILVER                         38-45   คะแนน
                               CERTIFIED                      30-37   คะแนน

      ซึ่งในการผานการประเมินทุกระดับนั้นผูเขารวมประเมินตองผานการทําคะแนนขอบังคับ 9 ขอ หากไมสามารถทํา
คะแนนขอบังคับขอใดขอหนึ่ง ทางสถาบันฯจะถือวาไมสามารถเขารวมการประเมินได




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                             หนา 8 / 84
BM                1        ก          ก   (Building Management)




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                               หนา 9 / 84
BM P1 การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว                                                                             (บังคับ)
                   F
               เพื่อใหกระบวนการออกแบบกอสรางอาคารเขียวมีความเปนระบบและราบรื่น ชวยใหคณะทํางานและผูรับผิดชอบ
               โครงการสามารถควบคุมการทํางานของโครงการใหเปนไปตามหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียวไดอยางมี
               ประสิทธิภาพ
       F              ก
               มีแผนการดําเนินงานและติดตามประเมินผลเพื่อใหการออกแบบกอสราง วางแผน และบริหารจัดการเปนไปตาม
               หลั ก เกณฑการประเมิ น อาคารเขี ย ว สิ่ ง ที่ ต องดํ า เนิ น การเปนเพี ย งแผนไมใชผลการดํ า เนิ น งาน ซึ่ ง แผนการ
               ดําเนินงานจะตองประกอบดวย 1) รายชื่อคณะทํางานและหัวหนาโครงการ (เชน สถาปนิก วิศวกร เจาของอาคาร
               ผูตรวจสภาพอาคาร ผูบริหารอาคาร และ/หรือที่ปรึกษา เปนตน) 2) กิจกรรมตางๆโดยระบุผูรับผิดชอบในแตละ
               กิจกรรมที่ตรงกับหัวขอคะแนนตางๆ 3) รายละเอียดของกิจกรรมตางๆ รวมถึงเทคนิคและวิธีการที่จะนํามาใชโดย
               ยอ 4) ตารางเวลาของแตละกิจกรรมวาจะดําเนินการในชวงใดและนานเทาไร
           ก            ก
               จัดตั้งคณะทํางานและจัดทําแผนการดําเนินงานที่สอดคลองกับหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียวสําหรับการ
               กอสรางและปรับปรุงโครงการใหม โดยตองดําเนินการตั้งแตชวงตนของการกําหนดแนวคิดของโครงการ และมี
               ผูบริหารสูงสุดหรือตัวแทนที่ไดรับมอบหมายเปนหัวหนาโครงการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                                  หนา 10 / 84
BM 1          การประชาสัมพันธสูสังคม                                                                 (1 คะแนน)
                 F
              มีการกําหนดใหอาคารที่จะกอสรางเปนอาคารเขียวทําการประชาสัมพันธสูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ
      F            ก
     1.       ติดปายประชาสัมพันธหนาพื้นที่กอสราง โดยระบุถึงเจตนารมณในการเขารวมการประเมินความยั่งยืนทางพลังงาน
              และสิ่งแวดลอมอยางเปนทางการ ซึ่งตองแสดงสัญลักษณและชื่อของสถาบันอยางชัดเจน พรอมทั้งระบุประเภท
              ของเกณฑที่ใช (ในกรณีนี้คือ การกอสรางและปรับปรุงอาคารใหม หรือ TREES-NC) และตองทําปาย 2 ภาษา ทั้ง
              ไทยและอังกฤษ
     2.       จัดทําขอมูลนําเสนอเกี่ยวกับอาคาร (ชวงออกแบบหรือเมื่ออาคารแลวเสร็จ) ในหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวของกับ
              การพัฒนาเปนอาคารเขียว เพื่อเผยแพรเปนวิทยาทานใหกับบุคคลทั่วไปและผูสนใจ รูปแบบของขอมูลอาคารที่
              จัดทําเพื่อการประชาสัมพันธตองประกอบดวยการดําเนินการดังตอไปนี้ อยางนอย 2 ประเภท
              • การพิมพแจกจายแผนพับ (ในกรณีมีการพิมพแจกจาย ตองใชกระดาษ รีไซเคิล หรือ วัสดุยั่งยืนอืนๆ) อยางนอย
                                                                                                   ่
                 500 แผน และตองมีการแจกจายในงานสัมมนาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ กอสรางอาคาร หรือใชงาน
                 อาคาร
              • การนําเสนอขอมูลในรูปแบบของเว็บไซตที่แสดงแนวคิดและรายละเอียดที่ครอบคลุมการออกแบบและกอสราง
                 อาคารเขียว
              • การจัดโครงการประชาสัมพันธสัญจร นอกสถานที่อยางนอย 3 แหง

              • การจัดพื้นที่แสดงนิทรรศการถาวรในอาคาร

              • การติด ปายประชาสัม พันธตามจุ ดตางๆ ภายในอาคารอยางครอบคลุ ม เพื่ อใหความรูกับผูใชหรือเยี่ย มชม
                 อาคาร
              • การจัดเยี่ยมชมอาคารโดยเชิญองคกรภาครัฐหรือเอกชนอยางนอย 3 แหง (แหงละไมต่ํากวา 50 คน)

              • การเผยแพรความรูเชิงวิชาการในรูปแบบการตีพิมพในวารสารวิชาการหรือการประชุมวิชาการระดับชาติหรือ
                นานาชาติอยางนอย 1 บทความ
              • วิธีการอื่นๆ ที่เปนรูปธรรม สามารถพิ สูจนและแสดงผลเชิง ปริม าณได โดยเสนอใหสถาบันอาคารเขีย วไทย
                 พิจารณา
          ก           ก
              วางแผนประชาสัมพันธใหสังคมรับทราบ ผานสื่อตางๆ ซึ่งเปนที่ยอมรับ รวมทั้งจัดใหมีปายประชาสัมพันธหนา
              โครงการขณะกําลังกอสราง




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                      หนา 11 / 84
BM 2           คูมือและการฝกอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาอาคาร                                    (1 คะแนน)
                   F
               เพื่อใหมีเอกสารคูมือการใชงานและบํารุงรักษาอาคารที่เปนลายลักษณอักษรและงายตอการบริหารจัดการอาคาร
               เขียวใหมีความถูกตองและเหมาะสม

       F             ก
               มีคูมือและใหการอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาระบบตางๆ ที่เหมาะสมกับการเปนอาคารที่ขอรับรอง
               มาตรฐานอาคารเขียวสําหรับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของของอาคาร โดยคูมือดังกลาวจะตองครอบคลุมระบบตางๆ ที่มีใช
               งานภายในอาคาร อยางนอยดังนี้ (1) ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ (2) ระบบไฟฟาแสงสวาง (3) ระบบ
               สุขาภิบาล (4) ระบบทําน้ํารอนภายในอาคาร (สําหรับอาคารประเภทโรงแรมและโรงพยาบาล) (5) ระบบอํานวย
               ความสะดวก (6) ระบบพลังงานหมุนเวียน (ถามี) แตสามารถเพิมเติมตามความเหมาะสมของแตละโครงการ
                                                                       ่
           ก             ก
               จัดทําคูมือการใชงานและดําเนินการจัดฝกอบรมสําหรับระบบที่มีความสําคัญตางๆ ดังที่ไดกลาวมาแลว ใหกับ
               เจาหนาที่ที่เกี่ยวของของอาคาร ควรพิจารณาหมวดคะแนนขอนี้ในการดําเนินการรวมกับ หัวขอ EA P1: การ
               ประกันคุณภาพอาคาร โดยอาจนําเนื้อหาบางสวนไปใชในขอ BM 1: การประชาสัมพันธสูสังคม




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                     หนา 12 / 84
BM 3 การติดตามประเมินผลขณะออกแบบ กอสรางและเมื่ออาคารแลวเสร็จ                                               (1 คะแนน)
                   F
               เพื่อเสริมความแข็งแกรงและเปนระบบของการออกแบบและกอสรางอาคารเขียวเพิ่มเติมจากขอ BM P1 และสราง
               องคความรูในการออกแบบกอสรางอาคารเขียวในอนาคต ตลอดจนพัฒนาเกณฑการประเมินใหดีและใชงานได
               อยางเหมาะสมตอไปในอนาคต
       F             ก
               มีการขยายผลตอจากขอ BM P1: การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว โดยใหคณะทํางานอาคารเขียว นํา
               แผนงานที่จัดทําไวใน BM P1 มาขยายผล โดยกําหนดใหมีขอ 5) การประเมินกิจกรรมตางๆ ถึงความสําเร็จและ
               ขอจํ า กั ด ที่ พ บในชวงออกแบบ กอสราง และเมื่ อ อาคารแลวเสร็ จ โดยระบุ ถึ ง สาเหตุ แ ละขอแนะนํ า เพื่ อ ให
               คณะทํางานอาคารเขียวสามารถติดตามการทํางานอยางมีประสิทธิภาพและเกิดการเรียนรูเกณฑการประเมิน
               อาคารเขียวอยางเปนระบบ
           ก             ก
               ขยายขอบเขตการทํางานของคณะทํางานอาคารเขียวในการติดตามผลและประเมินผลกิจกรรมตางๆ ตามหัวขอ
               กิจกรรมอยางเปนระบบ โดยมีการสรุปถึงความคืบหนาในหัวขอตาง ๆ เปนระยะ ๆ และมีการรวบรวมเอกสารจาก
               การประชุมความคืบหนาแตละครั้งของคณะทํางานอาคารเขียวในหัวขอคะแนนที่ประสบความสําเร็จและลมเหลว
               ทั้งนี้คณะทํางานควรสรุป ถึงแนวทางที่ป ระสบความสําเร็จและลมเหลว เพื่อการเรีย นรูดวยตนเองและจัดทํ า
               ฐานขอมูลความรูโดยสถาบันอาคารเขียวไทย ตอไปในอนาคต




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                            หนา 13 / 84
SL                2                   F (Site and Landscape)




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                            หนา 14 / 84
SL P1 การหลีกเลี่ยงที่ตั้งที่ไมเหมาะกับการสรางอาคาร                                                                   (บังคับ)
                    F
                เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการกอสรางโครงการบนที่ ดิ น ที่ ไ มสมควรที่ จ ะมี ก ารพั ฒ นา และลดผลกระทบสิ่ ง แวดลอมอั น
                เนื่องมาจากตําแหนงของอาคารบนที่ดิน จึงควรสรางอาคารหรือพัฒนาที่ดินบนพื้นที่ที่มีคุณคาทางระบบนิเวศต่ํา
                หรือตามที่กําหนดไวในกฎหมายผังเมือง
       F             ก
              ไมกอสราง อาคาร พื้นที่ดาดแข็งในงานภูมิทัศน ถนน หรือที่จอดรถบนที่ดิน ที่มีลักษณะตามนี้
           1. พื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยของสัตวสงวน หรือสัตวที่ใกลสูญพันธุหรือเขตปาสงวนหรือเขตอนุรักษ หรือเขตอนุรักษพันธุ
              สัตวปา ตามกฎหมายไทย
           2. พื้นที่ที่ยังไมไดรับการพัฒนาที่อยูภายในระยะ 15 เมตรจากแหลงน้ําธรรมชาติ โดยพื้นที่ดังกลาวเปนแหลงที่อยู
              อาศัยของสัตวน้ําที่มีการขยายพันธุ ตามที่ระบุไวในเขตอนุรักษพันธุสัตวน้ํา
           3. พื้นที่ที่เคยเปนสวนสาธารณะกอนจะนํามาทําโครงการ ยกเวนวาจะไดนําพื้นที่ขนาดเทาเดิมหรือมากกวาเดิมมา
              แลกเปลี่ยนเพื่อทําสวนสาธารณะใหมทดแทน
           4. หลีกเลี่ยงการเลือกที่ตั้งโครงการในพื้นที่ที่มีคุณคาทางระบบนิเวศสูง หรือขัดแยงกับผังเมือง เชน พื้นที่ลุมต่ําน้ํา
              ทวมถึง พื้นที่ที่เปนทางไหลผานของน้ําธรรมชาติ พื้นที่รับน้ําจากบริเวณรอบๆ (พื้นที่แกมลิง) พื้นที่ชุมน้ํา (Wetland)
              พื้นที่ที่มีความลาดชันเกินรอยละ 30 เปนตน
            ก            ก
                ระหวางการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ พยายามเลือกที่ดินที่ไมมีองคประกอบที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือเปน
                ที่ดินควบคุมโดยการตรวจสอบ กฎหมาย และขอกําหนดผังเมือง กอนที่จะตัดสินใจทําโครงการ อีกทั้งพยายาม
                ออกแบบอาคารใหมีพื้นที่พัฒนาที่คลุมดิน (อาคาร พื้นที่ดาดแข็งในงานภูมิทัศน ถนน หรือที่จอดรถบนที่ดิน) ให
                นอยที่สุดในบริเวณที่มีลักษณะตามที่กําหนดไว เพื่อลดผลกระทบจากการทําลายระบบนิเวศดั้งเดิม หรือทําลาย
                แหลงอาศัยของสัตว ควรพิจารณาตําแหนงที่ตั้งอาคารและพื้นที่พัฒนาที่เหมาะสมโดยควรพิจารณาถึงความ
                เปนไปไดในการทําคะแนนในขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน และ SL 4: การซึมน้ําและลดปญหาน้ํา
                ทวม




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                                  หนา 15 / 84
SL P2 การลดผลกระทบตอพื้นที่ที่มีความสมบูรณทางธรรมชาติ                                                             (บังคับ)
                 F
               ลดผลกระทบจากการพัฒนาในพื้นที่สีเขียวหรือพื้นที่ที่มีความสมบูรณตอระบบนิเวศ และพลิกฟนพื้นที่สีเขียวใน
               โครงการที่มีการพัฒนาไปแลวใหมีคุณคาทางระบบนิเวศตลอดจนเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูใชอาคารใหดียิ่งขึ้น
       F            ก
                         ก 1
               ในกรณีที่เปนพื้นที่ที่เคยพัฒนามาแลวหรือพื้นที่ที่คุณคาทางระบบนิเวศต่ํา ตองออกแบบใหมีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ
               (Ecological Open Space) ใหมีขนาดอยางนอย 10% ของพื้นที่ฐานอาคาร (Development Footprint) โดยพื้นที่วาเชิง
               นิเวศตองมีพื้นที่สีเขียวอยางนอยรอยละ 25 ของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ (นับรวมพื้นที่บอน้ําลักษณะธรรมชาติที่มีการ
               จัดพื้นที่พักผอนหยอนใจโดยรอบ) และจะตองไมใชพื้นที่สําหรับรถยนตหรือที่จอดรถยนต พื้นที่ดาดแข็งสามารถ
               นับเปนสวนหนึ่งของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศได หากกิจกรรมบนพื้นที่ดาดแข็งเปนไปเพื่อการสงเสริมคุณภาพชีวิตของ
               ผูใชงาน อาทิเชน ทางเดินเทา ลานกิจกรรม เปนตน ในการทําคะแนนขอนี้พื้นที่หลังคาไมสามารถนับรวมเปนพื้นที่
               ในการทําคะแนน

                      ก 2
               ในกรณีที่เปนพื้นที่ที่ยังไมเคยพัฒนามากอน ควรสํารวจพื้นที่และบันทึกองคประกอบสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทาง
               ระบบนิเวศและหลีกเลี่ยงการกอสรางในบริเวณนี้ และตองจํากัดขอบเขตของการพัฒนาไมใหเกิน 15 เมตรจาก
               ขอบอาคาร (เพื่อไมใหมีการพัฒนาที่ลุกล้ําเขาไปยังพื้นที่ที่ยังมีความสมบูรณเกินแนวเขตเสนรอบรูปของอาคาร
               มากเกินไป) สําหรับพื้นที่ซึมน้ําได ขอบทางเดิน ถนน และที่จอดรถ ตองจํากัดขอบเขตการพัฒนาไมใหเกิน 5 เมตร
               โดยหามรบกวนพื้นที่นอกเหนือจากขอบเขตการพัฒนา

               พื้นที่สีเขียว หมายถึงพื้นที่ที่มีคุณลักษณะธรรมชาติและมีคุณคาตอระบบนิเวศ เชน มีการใชพืชพรรณพื้นถิ่น และ
               สงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีเชนสามารถใชเปนที่พักผอนหยอนใจของผูใชอาคารหรือบุคคลทั่วไป ทั้งนี้กรณีพื้นที่ดาด
               แข็งที่มนุษยสรางขึ้นจะไมนับเปนพื้นที่สีเขียว เชน บล็อกหญา เปนตน
           ก                  ก
               สําหรับโครงการที่กอสรางบนพื้นที่ ที่ผานการพัฒนามาแลวหรือพื้นที่ที่คุณคาทางระบบนิเวศต่ํา ควรมีการกําหนด
               พื้น ที่สี เขี ย วในตํ า แหนงที่ เหมาะสม โดยศึ กษาและเลือ กชนิ ดของพื ชพรรณที่เ หมาะสมในพื้ น ที่ดั งกลาว ควร
               พิจารณาถึงโอกาสในการทําคะแนนในหัวขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน ดวย

               สําหรับโครงการที่สรางบนพื้นที่สีเขียวเดิม ควรจํากัดขอบเขตของการกอสรางอาคารและพื้นที่พัฒนาตางๆ ทําการ
               สํารวจที่ดินเพื่อบงชี้องคประกอบทางสภาพแวดลอมตางๆ ที่จําเปน เพื่อนํามาซึ่งการวางแผนการใชที่ดินอยาง
               เหมาะสม ควรออกแบบอาคารใหสงผลกระทบตอระบบนิเวศเดิมใหนอยที่สุด หรือออกแบบอาคารใหมีพื้นที่คลุม
               ดินนอยที่สุด และ/หรือใหมีจํานวนชั้นมากขึ้น หลีกเลี่ยงการกอสรางลานจอดรถ ควรพิจารณาถึงโอกาสในการทํา
               คะแนนในหัวขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืนดวย



สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                               หนา 16 / 84
SL 1           การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่มีการพัฒนาแลว                                               (1 คะแนน)
                   F
               เลือกสถานที่กอสรางโครงการที่พัฒนาแลว และอยูในเขตเมืองที่มีการพัฒนาแลว พรอมดวยระบบสาธารณูปโภค
               เพื่อปองกันการรุกล้ําเขตปาไม รวมทั้งแหลงที่อยูอาศัยของสัตวและทรัพยากรธรรมชาติ
       F            ก
               เลือกที่ตั้งโครงการที่มีสาธารณูปโภคดังตอไปนี้ ใหอยูภายในรัศมี 500 เมตร วัดจากทางเขาหลักของโครงการให
               ครบ 10 ประเภท และสาธารณูปโภคเหลานี้ตองสามารถเขาถึงไดภายในรัศมีที่กําหนด (ไมถูกกันดวยคลองหรือรั้ว
                                                                                                    ้
               เปนตน)
               1. วัดหรือสถานที่ทางศาสนา                                     10. พิพิธภัณฑ
               2. รานคาประเภทตางๆ                                             11. โรงพยาบาลและสถานีอนามัย
               3. ไปรษณีย                                                    12. ซุปเปอรมารเกต
               4. สถานีตํารวจ                                                13. ตลาด
               5. สถานีดับเพลิง                                              14. รานเสริมสวย
               6. รานเสริมสวยและนวดแผนโบราณ                                  15. รานกาแฟและ/หรือรานขนม
               7. รานอาหาร                                                   16. สํานักงาน
               8. สวนสาธารณะ                                                 17. สถานที่ราชการตางๆ
               9. สถานศึกษา                                                  18. อื่น ๆ

               รานอาหารและรานคาใหนับซ้าไดอยางละ 2 ราน (ถือเปน 2 ประเภท) เชน หากมี รานอาหาร 2 ราน และ รานคา 2
                                        ํ
               ราน จะนับเปน 4 ประเภท ในกรณีศูนยการคา ตองแสดงรายการสาธารณูปโภคที่ผานจํานวนประเภทที่กําหนดและ
               อาคารศูนยการคาตองอยูภายในรัศมี 500 เมตร สําหรับสาธารณูปโภคนอกเหนือจากที่กาหนดไวขางตนสามารถ
                                                                                        ํ
               เสนอใหสถาบันอาคารเขียวไทยพิจารณาเปนกรณีๆไป สถานทีที่ไมสงเสริมตอจริยธรรมและสุขภาพอนามัยทีดีของ
                                                                  ่                                     ่
               ผูใชอาคารไมสามารถนํามานับประเภทเพื่อทําคะแนนได รานคาแผงลอยใหพิจารณาเปนกลุมและถือเปนกลุมของ
               ตลาด (นับเพียง 1 ประเภท)

           ก              ก
               ที่ตั้งอาคารควรมีประเภทของสาธารณูปโภคที่หลากหลายเพียงพอและสามารถเขาถึงไดสะดวก ควรพิจารณาที่ตั้ง
               โครงการรวมกับระบบขนสงมวลชนที่เกี่ยวของ เพื่อทําคะแนนในหัวขอ SL2: การลดการใชรถยนตสวนตัว




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                      หนา 17 / 84
SL 2            การลดการใชรถยนตสวนตัว                                                                   (4 คะแนน)
                    F
                เพื่อลดมลภาวะและผลกระทบจากการพัฒนาที่ดิน อันเนื่องมาจากการใชรถยนตและจักรยานยนตสวนตัว
       F               ก
                เลือกที่ตั้งโครงการและ/หรือ จัดที่จอดรถภายในโครงการที่มีลักษณะดังตอไปนี้ (ขอละ 1 คะแนน)
       1.       เลือกที่ตั้งอาคารภายในระยะ 500 เมตร (วัดจากประตูทางเขาอาคารหลัก) จากสถานีรถไฟ หรือรถไฟฟา อยางนอย
                1 สถานี หรือ มีระบบรถรับสงไปยังสถานีโดยตองมีบริการรับสงไดรอยละ 5 ของผูใชอาคารตอวัน โดยรถรับสงตอง
                เปนรถประเภท eco car CNG Hybrid E20+ ไฟฟา หรือรถประเภทอื่นๆที่ลดการใชน้ํามันและกาซธรรมชาติอยางมี
                นัยสําคัญ
       2.       เลือกที่ตั้งอาคารภายในระยะ 500 เมตร จากปายรถประจําทางหรือสถานีบริการรถโดยสารขนาดเล็ก (รถตู) ที่มี
                อยางนอย 2 สายบริการ ที่ผูใชอาคารสามารถเขาถึงได
       3.       จัดที่จอดรถจักรยานเปนจํานวนไมนอยกวารอยละ 5 ของผูใชอาคารประจําและผูใชอาคารชั่วคราว (เชน แขก หรือ
                ลูกคา เปนตน) และจัดใหมีหองอาบน้ําไมนอยกวารอยละ 0.5 ของจํานวนพนักงานประจําไมเกินกวา 80 เมตร จาก
                บริเวณทางเขาอาคาร กรณีอาคารพักอาศัย ไมตองมีหองอาบน้ําแตใหเพิ่มพื้นที่จอดรถจักรยานเปนไมนอยกวารอย
                ละ 15 ของผูพักอาศัย
       4.       กําหนดที่จอดรถของอาคารใหเปนที่จอดรถ eco car CNG Hybrid E20+ ไฟฟา หรือรถประเภทอื่นๆที่ลดการใช
                น้ํามันและกาซธรรมชาติอยางมีนัยสําคัญ หรือที่จอดรถสวนบุคคลที่ใชรวมกัน (carpool) ในพื้นที่ที่ใกลทางเขา
                อาคารที่สุด อยางนอยรอยละ 5 ของจํานวนที่จอดรถทั้งหมดของอาคาร
            ก               ก
                เลือกที่ตั้งโครงการที่อยูใกลกับระบบขนสงมวลชน สํารวจเสนทางการเดินเทาจากประตูทางเขาโครงการไปยังสถานี
                หรือปายรถประจําทาง พิจารณาการวางตําแหนงอาคารและทางเขาอาคารที่เหมาะสมใกลกับระบบขนสงมวลชน
                รวมถึงออกแบบที่จอดรถใหมีพื้นที่เพียงพอสําหรับรถ eco car CNG Hybrid E20+ไฟฟา หรือรถสวนบุคคลที่ใช
                รวมกัน ตลอดจนเตรียมพื้นที่จอดจักรยานและพื้นที่อาบน้ําใหเพียงพอและสะดวกตอการใชงาน




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                        หนา 18 / 84
SL 3           การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน                                                             (3 คะแนน)
SL 3.1         มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ                                  (1 คะแนน)

                  F
               ออกแบบใหมีสัดสวนพื้นที่เปดโลงมากขึ้น อันจะเปนการเพิ่มโอกาสในการมีพื้นที่สีเขียว เพิ่มแหลงที่อยูอาศัยของ
               สัตว ลดปญหาน้ําทวม ลดปญหาปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และเพิ่มพื้นที่กิจกรรมสาธารณะภายนอก
               อาคาร
       F            ก
                        ก 1
               ออกแบบใหมีพื้นทีเ่ ปดโลงเชิงนิเวศใหมีพื้นที่ ไมนอยกวา 25% ของพื้นที่ฐานอาคาร (Development Footprint)
               ตองออกแบบใหมีพื้นทีเ่ ปดโลงเชิงนิเวศ (Ecological Open Space) โดยพื้นที่วาเชิงนิเวศตองมีพื้นที่สีเขียวอยาง
               นอยรอยละ 40% ของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ (นับรวมพื้นที่บอน้าลักษณะธรรมชาติทมีการจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจ
                                                                        ํ                  ี่
               โดยรอบ) และจะตองไมใชพื้นทีสําหรับรถยนตหรือที่จอดรถยนต พื้นที่ดาดแข็งสามารถนับเปนสวนหนึ่งของพื้นที่
                                               ่
               เปดโลงเชิงนิเวศได หากกิจกรรมบนพื้นที่ดาดแข็งเปนไปเพื่อการสงเสริมคุณภาพชีวตของผูใชงาน อาทิเชน ทางเดิน
                                                                                         ิ
               เทา ลานกิจกรรม เปนตน ในการทําคะแนนภายใตทางเลือกที่ 1 นี้ พื้นที่หลังคาไมสามารถนับรวมเปนพื้นที่ในการ
               ทําคะแนน
                        ก 2
               ในกรณีเปนโครงการที่มีการมุงทําคะแนนในขอ SL 1: การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่พัฒนาแลวออกแบบอาคารให
               มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ 20% ของพื้นที่โครงการ ซึ่งสามารถนับพื้นที่หลังคาเปนพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศได แตลักษณะ
               ของพื้นที่หลังคาตองตรงตามลักษณะของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศที่ถูกกําหนดไวในทางเลือกที่ 1
           ก            ก
               ควรทําการสํารวจที่ดินเพื่อบงชี้องคประกอบตางๆที่จะนํามาซึ่งการวางแผนการใชที่ดินอยางเหมาะสม ควรวาง
               ตําแหนงตัวอาคารลงบนที่ดินอยางเหมาะสมหรือออกแบบอาคารใหมีพื้นที่คลุมดินนอยที่สุด หลีกเลี่ยงการแผ
               อาคารจนเต็มพื้นที่ดิน หลีกเลี่ยงการมีที่จอดรถบนดินที่แผเต็มพื้นทีดิน แตควรซอนชั้นจอดรถหรือทําที่จอดรถใตดิน
                                                                                ่
               พิจารณาการจัดวางพื้นที่สีเขียวภายในพื้นที่เปดโลงใหไดประสิทธิภาพและมีสัดสวนผานเกณฑคะแนน ในกรณี
               พื้นที่แออัด ควรพิจารณาการใชพื้นที่หลังคาเปนพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ และควรพิจารณาการทําคะแนนรวมกับ
               SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                               หนา 19 / 84
SL 3        การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน                                                      (3 คะแนน)
SL 3.2      มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น)         (1 คะแนน)
                F
            ปรับปรุงสภาพอากาศจุลภาค (Microclimate) ใหเหมาะสม เพื่อใหอาคารมีสภาพแวดลอมที่ดี ประหยัดพลังงาน
            ลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และสงเสริมการอยูอาศัยที่เปนมิตรระหวางมนุษยและสัตวตลอดจน
            สิ่งมีชีวิตอื่นๆ

       F          ก
                • มีพื้นที่ปลูกไมยืนตนไมนอยกวา 1 ตน ตอพื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร
                • มีรมเงาปกคลุมอยางคงทนถาวรภายใน 5 ปแรก
                • รักษาตนไมเดิม และ/หรือ ปลูกไมยืนตนเพิมเติม โดยตนไมนั้นตองมีขนาดเสนผานศูนยกลางของทรงพุม
                                                          ่
                    เมื่อโตเต็มทีไมนอยกวา 4.5 เมตร และตองไมใชตนไมที่ยายโดยการขุดลอมมาจากพื้นที่อื่นเพื่อนํามาปลูก
                                 ่
                    ในโครงการ ยกเวนตนไมทีมีการจําหนายอยางถูกกฎหมายหรือทีเ่ พาะขึ้นจากเรือนเพาะชําเทานั้น
                                            ่
           ก          ก
             พยายามใหรมเงาพื้นที่ดาดแข็งภายนอกอาคารดวยพืชพรรณธรรมชาติขนาดกลาง/ใหญ เพื่อกอใหเกิดสภาพ
             อากาศจุลภาคที่ดี เอื้อตอการประหยัดพลังงาน ควรพิจารณารวมกับ SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนใน
             เมืองจากการพัฒนาโครงการ ที่มีการใชตนไมใหญในการบังเงาพื้นที่ดาดแข็งรวมกับการใชวัสดุปูพื้นดาดแข็ง
             กลางแจงที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง เพื่อลดการดูดซับความรอนจากรังสีดวงอาทิตย




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                     หนา 20 / 84
SL 3           การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน                                                     (3 คะแนน)
SL 3.3         ใชพืชพรรณพื้นถิ่นที่เหมาะสม                                                        (1 คะแนน)
                 F
               พัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสมและสงเสริมสภาพแวดลอมที่ดี เพื่อการประหยัดพลังงาน ลดการใชน้ําในงานภูมิ
               สถาปตยกรรม ลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และสงเสริมการสรางและพลิกฟนระบบนิเวศที่มีความ
               สมบูรณ
       F            ก
               เลือกใชพืชพรรณในงานภูมิสถาปตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางภูมิอากาศที่ทนแลงและทนโรคทั้ง
               โครงการ พืชพรรณที่เลือกใชตองไมเปนสายพันธุรุกรานหรือวัชพืช การเลือกชนิดของพืชตองอางอิงชนิดของพืชตาม
               ภาคผนวก ก
           ก             ก
               ปรึกษาภูมิสถาปนิกในการเลือกใชชนิดของพืชพรรณพื้นถิ่น และวางแผนการทําคะแนนรวมกับ SL 3.1: มีพื้นทีเ่ ปด
               โลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ SL 3.2: มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100
               ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น) และ SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนา
               โครงการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                       หนา 21 / 84
SL 4         การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม                                                                     (4 คะแนน)
               F
             ลดปญหาน้ําทวมที่เกิดจากการพัฒนาโครงการซึ่งสามารถทําไดโดยเพิ่มการซึมน้ําของโครงการหรือมีการสรางบอ
             หนวงน้ําเพื่อชะลอน้ํากอนปลอยออกสูพื้นที่นอกโครงการ
       F          ก
                     ก 1
             คํานวณพื้นที่โครงการและลักษณะของพื้นผิวโดยใชคาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดิน (Runoff Coefficients) ของ
             แตละพื้นผิว แลวนํามาหาคาเฉลี่ยของพื้นผิวโครงการ โดยเทียบคาเฉลี่ยและคะแนนไดจาก        1
                                       คาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดินเฉลี่ย          คะแนน
                                               มากกวาหรือเทากับ 0.7                  1
                                                     0.6-0.69                        2
                                                     0.5-0.59                        3
                                            นอยกวาหรือเทากับ 0.49                    4
                                      ตารางที่ 1 การเทียบคะแนนและคาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดินเฉลี่ย
                      ก 2
             คํานวณหรือจําลองสภาพปริมาณน้ําฝนที่ไหลออกจากโครงการโดยใชปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยที่ตกในรอบ 2 ปและตก
             เปนเวลา 24 ชั่วโมง ของกรุงเทพฯ หรือพื้นที่โครงการ (หากมีขอมูล) โดยตองทําการคํานวณทั้งปริมาณน้ําทวม
             สูงสุดและปริมาณรวมในชวง 24 ชั่วโมง เทียบกันระหวางกอนและหลังการพัฒนา ซึ่งขึ้นอยูกับคาสัมประสิทธิ์การ
             ไหลบนผิวดินเฉลี่ยกอนการพัฒนาโดยสามารถเทียบคะแนนไดดังนี้
              คาสั มประสิทธิ์ การไหลบนผิ วดิ นเฉลี่ ย คาสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารไหลบนผิ ว ดิ น        คะแนน
              กอนการพัฒนา นอยกวาหรือเทากับ 0.5 เฉลี่ยกอนการพัฒนา มากกวา 0.5
              ปริมาณน้ําทวมคงเดิม                     ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 20                        1
              ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 5                ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 25                        2
              ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 10               ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 30                        3
              ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 15               ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 35                        4
                                 ตารางที่ 2 การเทียบคะแนนและปริมาณน้ําทวมที่ลดไดดวยการจําลองสภาพ
           ก            ก
             ออกแบบใหมีพื้นที่ดินที่สามารถใหน้ําซึมผานไดมากที่สุด เลือกใชวัสดุปูพื้นที่น้ําซึมผานได เชน บล็อกหญา (มีพนที่
                                                                                                                     ื้
             หญาอยางนอยรอยละ 50 ของพื้นผิว) แผนปูพื้นที่มีการเวนรองระหวางแผน หรือวัสดุปูพื้นที่มีชองหรือรูทนาซึมผาน
                                                                                                               ี่ ้ํ
             ลงสูชั้นดินได ผนวกกับการใชบอหนวงน้ําทั้งแบบธรรมชาติและแบบใชอุปกรณ ควรพิจารณาการใชพื้นที่เปดโลงที่
             มีศักยภาพในการรับน้ําและหนวงน้ําที่สามารถใชเปนพื้นที่สีเขียวของโครงการ เพื่อการทําคะแนนรวมกับ SL 3.1:
             มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                            หนา 22 / 84
SL 5            การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ                                            (4 คะแนน)
SL 5.1          มีการจัดสวนบนหลังคาหรือสวนแนวตัง   ้                                                  (2 คะแนน)
                   F
                ลดผลกระทบจากปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากหลังคาและเปลือกอาคาร (การเกิดอุณหภูมิที่แตกตาง
                กันระหวางพื้นที่พัฒนาและพื้นที่ไมไดรับการพัฒนา) ที่จะสงผลตอสภาพอากาศจุลภาค และที่อาศัยของมนุษย
                และสัตวตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
       F             ก
                สัดสวนของพื้นที่หลังคาเขียวและสวนแนวตั้ง (มีความชัน <60o วัดจากแนวระนาบ (ตามนิยามของ ผนัง และ
                หลังคา ใน ASHRAE 90.1 2007)) ที่ถูกปกคลุมดวยพืช โดยใชสมการ
                                                        GSA = GRA + GWA/0.5
                โดย GSA = Green Surface, GRA= Green Roof (พื้นที่หลังคาเขียว), GWA= Green Wall Area (พื้นที่สวน
                แนวตั้ง)
           1. GSA/พื้นที่หลังคาทั้งหมด (ไมนับพื้นที่งานระบบและชองแสงธรรมชาติ) >0.5 ได 1 คะแนน
           2. GSA/พื้นที่หลังคาทั้งหมด (ไมนับพื้นที่งานระบบและชองแสงธรรมชาติ) >0.8 ได 2 คะแนน
            ก             ก
                ปลูกพืชพรรณบนหลังคาหรือผนังภายนอกอาคาร ซึ่งอาจทําเปน ซุมไมเลื้อย ไมกระถางกึ่งถาวร และสวนแนวตั้ง
                เปนตน ทั้ง นี้ ควรหลี กเลี่ ยงการทํา แปลงตนไมหรือ ปลูก หญาชนิดที่ ตองมี การบํารุง รักษามากที่ทํา ใหเกิ ดการ
                สิ้นเปลือง และอาจตองใชสารเคมีปองกันหรือกําจัดศัตรูพืชที่เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมดวย ควรพิจาณาการทํา
                คะแนนรวมกับ SL 3.1: มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                              หนา 23 / 84
SL 5            การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ                                     (4 คะแนน)
SL 5.2          มีพื้นที่ดาดแข็งที่รับรังสีตรงจากดวงอาทิตย ไมเกินรอยละ 50 ของพื้นที่โครงการ              (1 คะแนน)

                   F
                ลดผลกระทบจากปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากพื้นที่ดาดแข็ง (การเกิดอุณหภูมิที่แตกตางกันระหวาง
                พื้นที่พัฒนาและพื้นที่ไมไดรับการพัฒนา) ที่จะสงผลตอสภาพอากาศจุลภาค และที่อาศัยของมนุษยและสัตว
                ตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
       F            ก
                ใหรมเงาแกพื้นที่ดาดแข็งที่อยูภายนอกอาคารโดยใชพืชพรรณหรือลดผลกระทบจากพื้นที่ดาดแข็งโดยเลือกการ
                กอสรางและวัสดุที่เหมาะสม โดยประยุกตใชวิธีการดังตอไปนี้กับพื้นที่ดาดแข็งมากกวารอยละ 50 ของโครงการ
           1. การใหรมเงาแกพื้นที่ดาดแข็งเพื่อลดรังสีตรงจากดวงอาทิตยดวยตนไมใหญ
           2. การใชวัสดุปูพื้นที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง มากกวารอยละ 30
           3. การใชหลังคาคลุมที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง มากกวารอยละ 30
           4. ใชพืชหรือเซลลแสงอาทิตยเปนหลังคาคลุม
           5. การใชบล็อกหญา (พื้นที่ปลูกพืชรอยละ 50 ของพื้นผิวบล็อกหญา)
            ก            ก
                ลดการมีพื้นที่ดาดแข็งภายนอกโครงการ หากมีควรพยายามใหรมเงาพื้นผิวภายนอกดวยพืชพรรณ ธรรมชาติ
                รวมทั้งใชวัสดุปูพื้นดาดแข็งกลางแจงที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูงเพื่อลดการดูดซับความรอนจากดวง
                อาทิตย ควรพิจารณาการใชหลังคาคลุมทางเดินที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง และควรพิจารณาการทํา
                คะแนนรวมกับ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน และ SL 4: การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม




สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย                                                                       หนา 24 / 84
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)
TREES Rating (Thai)

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

TREES Rating (Thai)

  • 1.
  • 2. TREES – NC Version 1.0 Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability for New Construction and Major Renovation ก Fก F ก กF F ก F ก 2553 ก ก กก Fก F F F ก F F ก F สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 1 / 84
  • 3. จากสภาวการณปจจุบันที่โลกของเราตองเผชิญกับการเผาผลาญพลังงานอยางสิ้นเปลือง และ สภาพแวดลอมที่ถูกทํารายมากขึ้น ๆ ในฐานะของนักวิชาชีพ สถาปนิก และวิศวกรที่เกี่ยวของกับการกอสราง ซึ่งมีการใชทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานจํานวนมาก เรื่องที่เราควรจะริเริ่มดําเนินการเพื่อชวยเหลือโลกคือ การพัฒนาและสรางแนวคิดเรื่อง “อาคารเขียว” นั่นเอง เมื่ อ ตนป 2552 สมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรมราชู ป ถั ม ภ รวมกั บ วิ ศ วกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ไดลงนามความรวมมือในการจัดตั้ง ขึ้นเพื่อเปน จุดเริ่มตนของการพัฒนาและดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหแนวคิดเรื่องอาคารเขียวในประเทศไทย เปน รูปธรรมโดยเร็วที่สุด เอกสารนี้เปน หลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว ซึ่ง จัดเตรียมโดย คณะอนุกรรมการจัดทํา หลักเกณฑการประเมินอาคารเขียว ที่มีตัวแทนมาจากสองสมาคมฯ ดังกลาวนั้น ถือวาเปนจุดเริ่มตนของการ เดินหนาเรื่อง อาคารเขียวในประเทศไทยอยางเต็มรูปแบบเปนครั้งแรกนั่นเอง ซึ่งเกณฑการประเมิน TREES- NC หรือ เกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดลอมไทย สําหรับการกอสรางและการปรับปรุง โครงการใหมนี้ เปนจุดเริ่ม ตนที่มุงเนนการประเมินโครงการอาคารสาธารณะที่จ ะสรางขึ้นใหมหรือมีการ ปรับปรุงครั้งใหญ เชน เปลี่ยนระบบปรับอากาศหรือเปลือกอาคาร เปนตน และในอนาคตอันใกลสถาบัน อาคารเขียวมุงหวังที่จะออกหลักเกณฑสําหรับบานพักอาศัย การตกแตงภายใน อาคารใชแลว เปนตน เพื่อให อาคารทุกประเภทมีโอกาสที่จะเปนอาคารเขียว ซึ่งจะมีสวนชวยในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนตอไป คูมือฉบับนี้ปรับปรุงตามขอคิดเห็นตางๆจากการประชาพิจารณในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552 จึง ถือไดวาการแบงสัดสวนคะแนน และความถูกตองตามหลักทฤษฎี ตลอดจนความเปนไปไดในการประยุกตใช ไดผานการตรวจสอบจากภาควิชาการ วิชาชีพ และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของมาแลว และทางคณะทํางานคาด วาเกณฑฉบับนี้จะสามารถนําไปใชประเมินอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป ดวยความปรารถนาดี ก ก กก F ก สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 2 / 84
  • 4. ก ก 1. นายประสงค ธาราไชย ประธาน 2. นายทวีจิตร จันทรสาขา รองประธาน 3. นายเกชา ธีระโกเมน กรรมการ 4. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน กรรมการ 5. ดร.ชเล คุณาวงศ กรรมการ 6. นายบุญญวัฒน ทิพทัส กรรมการ 7. นายวิวัฒน กุลวงศวิทย กรรมการ 8. ผศ.ดร.อรรจน เศรษฐบุตร กรรมการ 9. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน เหรัญญิก 10. นายนินนาท ไชยภิญโญ เลขาธิการ ก ก ก ก กก ก F 1. นายนินนาท ไชยภิญโญ ประธาน 1. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน ประธาน 2. นายเกชา ธีระโกเมน กรรมการ 2. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน รองประธาน 3. นายกมล ตันพิพัฒน กรรมการ 3. นายกมล ตันพิพัฒน อนุกรรมการ 4. นายคมกฤช ชูเกียรติมั่น กรรมการ 4. ดร.จตุวฒน วโรดมพันธ ั อนุกรรมการ 5. ดร.จญาดา บุณยเกียรติ กรรมการ 5. นายประพุธ พงษเลาหพันธุ อนุกรรมการ 6. ดร.จตุวฒน วโรดมพันธ ั กรรมการ 6. ดร.พร วิรุฬหรักษ อนุกรรมการ 7. นายจักรพันธ ภวังคะรัตน กรรมการ 7. รองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน อนุกรรมการ 8. รองศาสตราจารย ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล กรรมการ 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิชัย กฤชไมตรี อนุกรรมการ 9. ดร.ชานัน ติรณะรัต กรรมการ 9. นายรพีรัฐ ธัญวัฒนพรกุล อนุกรรมการ 10. ดร.ณรงควิทย อารีมตริ กรรมการ 10. นายวัลลภ เรืองดวยธรรม อนุกรรมการ 11. นายประพุธ พงษเลาหพันธุ กรรมการ 11. นางศิรินทร วงษเสาวศุภ อนุกรรมการ 12. ดร.พร วิรุฬหรักษ กรรมการ 12. นายสมจินต ดิสวัสดิ์ อนุกรรมการ 13. รองศาสตราจารย พรรณชลัท สุริโยธิน กรรมการ 13. นายอภิชย กําแพงเศรษฐ ั อนุกรรมการ 14. ดร.ภัทรนันท ทักขนนท กรรมการ 14. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร อนุกรรมการ 15. นายรพีรัฐ ธัญวัฒนพรกุล กรรมการ 15. นายอนวัช พงศสุวรรณ เลขานุการ 16. ดร.วรภัทร อิงคโรจนฤทธิ์ กรรมการ 16. นางสาวสุพรรณีย ทองจูด เลขานุการ 17. นายวิญ ู วานิชศิริโรจน กรรมการ 18. นางศิรินทร วงษเสาวศุภ กรรมการ 19. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรรจน เศรษฐบุตร กรรมการ 20. อาจารย เอกวัฒน โอภาสพงษกร กรรมการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 3 / 84
  • 5. F F ( ) ก F ก 8 BM 1ก ก (Building Management) 9 3 (1) BM P1 การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว 10 บังคับ BM 1 การประชาสัมพันธสูสังคม 11 1 BM 2 คูมือและการฝกอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาอาคาร 12 1 BM 3 การติดตามประเมินผลขณะออกแบบ กอสรางและเมืออาคารแลวเสร็จ ่ 13 1 SL 2 F (Site and Landscape) 14 16 (2) SL P1 การหลีกเลี่ยงที่ตงที่ไมเหมาะกับการสรางอาคาร ั้ 15 บังคับ SL P2 การลดผลกระทบตอพื้นที่ที่มีความสมบูรณทางธรรมชาติ 16 บังคับ SL 1 การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่พฒนาแลว ั 17 1 SL 2 การลดการใชรถยนตสวนตัว 18 4 SL 3 การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยงยืน ั่ 19 3 SL 3.1 มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ 1 SL 3.2 มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น) 1 SL 3.3 ใชพืชพรรณพื้นถิ่นที่เหมาะสม 1 SL 4 การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม 22 4 SL 5 การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ 23 4 SL 5.1 มีการจัดสวนบนหลังคาหรือสวนแนวตัง ้ 2 SL 5.2 มีพื้นที่ดาดแข็งที่รับรังสีตรงจากดวงอาทิตย ไมเกินรอยละ 50 ของพื้นที่โครงการ 1 SL 5.3 มีตนไมยืนตนทางทิศใต ทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ที่บังแดดไดอยางมีประสิทธิภาพและไม 1 กอใหเกิดความเสียหายกับตัวอาคาร WC 3ก (Water Conservation) 26 6 WC 1 การประหยัดน้าและการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ํ 27 6 WC 1.1 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 15 หรือใชโถสุขภัณฑประหยัดน้ํา 2 WC 1.2 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 25 หรือใชกอกน้ําในหองน้ําชนิดประหยัดน้ํา 2 WC 1.3 การประหยัดน้ํารวมรอยละ 35 หรือการบริหารจัดการน้ําและการใชน้ําฝน 2 EA 4 ก (Energy and Atmosphere) 30 20 (2) EA P1 การประกันคุณภาพอาคาร 31 บังคับ มีแผนการตรวจสอบและปรับแตงระบบโดยบุคคลทีสาม ่ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 4 / 84
  • 6. F F ( ) EA P2 ประสิทธิภาพการใชพลังงานขั้นต่า ํ 33 บังคับ ได 4 คะแนนในขอ EA 1 EA 1 ประสิทธิภาพการใชพลังงาน 34 16 EA 2 การใชพลังงานทดแทน 36 2 ผลิตพลังงานทดแทน ใหไดไมนอยกวา รอยละ0.5-1.5 ของปริมาณคาใชจายพลังงานในอาคาร EA 3 การตรวจสอบและพิสูจนผลเพื่อยืนยันการประหยัดพลังงาน 37 1 มีแผนการตรวจสอบและพิสูจนผลตามขอกําหนด IPMVP EA 4 สารทําความเย็นในระบบปรับอากาศทีไมทําลายชั้นบรรยากาศ ่ 38 1 ไมใชสาร CFC และ HCFC-22 MR 5 ก ก กF F 39 13 (Materials and Resources) MR 1 การใชอาคารเดิม 40 2 เก็บรักษาพื้นหรือหลังคาของอาคารเดิมไวรอยละ 50-75 ของพื้นที่ผิว MR 2 การบริหารจัดการขยะจากการกอสราง 41 2 นําขยะไปใชหรือรีไซเคิล 50-75% ของปริมาตรหรือน้ําหนัก MR 3 การเลือกใชวัสดุใชแลว 42 2 นําวัสดุกอสรางกลับมาใชใหมเปนมูลคารอยละ 5-10 MR 4 การเลือกใชวัสดุรไซเคิล ี 43 2 ใชวัสดุรีไซเคิลเปนมูลคารอยละ 10-20 MR 5 การใชวัสดุพื้นถิ่นหรือในประเทศ 44 2 การใชวัสดุที่ ขุด ผลิต ประกอบ หรือวัสดุพื้นถิ่นหรือในประเทศไมนอยกวารอยละ 10-20 ของมูลคาวัสดุ กอสรางทั้งหมด MR 6 วัสดุที่ผลิตหรือมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ํา 45 3 MR 6.1 ใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตามฉลากเขียวและฉลากคารบอนของไทยไมนอยกวารอยละ 10-20 2 ของมูลคาวัสดุกอสรางทั้งหมด MR 6.2 ใชวัสดุที่มีการเผยแพรขอมูลความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไมนอยกวารอยละ 30 ของมูลคาวัสดุกอสราง 1 ทั้งหมด IE 6 F 47 17 (2) (Indoor Environmental Quality) IE P1 ปริมาณการระบายอากาศภายในอาคาร 48 บังคับ อัตราการระบายอากาศผานเกณฑตามมาตรฐาน IE P2 ความสองสวางภายในอาคาร 49 บังคับ ความสองสวางขันต่ําผานเกณฑตามมาตรฐาน ้ IE 1 การลดผลกระทบมลภาวะ 50 5 IE 1.1 ชองนําอากาศเขาไมอยูตําแหนงที่มีความรอนหรือมลพิษ 1 สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 5 / 84
  • 7. F F ( ) IE 1.2 ความดันเปนลบ (Negative pressure) สําหรับหองพิมพงาน ถายเอกสาร เก็บสารเคมี และเก็บสารทํา 1 ความสะอาด IE 1.3 ควบคุมแหลงมลพิษจากภายนอกเขาสูภายในอาคาร 1 IE 1.4 พื้นที่สูบบุหรี่หางจากประตูหนาตางหรือชองนําอากาศเขาไมนอยกวา 10 เมตร 1 IE 1.5 ประสิทธิภาพการกรองอากาศผานเกณฑตามมาตรฐาน 1 IE 2 การเลือกใชวัสดุทไมกอมลพิษ ี่ 55 4 IE 2.1 การใชวัสดุประสาน วัสดุยาแนว และรองพื้น ที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร 1 IE 2.2 การใชสี และวัสดุเคลือบผิว ที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร 1 IE 2.3 การใชพรมที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร 1 IE 2.4 การใชผลิตภัณฑทีประกอบขึ้นจากไมที่มีสารพิษต่ําภายในอาคาร ่ 1 IE 3 การควบคุมแสงสวางภายในอาคาร 60 1 แยกวงจรแสงประดิษฐทุก 250 ตารางเมตรหรือตามความตองการ IE 4 การใชแสงธรรมชาติภายในอาคาร 61 4 ออกแบบใหหองที่มีการใชงานประจําไดรับแสงธรรมชาติอยางพอเพียง IE 5 สภาวะนาสบาย 62 3 อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธในสวนที่มีการปรับอากาศเหมาะสมตามมาตรฐานระบบปรับอากาศและ ระบายอากาศ EP 7ก ก ก F F 63 5 (2) (Environmental Protection) EP P1 การลดมลพิษจากการกอสราง 64 บังคับ มีแผนและดําเนินการปองกันมลพิษและสิ่งรบกวนจากการกอสราง EP P2 การบริหารจัดการขยะ 65 บังคับ การเตรียมพื้นที่แยกขยะ EP 1 ใชสารเคมีที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยในระบบดับเพลิง 66 1 ไมใชสารฮาลอน (Halon) หรือ ซีเอฟซี (CFC) หรือ เอสซีเอฟซี (HCFC) ในระบบดับเพลิง EP 2 ตําแหนงเครื่องระบายความรอน 67 1 การวางตําแหนงเครื่องระบายความรอนหางจากที่ดินขางเคียง EP 3 การใชกระจกภายนอกอาคาร 68 1 กระจกมีคาสะทอนแสงไมเกินรอยละ 15 EP 4 การควบคุมโรคที่เกียวของกับอาคาร ่ 69 1 ปฏิบัติตามประกาศกรมอนามัยเรื่องขอปฏิบัติการควบคุมเชื้อลีจิโอเนลลา (Legionella) ในหอระบาย ความรอนของอาคารในประเทศไทย EP 5 ติดตังมาตรวัดไฟฟาที่ใชกับระบบบําบัดน้ําเสีย ้ 70 1 สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 6 / 84
  • 8. F F ( ) GI 8 ก (Green Innovation) 71 5 GI 1-5 มีเทคนิควิธีทไมระบุไวในแบบประเมิน ี่ 71 5 F 72 ก 76 กก 77 รวมคะแนน 85 (9) สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 7 / 84
  • 9. การผานการประเมิน ในการผานเกณฑการประเมิน TREES-NC Version 1 นี้ ผูเขารวมประเมินตองสงเอกสารที่เกียวของในแตละหัวขอ ่ คะแนนเพื่อยืนยันวาไดมีการดําเนินกิจกรรมในการทําคะแนนในหัวขอตางๆจริง (เอกสารที่ตองนําสงตลอดจนชวงเวลาในการ สงจะถูกระบุไวในเอกสารการประเมินฉบับเต็ม) ทางสถาบันฯจะมีการตรวจสอบในรูปแบบตางๆ เพื่อยืนยันวากิจกรรมตางๆ เปนไปตามที่ผูเขารวมประเมินไดกลาวอาง ซึ่งหากทางสถาบันพบวามีการ บิดเบือน ปลอม หรือ สรางหลักฐานเท็จ ทาง สถาบันขอสงวนสิทธิ์ในการยกเลิกการรับรองและถอดถอนรางวัลที่ไดมอบใหจากเจาของโครงการ ซึ่งในการประเมินนั้น ทาง สถาบันอาคารเขียวจะทําหนาที่ประเมินหลักฐานตางๆ ตลอดจนวิธีการดําเนินการ วามีความถูกตองและสอดคลองตอ วัตถุประสงคของหัวขอคะแนนตางๆ และสมควรไดรับการรับรองคะแนนหรือไม การรับรองอาคารทีเ่ ขารวมประเมินนั้นจะแบงรางวัลเปน 4 ระดับ ตามคะแนนที่ไดดังนี้ PLATINUM 61 คะแนน ขึ้นไป GOLD 46-60 คะแนน SILVER 38-45 คะแนน CERTIFIED 30-37 คะแนน ซึ่งในการผานการประเมินทุกระดับนั้นผูเขารวมประเมินตองผานการทําคะแนนขอบังคับ 9 ขอ หากไมสามารถทํา คะแนนขอบังคับขอใดขอหนึ่ง ทางสถาบันฯจะถือวาไมสามารถเขารวมการประเมินได สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 8 / 84
  • 10. BM 1 ก ก (Building Management) สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 9 / 84
  • 11. BM P1 การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว (บังคับ) F เพื่อใหกระบวนการออกแบบกอสรางอาคารเขียวมีความเปนระบบและราบรื่น ชวยใหคณะทํางานและผูรับผิดชอบ โครงการสามารถควบคุมการทํางานของโครงการใหเปนไปตามหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียวไดอยางมี ประสิทธิภาพ F ก มีแผนการดําเนินงานและติดตามประเมินผลเพื่อใหการออกแบบกอสราง วางแผน และบริหารจัดการเปนไปตาม หลั ก เกณฑการประเมิ น อาคารเขี ย ว สิ่ ง ที่ ต องดํ า เนิ น การเปนเพี ย งแผนไมใชผลการดํ า เนิ น งาน ซึ่ ง แผนการ ดําเนินงานจะตองประกอบดวย 1) รายชื่อคณะทํางานและหัวหนาโครงการ (เชน สถาปนิก วิศวกร เจาของอาคาร ผูตรวจสภาพอาคาร ผูบริหารอาคาร และ/หรือที่ปรึกษา เปนตน) 2) กิจกรรมตางๆโดยระบุผูรับผิดชอบในแตละ กิจกรรมที่ตรงกับหัวขอคะแนนตางๆ 3) รายละเอียดของกิจกรรมตางๆ รวมถึงเทคนิคและวิธีการที่จะนํามาใชโดย ยอ 4) ตารางเวลาของแตละกิจกรรมวาจะดําเนินการในชวงใดและนานเทาไร ก ก จัดตั้งคณะทํางานและจัดทําแผนการดําเนินงานที่สอดคลองกับหลักเกณฑการประเมินอาคารเขียวสําหรับการ กอสรางและปรับปรุงโครงการใหม โดยตองดําเนินการตั้งแตชวงตนของการกําหนดแนวคิดของโครงการ และมี ผูบริหารสูงสุดหรือตัวแทนที่ไดรับมอบหมายเปนหัวหนาโครงการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 10 / 84
  • 12. BM 1 การประชาสัมพันธสูสังคม (1 คะแนน) F มีการกําหนดใหอาคารที่จะกอสรางเปนอาคารเขียวทําการประชาสัมพันธสูสังคมอยางมีประสิทธิภาพ F ก 1. ติดปายประชาสัมพันธหนาพื้นที่กอสราง โดยระบุถึงเจตนารมณในการเขารวมการประเมินความยั่งยืนทางพลังงาน และสิ่งแวดลอมอยางเปนทางการ ซึ่งตองแสดงสัญลักษณและชื่อของสถาบันอยางชัดเจน พรอมทั้งระบุประเภท ของเกณฑที่ใช (ในกรณีนี้คือ การกอสรางและปรับปรุงอาคารใหม หรือ TREES-NC) และตองทําปาย 2 ภาษา ทั้ง ไทยและอังกฤษ 2. จัดทําขอมูลนําเสนอเกี่ยวกับอาคาร (ชวงออกแบบหรือเมื่ออาคารแลวเสร็จ) ในหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาเปนอาคารเขียว เพื่อเผยแพรเปนวิทยาทานใหกับบุคคลทั่วไปและผูสนใจ รูปแบบของขอมูลอาคารที่ จัดทําเพื่อการประชาสัมพันธตองประกอบดวยการดําเนินการดังตอไปนี้ อยางนอย 2 ประเภท • การพิมพแจกจายแผนพับ (ในกรณีมีการพิมพแจกจาย ตองใชกระดาษ รีไซเคิล หรือ วัสดุยั่งยืนอืนๆ) อยางนอย ่ 500 แผน และตองมีการแจกจายในงานสัมมนาตางๆ ที่เกี่ยวของกับการออกแบบ กอสรางอาคาร หรือใชงาน อาคาร • การนําเสนอขอมูลในรูปแบบของเว็บไซตที่แสดงแนวคิดและรายละเอียดที่ครอบคลุมการออกแบบและกอสราง อาคารเขียว • การจัดโครงการประชาสัมพันธสัญจร นอกสถานที่อยางนอย 3 แหง • การจัดพื้นที่แสดงนิทรรศการถาวรในอาคาร • การติด ปายประชาสัม พันธตามจุ ดตางๆ ภายในอาคารอยางครอบคลุ ม เพื่ อใหความรูกับผูใชหรือเยี่ย มชม อาคาร • การจัดเยี่ยมชมอาคารโดยเชิญองคกรภาครัฐหรือเอกชนอยางนอย 3 แหง (แหงละไมต่ํากวา 50 คน) • การเผยแพรความรูเชิงวิชาการในรูปแบบการตีพิมพในวารสารวิชาการหรือการประชุมวิชาการระดับชาติหรือ นานาชาติอยางนอย 1 บทความ • วิธีการอื่นๆ ที่เปนรูปธรรม สามารถพิ สูจนและแสดงผลเชิง ปริม าณได โดยเสนอใหสถาบันอาคารเขีย วไทย พิจารณา ก ก วางแผนประชาสัมพันธใหสังคมรับทราบ ผานสื่อตางๆ ซึ่งเปนที่ยอมรับ รวมทั้งจัดใหมีปายประชาสัมพันธหนา โครงการขณะกําลังกอสราง สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 11 / 84
  • 13. BM 2 คูมือและการฝกอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาอาคาร (1 คะแนน) F เพื่อใหมีเอกสารคูมือการใชงานและบํารุงรักษาอาคารที่เปนลายลักษณอักษรและงายตอการบริหารจัดการอาคาร เขียวใหมีความถูกตองและเหมาะสม F ก มีคูมือและใหการอบรมแนะนําการใชงานและบํารุงรักษาระบบตางๆ ที่เหมาะสมกับการเปนอาคารที่ขอรับรอง มาตรฐานอาคารเขียวสําหรับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของของอาคาร โดยคูมือดังกลาวจะตองครอบคลุมระบบตางๆ ที่มีใช งานภายในอาคาร อยางนอยดังนี้ (1) ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ (2) ระบบไฟฟาแสงสวาง (3) ระบบ สุขาภิบาล (4) ระบบทําน้ํารอนภายในอาคาร (สําหรับอาคารประเภทโรงแรมและโรงพยาบาล) (5) ระบบอํานวย ความสะดวก (6) ระบบพลังงานหมุนเวียน (ถามี) แตสามารถเพิมเติมตามความเหมาะสมของแตละโครงการ ่ ก ก จัดทําคูมือการใชงานและดําเนินการจัดฝกอบรมสําหรับระบบที่มีความสําคัญตางๆ ดังที่ไดกลาวมาแลว ใหกับ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของของอาคาร ควรพิจารณาหมวดคะแนนขอนี้ในการดําเนินการรวมกับ หัวขอ EA P1: การ ประกันคุณภาพอาคาร โดยอาจนําเนื้อหาบางสวนไปใชในขอ BM 1: การประชาสัมพันธสูสังคม สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 12 / 84
  • 14. BM 3 การติดตามประเมินผลขณะออกแบบ กอสรางและเมื่ออาคารแลวเสร็จ (1 คะแนน) F เพื่อเสริมความแข็งแกรงและเปนระบบของการออกแบบและกอสรางอาคารเขียวเพิ่มเติมจากขอ BM P1 และสราง องคความรูในการออกแบบกอสรางอาคารเขียวในอนาคต ตลอดจนพัฒนาเกณฑการประเมินใหดีและใชงานได อยางเหมาะสมตอไปในอนาคต F ก มีการขยายผลตอจากขอ BM P1: การเตรียมความพรอมความเปนอาคารเขียว โดยใหคณะทํางานอาคารเขียว นํา แผนงานที่จัดทําไวใน BM P1 มาขยายผล โดยกําหนดใหมีขอ 5) การประเมินกิจกรรมตางๆ ถึงความสําเร็จและ ขอจํ า กั ด ที่ พ บในชวงออกแบบ กอสราง และเมื่ อ อาคารแลวเสร็ จ โดยระบุ ถึ ง สาเหตุ แ ละขอแนะนํ า เพื่ อ ให คณะทํางานอาคารเขียวสามารถติดตามการทํางานอยางมีประสิทธิภาพและเกิดการเรียนรูเกณฑการประเมิน อาคารเขียวอยางเปนระบบ ก ก ขยายขอบเขตการทํางานของคณะทํางานอาคารเขียวในการติดตามผลและประเมินผลกิจกรรมตางๆ ตามหัวขอ กิจกรรมอยางเปนระบบ โดยมีการสรุปถึงความคืบหนาในหัวขอตาง ๆ เปนระยะ ๆ และมีการรวบรวมเอกสารจาก การประชุมความคืบหนาแตละครั้งของคณะทํางานอาคารเขียวในหัวขอคะแนนที่ประสบความสําเร็จและลมเหลว ทั้งนี้คณะทํางานควรสรุป ถึงแนวทางที่ป ระสบความสําเร็จและลมเหลว เพื่อการเรีย นรูดวยตนเองและจัดทํ า ฐานขอมูลความรูโดยสถาบันอาคารเขียวไทย ตอไปในอนาคต สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 13 / 84
  • 15. SL 2 F (Site and Landscape) สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 14 / 84
  • 16. SL P1 การหลีกเลี่ยงที่ตั้งที่ไมเหมาะกับการสรางอาคาร (บังคับ) F เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการกอสรางโครงการบนที่ ดิ น ที่ ไ มสมควรที่ จ ะมี ก ารพั ฒ นา และลดผลกระทบสิ่ ง แวดลอมอั น เนื่องมาจากตําแหนงของอาคารบนที่ดิน จึงควรสรางอาคารหรือพัฒนาที่ดินบนพื้นที่ที่มีคุณคาทางระบบนิเวศต่ํา หรือตามที่กําหนดไวในกฎหมายผังเมือง F ก ไมกอสราง อาคาร พื้นที่ดาดแข็งในงานภูมิทัศน ถนน หรือที่จอดรถบนที่ดิน ที่มีลักษณะตามนี้ 1. พื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยของสัตวสงวน หรือสัตวที่ใกลสูญพันธุหรือเขตปาสงวนหรือเขตอนุรักษ หรือเขตอนุรักษพันธุ สัตวปา ตามกฎหมายไทย 2. พื้นที่ที่ยังไมไดรับการพัฒนาที่อยูภายในระยะ 15 เมตรจากแหลงน้ําธรรมชาติ โดยพื้นที่ดังกลาวเปนแหลงที่อยู อาศัยของสัตวน้ําที่มีการขยายพันธุ ตามที่ระบุไวในเขตอนุรักษพันธุสัตวน้ํา 3. พื้นที่ที่เคยเปนสวนสาธารณะกอนจะนํามาทําโครงการ ยกเวนวาจะไดนําพื้นที่ขนาดเทาเดิมหรือมากกวาเดิมมา แลกเปลี่ยนเพื่อทําสวนสาธารณะใหมทดแทน 4. หลีกเลี่ยงการเลือกที่ตั้งโครงการในพื้นที่ที่มีคุณคาทางระบบนิเวศสูง หรือขัดแยงกับผังเมือง เชน พื้นที่ลุมต่ําน้ํา ทวมถึง พื้นที่ที่เปนทางไหลผานของน้ําธรรมชาติ พื้นที่รับน้ําจากบริเวณรอบๆ (พื้นที่แกมลิง) พื้นที่ชุมน้ํา (Wetland) พื้นที่ที่มีความลาดชันเกินรอยละ 30 เปนตน ก ก ระหวางการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ พยายามเลือกที่ดินที่ไมมีองคประกอบที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือเปน ที่ดินควบคุมโดยการตรวจสอบ กฎหมาย และขอกําหนดผังเมือง กอนที่จะตัดสินใจทําโครงการ อีกทั้งพยายาม ออกแบบอาคารใหมีพื้นที่พัฒนาที่คลุมดิน (อาคาร พื้นที่ดาดแข็งในงานภูมิทัศน ถนน หรือที่จอดรถบนที่ดิน) ให นอยที่สุดในบริเวณที่มีลักษณะตามที่กําหนดไว เพื่อลดผลกระทบจากการทําลายระบบนิเวศดั้งเดิม หรือทําลาย แหลงอาศัยของสัตว ควรพิจารณาตําแหนงที่ตั้งอาคารและพื้นที่พัฒนาที่เหมาะสมโดยควรพิจารณาถึงความ เปนไปไดในการทําคะแนนในขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน และ SL 4: การซึมน้ําและลดปญหาน้ํา ทวม สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 15 / 84
  • 17. SL P2 การลดผลกระทบตอพื้นที่ที่มีความสมบูรณทางธรรมชาติ (บังคับ) F ลดผลกระทบจากการพัฒนาในพื้นที่สีเขียวหรือพื้นที่ที่มีความสมบูรณตอระบบนิเวศ และพลิกฟนพื้นที่สีเขียวใน โครงการที่มีการพัฒนาไปแลวใหมีคุณคาทางระบบนิเวศตลอดจนเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูใชอาคารใหดียิ่งขึ้น F ก ก 1 ในกรณีที่เปนพื้นที่ที่เคยพัฒนามาแลวหรือพื้นที่ที่คุณคาทางระบบนิเวศต่ํา ตองออกแบบใหมีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ (Ecological Open Space) ใหมีขนาดอยางนอย 10% ของพื้นที่ฐานอาคาร (Development Footprint) โดยพื้นที่วาเชิง นิเวศตองมีพื้นที่สีเขียวอยางนอยรอยละ 25 ของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ (นับรวมพื้นที่บอน้ําลักษณะธรรมชาติที่มีการ จัดพื้นที่พักผอนหยอนใจโดยรอบ) และจะตองไมใชพื้นที่สําหรับรถยนตหรือที่จอดรถยนต พื้นที่ดาดแข็งสามารถ นับเปนสวนหนึ่งของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศได หากกิจกรรมบนพื้นที่ดาดแข็งเปนไปเพื่อการสงเสริมคุณภาพชีวิตของ ผูใชงาน อาทิเชน ทางเดินเทา ลานกิจกรรม เปนตน ในการทําคะแนนขอนี้พื้นที่หลังคาไมสามารถนับรวมเปนพื้นที่ ในการทําคะแนน ก 2 ในกรณีที่เปนพื้นที่ที่ยังไมเคยพัฒนามากอน ควรสํารวจพื้นที่และบันทึกองคประกอบสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทาง ระบบนิเวศและหลีกเลี่ยงการกอสรางในบริเวณนี้ และตองจํากัดขอบเขตของการพัฒนาไมใหเกิน 15 เมตรจาก ขอบอาคาร (เพื่อไมใหมีการพัฒนาที่ลุกล้ําเขาไปยังพื้นที่ที่ยังมีความสมบูรณเกินแนวเขตเสนรอบรูปของอาคาร มากเกินไป) สําหรับพื้นที่ซึมน้ําได ขอบทางเดิน ถนน และที่จอดรถ ตองจํากัดขอบเขตการพัฒนาไมใหเกิน 5 เมตร โดยหามรบกวนพื้นที่นอกเหนือจากขอบเขตการพัฒนา พื้นที่สีเขียว หมายถึงพื้นที่ที่มีคุณลักษณะธรรมชาติและมีคุณคาตอระบบนิเวศ เชน มีการใชพืชพรรณพื้นถิ่น และ สงเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีเชนสามารถใชเปนที่พักผอนหยอนใจของผูใชอาคารหรือบุคคลทั่วไป ทั้งนี้กรณีพื้นที่ดาด แข็งที่มนุษยสรางขึ้นจะไมนับเปนพื้นที่สีเขียว เชน บล็อกหญา เปนตน ก ก สําหรับโครงการที่กอสรางบนพื้นที่ ที่ผานการพัฒนามาแลวหรือพื้นที่ที่คุณคาทางระบบนิเวศต่ํา ควรมีการกําหนด พื้น ที่สี เขี ย วในตํ า แหนงที่ เหมาะสม โดยศึ กษาและเลือ กชนิ ดของพื ชพรรณที่เ หมาะสมในพื้ น ที่ดั งกลาว ควร พิจารณาถึงโอกาสในการทําคะแนนในหัวขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน ดวย สําหรับโครงการที่สรางบนพื้นที่สีเขียวเดิม ควรจํากัดขอบเขตของการกอสรางอาคารและพื้นที่พัฒนาตางๆ ทําการ สํารวจที่ดินเพื่อบงชี้องคประกอบทางสภาพแวดลอมตางๆ ที่จําเปน เพื่อนํามาซึ่งการวางแผนการใชที่ดินอยาง เหมาะสม ควรออกแบบอาคารใหสงผลกระทบตอระบบนิเวศเดิมใหนอยที่สุด หรือออกแบบอาคารใหมีพื้นที่คลุม ดินนอยที่สุด และ/หรือใหมีจํานวนชั้นมากขึ้น หลีกเลี่ยงการกอสรางลานจอดรถ ควรพิจารณาถึงโอกาสในการทํา คะแนนในหัวขอ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืนดวย สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 16 / 84
  • 18. SL 1 การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่มีการพัฒนาแลว (1 คะแนน) F เลือกสถานที่กอสรางโครงการที่พัฒนาแลว และอยูในเขตเมืองที่มีการพัฒนาแลว พรอมดวยระบบสาธารณูปโภค เพื่อปองกันการรุกล้ําเขตปาไม รวมทั้งแหลงที่อยูอาศัยของสัตวและทรัพยากรธรรมชาติ F ก เลือกที่ตั้งโครงการที่มีสาธารณูปโภคดังตอไปนี้ ใหอยูภายในรัศมี 500 เมตร วัดจากทางเขาหลักของโครงการให ครบ 10 ประเภท และสาธารณูปโภคเหลานี้ตองสามารถเขาถึงไดภายในรัศมีที่กําหนด (ไมถูกกันดวยคลองหรือรั้ว ้ เปนตน) 1. วัดหรือสถานที่ทางศาสนา 10. พิพิธภัณฑ 2. รานคาประเภทตางๆ 11. โรงพยาบาลและสถานีอนามัย 3. ไปรษณีย 12. ซุปเปอรมารเกต 4. สถานีตํารวจ 13. ตลาด 5. สถานีดับเพลิง 14. รานเสริมสวย 6. รานเสริมสวยและนวดแผนโบราณ 15. รานกาแฟและ/หรือรานขนม 7. รานอาหาร 16. สํานักงาน 8. สวนสาธารณะ 17. สถานที่ราชการตางๆ 9. สถานศึกษา 18. อื่น ๆ รานอาหารและรานคาใหนับซ้าไดอยางละ 2 ราน (ถือเปน 2 ประเภท) เชน หากมี รานอาหาร 2 ราน และ รานคา 2 ํ ราน จะนับเปน 4 ประเภท ในกรณีศูนยการคา ตองแสดงรายการสาธารณูปโภคที่ผานจํานวนประเภทที่กําหนดและ อาคารศูนยการคาตองอยูภายในรัศมี 500 เมตร สําหรับสาธารณูปโภคนอกเหนือจากที่กาหนดไวขางตนสามารถ ํ เสนอใหสถาบันอาคารเขียวไทยพิจารณาเปนกรณีๆไป สถานทีที่ไมสงเสริมตอจริยธรรมและสุขภาพอนามัยทีดีของ ่ ่ ผูใชอาคารไมสามารถนํามานับประเภทเพื่อทําคะแนนได รานคาแผงลอยใหพิจารณาเปนกลุมและถือเปนกลุมของ ตลาด (นับเพียง 1 ประเภท) ก ก ที่ตั้งอาคารควรมีประเภทของสาธารณูปโภคที่หลากหลายเพียงพอและสามารถเขาถึงไดสะดวก ควรพิจารณาที่ตั้ง โครงการรวมกับระบบขนสงมวลชนที่เกี่ยวของ เพื่อทําคะแนนในหัวขอ SL2: การลดการใชรถยนตสวนตัว สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 17 / 84
  • 19. SL 2 การลดการใชรถยนตสวนตัว (4 คะแนน) F เพื่อลดมลภาวะและผลกระทบจากการพัฒนาที่ดิน อันเนื่องมาจากการใชรถยนตและจักรยานยนตสวนตัว F ก เลือกที่ตั้งโครงการและ/หรือ จัดที่จอดรถภายในโครงการที่มีลักษณะดังตอไปนี้ (ขอละ 1 คะแนน) 1. เลือกที่ตั้งอาคารภายในระยะ 500 เมตร (วัดจากประตูทางเขาอาคารหลัก) จากสถานีรถไฟ หรือรถไฟฟา อยางนอย 1 สถานี หรือ มีระบบรถรับสงไปยังสถานีโดยตองมีบริการรับสงไดรอยละ 5 ของผูใชอาคารตอวัน โดยรถรับสงตอง เปนรถประเภท eco car CNG Hybrid E20+ ไฟฟา หรือรถประเภทอื่นๆที่ลดการใชน้ํามันและกาซธรรมชาติอยางมี นัยสําคัญ 2. เลือกที่ตั้งอาคารภายในระยะ 500 เมตร จากปายรถประจําทางหรือสถานีบริการรถโดยสารขนาดเล็ก (รถตู) ที่มี อยางนอย 2 สายบริการ ที่ผูใชอาคารสามารถเขาถึงได 3. จัดที่จอดรถจักรยานเปนจํานวนไมนอยกวารอยละ 5 ของผูใชอาคารประจําและผูใชอาคารชั่วคราว (เชน แขก หรือ ลูกคา เปนตน) และจัดใหมีหองอาบน้ําไมนอยกวารอยละ 0.5 ของจํานวนพนักงานประจําไมเกินกวา 80 เมตร จาก บริเวณทางเขาอาคาร กรณีอาคารพักอาศัย ไมตองมีหองอาบน้ําแตใหเพิ่มพื้นที่จอดรถจักรยานเปนไมนอยกวารอย ละ 15 ของผูพักอาศัย 4. กําหนดที่จอดรถของอาคารใหเปนที่จอดรถ eco car CNG Hybrid E20+ ไฟฟา หรือรถประเภทอื่นๆที่ลดการใช น้ํามันและกาซธรรมชาติอยางมีนัยสําคัญ หรือที่จอดรถสวนบุคคลที่ใชรวมกัน (carpool) ในพื้นที่ที่ใกลทางเขา อาคารที่สุด อยางนอยรอยละ 5 ของจํานวนที่จอดรถทั้งหมดของอาคาร ก ก เลือกที่ตั้งโครงการที่อยูใกลกับระบบขนสงมวลชน สํารวจเสนทางการเดินเทาจากประตูทางเขาโครงการไปยังสถานี หรือปายรถประจําทาง พิจารณาการวางตําแหนงอาคารและทางเขาอาคารที่เหมาะสมใกลกับระบบขนสงมวลชน รวมถึงออกแบบที่จอดรถใหมีพื้นที่เพียงพอสําหรับรถ eco car CNG Hybrid E20+ไฟฟา หรือรถสวนบุคคลที่ใช รวมกัน ตลอดจนเตรียมพื้นที่จอดจักรยานและพื้นที่อาบน้ําใหเพียงพอและสะดวกตอการใชงาน สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 18 / 84
  • 20. SL 3 การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน (3 คะแนน) SL 3.1 มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ (1 คะแนน) F ออกแบบใหมีสัดสวนพื้นที่เปดโลงมากขึ้น อันจะเปนการเพิ่มโอกาสในการมีพื้นที่สีเขียว เพิ่มแหลงที่อยูอาศัยของ สัตว ลดปญหาน้ําทวม ลดปญหาปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และเพิ่มพื้นที่กิจกรรมสาธารณะภายนอก อาคาร F ก ก 1 ออกแบบใหมีพื้นทีเ่ ปดโลงเชิงนิเวศใหมีพื้นที่ ไมนอยกวา 25% ของพื้นที่ฐานอาคาร (Development Footprint) ตองออกแบบใหมีพื้นทีเ่ ปดโลงเชิงนิเวศ (Ecological Open Space) โดยพื้นที่วาเชิงนิเวศตองมีพื้นที่สีเขียวอยาง นอยรอยละ 40% ของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ (นับรวมพื้นที่บอน้าลักษณะธรรมชาติทมีการจัดพื้นที่พักผอนหยอนใจ ํ ี่ โดยรอบ) และจะตองไมใชพื้นทีสําหรับรถยนตหรือที่จอดรถยนต พื้นที่ดาดแข็งสามารถนับเปนสวนหนึ่งของพื้นที่ ่ เปดโลงเชิงนิเวศได หากกิจกรรมบนพื้นที่ดาดแข็งเปนไปเพื่อการสงเสริมคุณภาพชีวตของผูใชงาน อาทิเชน ทางเดิน ิ เทา ลานกิจกรรม เปนตน ในการทําคะแนนภายใตทางเลือกที่ 1 นี้ พื้นที่หลังคาไมสามารถนับรวมเปนพื้นที่ในการ ทําคะแนน ก 2 ในกรณีเปนโครงการที่มีการมุงทําคะแนนในขอ SL 1: การพัฒนาโครงการบนพื้นที่ที่พัฒนาแลวออกแบบอาคารให มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ 20% ของพื้นที่โครงการ ซึ่งสามารถนับพื้นที่หลังคาเปนพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศได แตลักษณะ ของพื้นที่หลังคาตองตรงตามลักษณะของพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศที่ถูกกําหนดไวในทางเลือกที่ 1 ก ก ควรทําการสํารวจที่ดินเพื่อบงชี้องคประกอบตางๆที่จะนํามาซึ่งการวางแผนการใชที่ดินอยางเหมาะสม ควรวาง ตําแหนงตัวอาคารลงบนที่ดินอยางเหมาะสมหรือออกแบบอาคารใหมีพื้นที่คลุมดินนอยที่สุด หลีกเลี่ยงการแผ อาคารจนเต็มพื้นที่ดิน หลีกเลี่ยงการมีที่จอดรถบนดินที่แผเต็มพื้นทีดิน แตควรซอนชั้นจอดรถหรือทําที่จอดรถใตดิน ่ พิจารณาการจัดวางพื้นที่สีเขียวภายในพื้นที่เปดโลงใหไดประสิทธิภาพและมีสัดสวนผานเกณฑคะแนน ในกรณี พื้นที่แออัด ควรพิจารณาการใชพื้นที่หลังคาเปนพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ และควรพิจารณาการทําคะแนนรวมกับ SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 19 / 84
  • 21. SL 3 การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน (3 คะแนน) SL 3.2 มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น) (1 คะแนน) F ปรับปรุงสภาพอากาศจุลภาค (Microclimate) ใหเหมาะสม เพื่อใหอาคารมีสภาพแวดลอมที่ดี ประหยัดพลังงาน ลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และสงเสริมการอยูอาศัยที่เปนมิตรระหวางมนุษยและสัตวตลอดจน สิ่งมีชีวิตอื่นๆ F ก • มีพื้นที่ปลูกไมยืนตนไมนอยกวา 1 ตน ตอพื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร • มีรมเงาปกคลุมอยางคงทนถาวรภายใน 5 ปแรก • รักษาตนไมเดิม และ/หรือ ปลูกไมยืนตนเพิมเติม โดยตนไมนั้นตองมีขนาดเสนผานศูนยกลางของทรงพุม ่ เมื่อโตเต็มทีไมนอยกวา 4.5 เมตร และตองไมใชตนไมที่ยายโดยการขุดลอมมาจากพื้นที่อื่นเพื่อนํามาปลูก ่ ในโครงการ ยกเวนตนไมทีมีการจําหนายอยางถูกกฎหมายหรือทีเ่ พาะขึ้นจากเรือนเพาะชําเทานั้น ่ ก ก พยายามใหรมเงาพื้นที่ดาดแข็งภายนอกอาคารดวยพืชพรรณธรรมชาติขนาดกลาง/ใหญ เพื่อกอใหเกิดสภาพ อากาศจุลภาคที่ดี เอื้อตอการประหยัดพลังงาน ควรพิจารณารวมกับ SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนใน เมืองจากการพัฒนาโครงการ ที่มีการใชตนไมใหญในการบังเงาพื้นที่ดาดแข็งรวมกับการใชวัสดุปูพื้นดาดแข็ง กลางแจงที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง เพื่อลดการดูดซับความรอนจากรังสีดวงอาทิตย สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 20 / 84
  • 22. SL 3 การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน (3 คะแนน) SL 3.3 ใชพืชพรรณพื้นถิ่นที่เหมาะสม (1 คะแนน) F พัฒนาระบบนิเวศที่เหมาะสมและสงเสริมสภาพแวดลอมที่ดี เพื่อการประหยัดพลังงาน ลดการใชน้ําในงานภูมิ สถาปตยกรรม ลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมือง และสงเสริมการสรางและพลิกฟนระบบนิเวศที่มีความ สมบูรณ F ก เลือกใชพืชพรรณในงานภูมิสถาปตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางภูมิอากาศที่ทนแลงและทนโรคทั้ง โครงการ พืชพรรณที่เลือกใชตองไมเปนสายพันธุรุกรานหรือวัชพืช การเลือกชนิดของพืชตองอางอิงชนิดของพืชตาม ภาคผนวก ก ก ก ปรึกษาภูมิสถาปนิกในการเลือกใชชนิดของพืชพรรณพื้นถิ่น และวางแผนการทําคะแนนรวมกับ SL 3.1: มีพื้นทีเ่ ปด โลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ SL 3.2: มีตนไมยืนตน 1 ตนตอ พื้นที่เปดโลง 100 ตารางเมตร (หามยายไมยืนตนมาจากที่อื่น) และ SL 5: การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนา โครงการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 21 / 84
  • 23. SL 4 การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม (4 คะแนน) F ลดปญหาน้ําทวมที่เกิดจากการพัฒนาโครงการซึ่งสามารถทําไดโดยเพิ่มการซึมน้ําของโครงการหรือมีการสรางบอ หนวงน้ําเพื่อชะลอน้ํากอนปลอยออกสูพื้นที่นอกโครงการ F ก ก 1 คํานวณพื้นที่โครงการและลักษณะของพื้นผิวโดยใชคาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดิน (Runoff Coefficients) ของ แตละพื้นผิว แลวนํามาหาคาเฉลี่ยของพื้นผิวโครงการ โดยเทียบคาเฉลี่ยและคะแนนไดจาก 1 คาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดินเฉลี่ย คะแนน มากกวาหรือเทากับ 0.7 1 0.6-0.69 2 0.5-0.59 3 นอยกวาหรือเทากับ 0.49 4 ตารางที่ 1 การเทียบคะแนนและคาสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดินเฉลี่ย ก 2 คํานวณหรือจําลองสภาพปริมาณน้ําฝนที่ไหลออกจากโครงการโดยใชปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยที่ตกในรอบ 2 ปและตก เปนเวลา 24 ชั่วโมง ของกรุงเทพฯ หรือพื้นที่โครงการ (หากมีขอมูล) โดยตองทําการคํานวณทั้งปริมาณน้ําทวม สูงสุดและปริมาณรวมในชวง 24 ชั่วโมง เทียบกันระหวางกอนและหลังการพัฒนา ซึ่งขึ้นอยูกับคาสัมประสิทธิ์การ ไหลบนผิวดินเฉลี่ยกอนการพัฒนาโดยสามารถเทียบคะแนนไดดังนี้ คาสั มประสิทธิ์ การไหลบนผิ วดิ นเฉลี่ ย คาสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารไหลบนผิ ว ดิ น คะแนน กอนการพัฒนา นอยกวาหรือเทากับ 0.5 เฉลี่ยกอนการพัฒนา มากกวา 0.5 ปริมาณน้ําทวมคงเดิม ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 20 1 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 5 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 25 2 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 10 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 30 3 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 15 ปริมาณน้ําทวมลดลงรอยละ 35 4 ตารางที่ 2 การเทียบคะแนนและปริมาณน้ําทวมที่ลดไดดวยการจําลองสภาพ ก ก ออกแบบใหมีพื้นที่ดินที่สามารถใหน้ําซึมผานไดมากที่สุด เลือกใชวัสดุปูพื้นที่น้ําซึมผานได เชน บล็อกหญา (มีพนที่ ื้ หญาอยางนอยรอยละ 50 ของพื้นผิว) แผนปูพื้นที่มีการเวนรองระหวางแผน หรือวัสดุปูพื้นที่มีชองหรือรูทนาซึมผาน ี่ ้ํ ลงสูชั้นดินได ผนวกกับการใชบอหนวงน้ําทั้งแบบธรรมชาติและแบบใชอุปกรณ ควรพิจารณาการใชพื้นที่เปดโลงที่ มีศักยภาพในการรับน้ําและหนวงน้ําที่สามารถใชเปนพื้นที่สีเขียวของโครงการ เพื่อการทําคะแนนรวมกับ SL 3.1: มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 22 / 84
  • 24. SL 5 การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ (4 คะแนน) SL 5.1 มีการจัดสวนบนหลังคาหรือสวนแนวตัง ้ (2 คะแนน) F ลดผลกระทบจากปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากหลังคาและเปลือกอาคาร (การเกิดอุณหภูมิที่แตกตาง กันระหวางพื้นที่พัฒนาและพื้นที่ไมไดรับการพัฒนา) ที่จะสงผลตอสภาพอากาศจุลภาค และที่อาศัยของมนุษย และสัตวตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่นๆ F ก สัดสวนของพื้นที่หลังคาเขียวและสวนแนวตั้ง (มีความชัน <60o วัดจากแนวระนาบ (ตามนิยามของ ผนัง และ หลังคา ใน ASHRAE 90.1 2007)) ที่ถูกปกคลุมดวยพืช โดยใชสมการ GSA = GRA + GWA/0.5 โดย GSA = Green Surface, GRA= Green Roof (พื้นที่หลังคาเขียว), GWA= Green Wall Area (พื้นที่สวน แนวตั้ง) 1. GSA/พื้นที่หลังคาทั้งหมด (ไมนับพื้นที่งานระบบและชองแสงธรรมชาติ) >0.5 ได 1 คะแนน 2. GSA/พื้นที่หลังคาทั้งหมด (ไมนับพื้นที่งานระบบและชองแสงธรรมชาติ) >0.8 ได 2 คะแนน ก ก ปลูกพืชพรรณบนหลังคาหรือผนังภายนอกอาคาร ซึ่งอาจทําเปน ซุมไมเลื้อย ไมกระถางกึ่งถาวร และสวนแนวตั้ง เปนตน ทั้ง นี้ ควรหลี กเลี่ ยงการทํา แปลงตนไมหรือ ปลูก หญาชนิดที่ ตองมี การบํารุง รักษามากที่ทํา ใหเกิ ดการ สิ้นเปลือง และอาจตองใชสารเคมีปองกันหรือกําจัดศัตรูพืชที่เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมดวย ควรพิจาณาการทํา คะแนนรวมกับ SL 3.1: มีพื้นที่เปดโลงเชิงนิเวศ ไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดินของโครงการ สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 23 / 84
  • 25. SL 5 การลดปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากการพัฒนาโครงการ (4 คะแนน) SL 5.2 มีพื้นที่ดาดแข็งที่รับรังสีตรงจากดวงอาทิตย ไมเกินรอยละ 50 ของพื้นที่โครงการ (1 คะแนน) F ลดผลกระทบจากปรากฏการณเกาะความรอนในเมืองจากพื้นที่ดาดแข็ง (การเกิดอุณหภูมิที่แตกตางกันระหวาง พื้นที่พัฒนาและพื้นที่ไมไดรับการพัฒนา) ที่จะสงผลตอสภาพอากาศจุลภาค และที่อาศัยของมนุษยและสัตว ตลอดจนสิ่งมีชีวิตอื่นๆ F ก ใหรมเงาแกพื้นที่ดาดแข็งที่อยูภายนอกอาคารโดยใชพืชพรรณหรือลดผลกระทบจากพื้นที่ดาดแข็งโดยเลือกการ กอสรางและวัสดุที่เหมาะสม โดยประยุกตใชวิธีการดังตอไปนี้กับพื้นที่ดาดแข็งมากกวารอยละ 50 ของโครงการ 1. การใหรมเงาแกพื้นที่ดาดแข็งเพื่อลดรังสีตรงจากดวงอาทิตยดวยตนไมใหญ 2. การใชวัสดุปูพื้นที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง มากกวารอยละ 30 3. การใชหลังคาคลุมที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง มากกวารอยละ 30 4. ใชพืชหรือเซลลแสงอาทิตยเปนหลังคาคลุม 5. การใชบล็อกหญา (พื้นที่ปลูกพืชรอยละ 50 ของพื้นผิวบล็อกหญา) ก ก ลดการมีพื้นที่ดาดแข็งภายนอกโครงการ หากมีควรพยายามใหรมเงาพื้นผิวภายนอกดวยพืชพรรณ ธรรมชาติ รวมทั้งใชวัสดุปูพื้นดาดแข็งกลางแจงที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูงเพื่อลดการดูดซับความรอนจากดวง อาทิตย ควรพิจารณาการใชหลังคาคลุมทางเดินที่มีคาการสะทอนรังสีดวงอาทิตยสูง และควรพิจารณาการทํา คะแนนรวมกับ SL 3: การพัฒนาผังพื้นที่โครงการที่ยั่งยืน และ SL 4: การซึมน้ําและลดปญหาน้ําทวม สงวนลิขสิทธิ์โดยสถาบันอาคารเขียวไทย หนา 24 / 84