SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
วิชา 
Environmental Management Accounting (03760433) 
โดย 
นางสาวธัญญาภรณ์ ยลปราโมทย์ รหัสนิสิต 5430160393 
นายปรีชา ประสิทธิ์ไพศาล รหัสนิสิต 5430160547 
นางสาวปิยวรรณ วิโรจน์แดนไทย รหัสนิสิต 5430160563 
นางสาวเพ็ญพักณ์ มานะชีพ รหัสนิสิต 5430160598 
นางสาว สุธัญญา ธรรมรัตน์ รหัสนิสิต 5430160831 
เสนอ 
อาจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ 
คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบัญชีบริหาร หมู่เรียน 850,860 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา ปีการศึกษา 2557
คานา 
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting 03760433 เป็นการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีสิ่งแวดล้อม กฎหมาย มลภาวะทาง สิ่งแวดล้อม แนวทางการป้องกัน โดยการยกบริษัทตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์ที่มีส่วนทาให้ เกิดมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม เพื่อศึกษาว่าบริษัทได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม หรือ มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่ การศึกษาเกี่ยวกับการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมของบริษัท ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาทุกท่าน หากมีสิ่ง ผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย 
คณะผู้จัดทา
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
1.กฎหมาย 
1.1 ฉบับใดบ้างที่กาหนดให้ผู้ประกอบการ 1 จะต้องดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม 
1.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 1 
1.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ 1 หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
1.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 1 
2.การสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ แม้ไม่มีกฎหมายที่บังคับโดยชัดเจน แต่ผู้ประกอบการมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ต่อมลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 
2.1 ประเด็นสภาพแวดล้อมแบบใดบ้าง 2 
2.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 2 
2.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ 3 ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
2.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 4 
3.จากหลักการจัดการมลพิษ 
3.1 มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 4 
3.2 แนวทางในการจัดการมลพิษ แต่ละด้าน 6 
3.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ 10 ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
3.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 10
เรื่อง หน้า 
4.ตัวอย่างการนาเสนอรายงานขององค์การที่ได้จัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อม และนาเสนอต่อสาธารณะ 
4.1 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิด การดาเนินการ และรายงาน 12 
4.2 ลักษณะและข้อมูลที่นาเสนอ 26 
4.3 วิธีนาเสนอ 26 
4.4 ข้อวิเคราะห์การนาเสนอ 31 
4.5 ข้อพิพาททางกฎหมาย 32 
4.6 การประเมินผลกระทบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 33 
5.จากแนวทางการจัดการรายงานเสนอต่อสาธารณะ เปรียบเทียบกับข้อกาหนดรายงานความยั่งยืนของ กลต. ผ 
5.1 เปรียบเทียบ ประเด็นเหมือน ประเด็นต่าง 39 
5.2 ตัวอย่างรายงาน 42 
5.3 วิเคราะห์ ต่อองค์การ และระบบบัญชีบัญชีสิ่งแวดล้อมขององค์การ 46 
บรรณานุกรม 49
ห น้า | 1 
หัวข้อรายงาน ที่ต้องจัดทาเป็นรูปเล่ม 
จากกฎหมาย หลักจริยธรรมและศีลธรรม ที่จะต้องรับผิดชอบจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ ให้ ท่านระบุ 
1. กฎหมาย 
1.1 ฉบับใดบ้างที่กาหนดให้ผู้ประกอบการจะต้องดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม 
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550 
1.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 
- ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550 ได้กล่าวไว้ว่า 
o เมื่อได้รับการฟ้องร้องจากประชาชนหรือตรวจสอบว่าอุตสาหกรรมในบริเวณ ชุมชนได้ ทาผิดกฎระเบียบ และสร้างมลพิษต่อชุมชนใกล้เคียง หน่วยงานของภาครัฐสามารถ ดาเนินการได้ทันที อาทิ สั่งปิดโรงงาน เพิกถอนใบอนุญาต จนถึงสั่งดาเนินคดีตาม กฎหมาย (หมวด 3 ส่วนที่ 1 ข้อ 11) 
o เมื่อมลพิษแพร่กระจายเข้าสู่เขตกรุงเทพมหานคร ราชการส่วนภูมิภาค หรือ ราชการส่วน ท้องถิ่น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ได้รับมอบหมายอานาจจากนายกรัฐมนตรี ดาเนินการ ติดตามอย่างใกล้ชิด 
o กรณี บริษัทไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ทางราชการกล่าว ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประสานงาน กับสานักงานตารวจแห่งชาติหรือตารวจนครบาลแล้วแต่กรณี ดาเนินคดีกับบุคคลที่ฝ่า ฝืน 
o สืบเสาะหาข้อเท็จจริงว่าสาเหตุที่เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมนั้นเกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด 
o ให้โรงพยาบาล หรือสถานที่พยาบาลตามกฎหมาย รักษาประชาชนในชุมชนที่มี ผลกระทบโดยเร็ว 
1.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
o เกิดปัญหาการฟ้องร้องคดีความเกิดขึ้น เมื่อมีการตรวจสอบ และจะปรากฏในงบ การเงินด้วย ถ้าคดีความมีแนวโน้มว่าจะต้องแพ้คดี อาจจะทาให้เกิดหนี้สินจากการ ฟ้องร้องได้ รวมถึงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับคดีความ อาทิ ค่าจ้างทนายความ ค่าเดินทาง ฯลฯ 
1.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 
o เมื่อมีการฟ้องร้องทางคดีความเกิดขึ้น และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะแพ้คดี จะต้องบันทึกบัญชีดังนี้ 
Dr. ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน
ห น้า | 2 
Cr.ประมาณการหนี้สินจากการฟ้องร้องคดีความ 
และค่าใช้จ่ายเกิดคดีความ อาทิ ค่าทนายความ ค่าเดินทาง ฯลฯ 
Dr. ค่าทนายความ 
Cr.เงินสด/เงินฝาก/หนี้สิน 
2. การสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ แม้ไม่มีกฎหมายที่บังคับโดยชัดเจน แต่ ผู้ประกอบการมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ มลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 
2.1 ประเด็นสภาพแวดล้อมแบบใดบ้าง 
o สภาพแวดล้อมทางเสียง เมื่อบริษัทมีการก่อสร้างที่มีการก่อให้เกิดเสียงดังรบกวน ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียง 
o สภาพแวดล้อมทางอากาศ การก่อสร้างจะทาให้เกิดฝุ่น ละอองฝุ่น ทาให้ชาวบ้านได้รับ อากาศที่ไม่บริสุทธิ์ 
o สภาพแวดล้อมทางขยะและของเสีย ระหว่างทาการก่อสร้างหรือหลังจากการก่อสร้าง เสร็จสิ้นอาจมีขยะหรือสารเคมีที่บริษัทไม่ได้ทาการกาจัดหรือนาไปทิ้ง ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชาวบ้าน 
2.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 
การดาเนินการในการแสดงความรับผิดชอบต่อมลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 
o สภาพแวดล้อมทางเสียง 
-บริษัทจะมีการพูดคุยเพื่อทาความเข้าใจร่วมกันกับชาวบ้านหรือตัวแทนเพื่อแจ้งให้ ทราบถึงข้อตกลงร่วมกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อชาวบ้าน 
-การควบคุมและตรวจสอบการตั้งค่าเครื่องจักรเพื่อไม่ให้มีเสียงดังรบกวน 
-หากบริษัทมีการก่อสร้างที่จะก่อให้เกิดเสียงดังกว่าปกติจะทาการสร้างแนวรั้วเพื่อ ป้องกันเสียงกรณีบริเวณก่อสร้างใกล้กับบริเวณชุมชน 
-กาหนดเวลาตอกเข็มให้ไม่ตรงกับเวลาที่ประชาชนพักผ่อนในช่วงกลางคืน โดยเฉพาะบริเวณก่อสร้างที่อยู่ใกล้ชุมชนและไม่ตรงกับเวลาที่นักเรียนทากิจกรรมการเรียน การสอนในตอนกลางวัน 
o สภาพแวดล้อมทางอากาศ
ห น้า | 3 
-จัดเก็บและทาความสะอาดบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของ ฝุ่นละอองตลอดระยะเวลาก่อสร้างพร้อมทั้งจัดระเบียบการวางวัสดุ/อุปกรณ์ต่างๆ ไว้ในคลัง เก็บเครื่องมือ 
-ใช้น้าฉีดพรมบริเวณที่อาจก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ตัวอย่างเช่น บริเวณที่มีการเปิดหน้าดินหรือขุดเจาะหน้าดิน 
- ต้องใช้ตาข่ายกั้นระหว่างพื้นที่ก่อสร้างที่ติดกับชุมชนใกล้เคียง โดยใช้ตาข่ายที่มี ความหนามากเพียงพอที่จะกรองฝุ่นละอองจากการก่อสร้างให้มีปริมาณในระดับที่ยอมรับได้ 
- มีการดูแลสภาพเครื่องยนต์/เครื่องจักรกลต่างๆ ที่ใช้ในพื้นที่ก่อสร้างเพื่อป้องกัน การปล่อยเขม่า ฝุ่นละออง ตลอดจนให้มีการล้างรถโดยเฉพาะบริเวณด้านล่างและล้อรถ เมื่อ ต้องการเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง 
-งานก่อสร้างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการจราจร บริษัทจะจัดให้มีป้ายสัญญาณ เพื่อความคล่องตัวและความปลอดภัยในการจราจร 
-ตรวจตราดูแลบารุงรักษาเส้นทางจราจรสาธารณะที่ร่วมใช้งานให้อยู่ในสภาพเดิม หรือดีขึ้น รวมทั้งปฏิบัติตามระเบียบขนส่งอย่างเคร่งครัด 
-กาหนดให้รถบรรทุกที่วิ่งในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างใช้ความเร็วไม่เกิน 40 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง 
o สภาพแวดล้อมทางขยะและของเสีย 
-การคัดแยกขยะที่เกิดจากการก่อสร้าง เพื่อให้ทราบว่าขยะใดเป็นขยะที่มีสารพิษ หรือสารเคมีเพื่อนาไปทิ้งหรือกาจัดในบริเวณที่ปลอดภัย 
-การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 
-การนาขยะที่สามารถรีไซเคิลได้กลับมาใช้ในการก่อสร้างเพื่อลดวัสดุเกินความ จาเป็น 
2.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
o มลพิษทางขยะหรือของเสีย จะทาให้ค่าใช้จ่ายในการบาบัดของเสียเพิ่มขึ้น ตลอดจน ปัญหาระยะยาวต่อบริษัท และชุมชน อาทิ สุขภาพของพนักงาน ภาพลักษณ์ของบริษัท ความไว้วางใจจากแหล่งชุมชน และอาจจะทาให้สินทรัพย์บางประเภทของบริษัทเกิด
ห น้า | 4 
ความเสียหายได้ และถ้ามลพิษทางขยะเกิดจากกระบวนการผลิตของบริษัทแล้ว ก็จะทา ให้ต้นทุนของผลิตภัณฑ์สูงขึ้นด้วย 
o มลพิษทางเสียง อาจจะเกิดปัญหาเหมือนของขยะข้างต้น ซึ่งจะทาให้บริษัทจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมเสียงตลอดจนทางานในช่วงเวลาที่เหมาะสม เป็น สาเหตุให้กาลังการผลิตของบริษัทต่าลง สินทรัพย์ก็ต่าลงด้วย และไม่มีเงินหมุนเวียน เพียงพอในการชาระหนี้สินในระยะยาว 
o มลพิษทางอากาศ จะแตกต่างจากข้างต้นเล็กน้อย เนื่องจากทางอากาศจะกระจายเป็น วงกว้าง และกระจายได้อย่างรวดเร็ว และมีรัศมีในการกระจายได้ไกล อาจจะส่งผลต่อ คดีการฟ้องร้อง ซึ่งจะส่งผลต่อผู้ลงทุนในอนาคต ทาให้หุ้นของบริษัท เกิดสภาวะไม่ปกติ ค่า Ratio ต่างๆ ที่นักลงทุนต้องการ หรือ นักลงทุนหน้าใหม่ที่จะเข้ามาลงทุน เกิดความไม่ มั่นใจในบริษัท 
o มลพิษทางกลิ่น เกิดค่าใช้จ่ายในการวิจัย สอบถามชุมชนมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในส่วนที่โดยใช่เหตุถ้าไม่มีการวางแผน ในกระบวนการต่างๆ ตั้งแต่ต้น – ตั้งแต่ต้นหมายถึง ขั้นตอนประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(EIA EHIA) ระหว่างก่อสร้าง จนถึงกระบวนการหลังก่อสร้าง ที่ไม่ได้มีการควบคุมดูแลอย่างต่อเนื่อง 
o มลพิษทางน้า จะเกิดค่าใช้จ่ายในการบาบัดน้าเสียเป็นอย่างมาก และมีกฎข้อบังคับให้มี การแยกค่าใช้จ่ายออกมาอย่างชัดเจน 
2.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 
o หากบริษัทได้ศึกษาเกี่ยวกับกฎหมาย ข้อบังคับ ฯลฯ และพบว่าบริษัทมีส่วนเกี่ยวข้องใน การก่อให้เกิดมลพิษต่างๆ บริษัทจะทาการศึกษาว่าส่งผลกระทบมากหรือน้อยเพียงใด และต้องรับผิดชอบต่อสังคมหรือผู้ได้รับผลกระทบอย่างไร ฝ่ายบัญชีจะทาการพิจารณา ว่าจะบันทึกค่าใช้จ่ายในการรับผิดชอบต่อมลพิษที่เกิดขึ้นจะถือเป็นต้นทุน ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ หนี้สิน ซึ่งหากบริษัทให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมและมีส่วนรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมท้ายที่สุด จะส่งผลดีต่อบริษัทในระยะยาว 
3. จากหลักการจัดการมลพิษ 
3.1 มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 
o มลพิษทางอากาศ 
มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่ มากพอ และเป็นระยะเวลานานพอที่จะทาให้เกิดผลเสียต่อชีวอนามัยของมนุษย์ สัตว์ พืช และวัสดุต่าง ๆ สารดังกล่าวอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ห น้า | 5 
หรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ หรืออาจอยู่ในสถานะของแก๊ส หยดของเหลว หรือ อนุภาคของแข็งก็ได้ สารมลพิษอากาศหลักที่สาคัญคือ ฝุ่นละออง ตะกั่ว (Pb) แก๊ส คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และแก๊สโอโซน (O3) ระบบภาวะมลพิษอากาศ (air pollution system) ประกอบด้วย 3 ส่วนที่สาคัญ คือ แหล่งกาเนิดสารมลพิษ (emission sources) อากาศหรือบรรยากาศ (atmosphere) และผู้รับผลเสียหรือผลกระทบ (receptor) 
o มลพิษทางน้า 
มลพิษทางน้า หมายถึง สภาวะที่น้าตามธรรมชาติถูกปนเปื้อนด้วยสิ่งแปลกปลอม และทาให้คุณภาพของน้าเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลงหรือคุณภาพเสื่อมโทรมลง ส่งผลให้ การใช้ประโยชน์จากน้านั้นลดลงหรืออาจใช้ประโยชน์ไม่ได้เลย 
o มลพิษทางดิน 
มลพิษทางดิน หมายถึง ดินในธรรมชาติปกติจะยอมให้สารที่เป็นพิษอยู่ได้ในระดับ หนึ่ง โดยไม่ทาให้โครงสร้างทางเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยาของดินเปลี่ยนไป และดินยังสามารถ ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ พืช หรือสัตว์ได้เหมือนเดิม แต่เมื่อปริมาณสารพิษในดินมีเพิ่มมากขึ้น จนทาให้โครงสร้างทางเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยาของดินเปลี่ยนไปจนไม่สามารถให้ประโยชน์ แก่มนุษย์ สัตว์ และพืช ได้ดีเหมือนเดิม ดินในสภาพดังกล่าวจึงเรียกว่า “มลพิษทางดิน” ถ้ามี สารมลพิษในดินมากเกินขีดจากัดอาจมีผลทาให้พืชหยุดการเจริญเติบโต ตาย หรือสารพิษ อาจจะถูกพืชดูดซึมเข้าไป อาจสะสมในห่วงโซ่อาหาร เช่น ในผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ และอาจ เคลื่อนย้ายออกไปตามกระบวนการทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินจึงมีศักยภาพในการ ให้ผลผลิตลดลงซึ่งอาจจัดเป็นมลพิษทางดินเช่นกัน 
o มลพิษทางเสียง 
มลพิษทางเสียง หมายถึง สภาวะที่มีเสียงดังเกินปกติหรือเสียงดังต่อเนื่องยาวนาน จนก่อให้เกิดความราคาญหรือเกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์ และหมายรวมถึง สภาพแวดล้อมที่มีเสียงรบกวนทาให้เกิดความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทาให้ตกใจ หรือบาดหูได้ เช่น เสียงดังมากเสียงต่อเนื่องยาวนานไม่จบสิ้น เป็นต้น 
o มลพิษจากขยะและสิ่งปฏิกูล
ห น้า | 6 
ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้ง ลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบาง ชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้ สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรตสะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิด กระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่ มาก สาหรับในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่ว เนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืช และ ผู้บริโภค นอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจาก ต่างประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็นจานวนมากมาย 
3.2 แนวทางในการจัดการมลพิษ แต่ละด้าน 
o แนวทางในการจัดการมลพิษทางอากาศ คือ 
1) ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกาเนิด โดยการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ เชื้อเพลิง ใช้เครื่องยนต์ที่มีมลพิษน้อย ปรับปรุงกระบวนการผลิต และลดมลพิษจาก ยานพาหนะ 
2) เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทางอากาศจาก ภาคอุตสาหกรรม โดยตรวจสอบการปล่อยมลสารต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมให้อยู่ในระดับ มาตรฐาน และให้มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับสารมลพิษทางอากาศจากโรงงาน 
3) สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร โดยนาวัสดุเหลือใช้จากภาคเกษตรมาใช้ เป็นพลังงานเพื่อลดการเผาวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในที่โล่ง 
4) ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนให้มีการบริหารจัดการแบบครบวงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โล่ง 
5) ป้องกันการเกิดไฟป่า ตรวจติดตามปฏิบัติการดับไฟป่า และฟื้นฟูสภาพหลังเกิด ไฟป่า 
6) ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อลดภาวะมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน
ห น้า | 7 
7) ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีสารประกอบของสารที่ทาให้เกิดภาวะเรือนกระจก เช่น สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เป็นต้น 
8) สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษน้อย และส่งเสริมการใช้ระบบ ขนส่งมวลชน 
9) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจอันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทาง อากาศ และมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ 
10) ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและการใช้บังคับกฎหมาย ด้านการจัดการภาวะมลพิษ 
o แนวทางในการจัดการมลพิษทางน้า คือ 
1) ดาเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้งพื้นที่ลุ่มน้า โดยมีการจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหาและการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากต้นน้าถึง ปากแม่น้า 
2) ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิดประเภทต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการควบคุมน้าทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน 
3) การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิด ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือการ ผลิตที่สะอาดและนาของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 
4) ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้า ได้แก่ กาหนดแหล่งน้าดิบเพื่อควบคุมและ ฟื้นฟู และจัดเขตที่ดินสาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ 
5) กาหนดให้มีการสร้างระบบบาบัดน้าเสียรวมของชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวม น้าเสียเข้าสู่ระบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของน้าเสีย 
6) ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบาบัดโดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมบาบัดน้าเสียจากชุมชน 
7) ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการก่อสร้างระบบบาบัด น้าเสีย 
8) ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยก รรมนาน้าเสียเข้าสู่ระบบบาบัดน้าเสียรวมก่อนปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้า
ห น้า | 8 
9) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 
10) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้และเกิดจิตสานึกเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้าอย่างต่อเนื่อง 
o แนวทางในการจัดการมลพิษทางดิน คือ 
1) การใช้ที่ดินในการเกษตรกรรม ควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีและควรบารุงรักษา ดินด้วยวิธีการทางธรรมชาติ เช่น การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน หรือปลูกพืช หลายชนิดสลับกัน การปลูกพืชในแนวระดับตามไหล่เขาจะช่วยรักษาการชะล้างพังทลายของ ดินและคุณสมบัติของดินได้ 
2) ไม่ควรตัดไม้ทาลายป่าเพื่อทาไร่เลื่อนลอย ซึ่งจะมีผลทาให้เกิดความเสียหายกับ ดินได้ 
3) การใช้ยากาจัดศัตรูพืชและสัตว์เพื่อลดและทาลายศัตรูของพืชและสัตว์ในพื้นที่ ทาการเกษตรนั้นไม่สามารถป้องกันและกาจัดได้อย่างถาวรตลอดไป แต่เป็นการป้องกัน เพียงชั่วคราวเท่านั้น ดังนั้นการใช้ยากาจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธี ควรใช้ในเวลาและสถานที่ที่ เหมาะสม จึงจาเป็นต้องคานึงถึงผลกระทบจากการใช้อย่างยิ่ง เพราะสารเคมีเหล่านี้มีความ เป็นพิษสูง สามารถคงตัวอยู่ในดิน และสามารถสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อของพืชได้ และจะส่งผล กระทบต่อเนื่องไปยังระบบห่วงโซ่อาหาร ดังนั้นการลดปริมาณการใช้และหันมาใช้สารสกัด จากธรรมชาติหรือวิธีทางธรรมชาติเพื่อกาจัดศัตรูพืชและสัตว์จะช่วยลดภาวะมลพิษทางดิน ได้ 
4) ขยะมูลฝอยจากชุมชนเป็นสาเหตุหนึ่งที่มีผลทาให้เกิดมลพิษทางดิน จึงควรใช้วิธี กาจัดอย่างถูกต้อง โดยควรมีการแยกประเภทขยะเพื่อง่ายต่อการเก็บและนาไปกาจัดให้ถูก วิธี จัดที่ทิ้งขยะไว้ตามสถานที่ต่างๆ อย่างเพียงพอ ขยะที่เป็นสารอินทรีย์ควรหาทาง เปลี่ยนแปลงให้นามาใช้ประโยชน์ เช่น ทาปุ๋ยหมักซึ่งแต่ละบ้านสามารถทาได้ นอกจากนี้ยังมี การนาเอาขยะมูลฝอยไปถมที่ลุ่ม ถ้าดาเนินการโดยถูกวิธีแล้วก็จะเป็นผลดี เพราะนอกจาก การถมที่โดยตรงแล้ว ขยะมูลฝอยบางประเภทยังทาให้ดินดีขึ้นด้วย ส่วนขยะอันตรายจาก โรงงานอุตสาหกรรมควรกาจัดให้ถูกหลักวิชาการ 
o แนวทางในการจัดการมลพิษทางเสียง คือ 
1) การควบคุมเสียงที่แหล่งกาเนิด
ห น้า | 9 
การควบคุมเสียงที่แหล่งกาเนิดเป็นการป้องกันไม่ให้เสียงที่ออกมาดังเกินขนาด เช่น ควบคุมเสียงจากยานพาหนะ โดยการตรวจจับรถยนต์ที่ก่อให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐาน ออก กฎหมายและควบคุมอย่างเข้มงวดเกี่ยวกับการปรับแต่งเครื่องยนต์หรือท่อไอเสียที่ทาให้เกิด เสียงดังเกินขนาด หรืออาจมีการติดตั้งเครื่องลดเสียงที่มีประสิทธิภาพที่ยานพาหนะแต่ละ ชนิด และไม่ใช้แตรโดยไม่จาเป็น โดยเฉพาะในเขตที่พักอาศัย โรงพยาบาล และโรงเรียน สาหรับในโรงงานอุตสาหกรรม ควรใช้เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดเสียงดัง หรือ ออกกฎหมายควบคุมแหล่งกาเนิดเสียงทุกแห่งให้มีเสียงดังไม่เกินขีดจากัด 
2) การป้องกันโดยการปิดกั้นหรือหลีกเลี่ยงเสียงที่เกิดขึ้น 
2.1) การไม่เข้าไปในสถานที่มีเสียงดัง เช่น ดิสโก้เธค ไนต์คลับ หรือถ้าไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ก็ควรอยู่ในสถานที่นั้นในช่วงระยะเวลาไม่นานเกินไป 
2.2) ปิดกั้นเสียงที่ดังเกินไป เช่น การสร้างผนังเก็บเสียงในโรงงาน การปลูกต้นไม้ เป็นแนวกว้างล้อมรอบเพื่อป้องกันเสียงดัง หรือการทาผนังปูนปิดกั้นริมทางด่วน เพื่อป้องกัน เสียงที่เกิดจากรถยนต์รบกวนที่อยู่อาศัยริมทางด่วน 
2.3) ป้องกันตนเองจากเสียง การทางานในสถานที่ที่มีเสียงดังมากๆ เป็นระยะเวลา นาน ควรมีอุปกรณ์ที่สามารถป้องกันอันตรายจากเสียงอย่างมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์ป้องกัน เสียงที่นิยมใช้กัน ได้แก่ เครื่องอุดหู (ear plugs) เป็นพลาสติกอ่อน ใช้ใส่เข้าไปในช่องหูเพื่ออุดหู ใช้ป้องกันเสียงที่มีความถี่ต่าได้ดี เครื่องครอบหู (ear muffs) มีลักษณะเป็นนวมสวมครอบหูทั้ง 2 ข้าง ใช้ป้องกันเสียงที่มีความถี่สูงได้ดี สาหรับการอุดหูด้วยสาลีที่สามารถป้องกันเสียงดังได้ ต้องเป็นสาลีที่ชุบขี้ผึ้งเท่านั้น หรืออาจใช้เครื่องอุดหูพร้อมกับใช้เครื่องครอบหูในเวลาเดียวกัน ก็จะสามารถป้องกันเสียงได้ดีขึ้น 
2.4) ปลูกอาคารบ้านเรือนให้ไกลจากแหล่งกาเนิดเสียง ถ้าจาเป็นต้องอยู่ใกล้บริเวณ นั้นจะต้องใช้วัสดุกันเสียงในการปลูกบ้านและปลูกต้นไม้รอบบริเวณที่พักอาศัยหรือที่ทางาน เพื่อป้องกันเสียงรบกวน 
2.5) รัฐบาลต้องวางผังเมือง โดยแบ่งเป็นเขตที่อยู่อาศัย เขตอุตสาหกรรม และเขต เกษตรกรรม ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายเกี่ยวกับการสร้างอาคารอยู่บ้าง แต่เจ้าหน้าที่ก็ยังไม่ เข้มงวดเท่าที่ควร 
2.6) ผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีเสียงดัง ควรมีการตรวจการได้ยินก่อนเข้าปฏิบัติงาน ครั้งแรก และควรตรวจวัดการได้ยินเป็นระยะๆ อาจตรวจวัดทุก 1 ปี เพื่อป้องกันอันตรายจาก เสียง
ห น้า | 10 
2.7) ถ้าไม่อาจจะลดระดับเสียงลงได้ และไม่มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง ควรจัด ระยะเวลาทางานให้เหมาะสมตามมาตรฐานที่ไม่ทาให้เกิดอันตรายจากเสียง เช่น พนักงานที่ ปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีเสียงดังอาจใช้วิธีเปลี่ยนหน้าที่กัน เป็นต้น 
3) ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 
4) สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง 
5) สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกาเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน 
o แนวทางในการจัดการมลพิษจากขยะและสิ่งปฏิกูล คือ 
1) หลีกเลี่ยงการใช้โฟมหรือพลาสติก 
2) ซ่อมแซมแก้ไขเครื่องใช้ที่ชารุดให้นากลับมาใช้ใหม่แทนการทิ้งเป็นขยะ 
3) ควรนาวัสดุที่ใช้แล้ว เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก มาแปรรูปกลับมาใช้ได้ใหม่ 
4) นาของที่ใช้แล้วบางชนิดมาดัดแปลงใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ 
5) ควรแยกขยะตามประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขวดพลาสติก ฯลฯ 
3.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 
เมื่อบริษัทต้องรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมมลภาวะต้องทาการประชุมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาข้อสรุปว่า ในการแก้ปัญหามลภาวะที่เกิดขึ้นจะเป็นการแก้ปัญหามลภาวะระยะยาวหรือเป็นการแก้ปัญหามลภาวะระยะสั้น การ ลงทุนต้องใช้เงินทุนมากน้อยเพียงใด หากเป็นการลงทุนเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ใช้เงินทุนจานวนมากและสามารถ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในระยะยาว บริษัทควรรับรู้เป็นสินทรัพย์เพื่อให้การรักษาสภาพแวดล้อมไม่ส่งผลกระทบต่อ กาไร หรือฐานะทางการเงินของบริษัท หากเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย หรือเกิดจากการผิดพลาดเป็นครั้งคราว บริษัทควรรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตามบริษัทควรมีการพิจารณาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 
3.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 
ในการดาเนินการทางบัญชี ตัวอย่างเช่น เมื่อบริษัทได้ทาการลงทุนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม อาทิ การติดตั้งเครื่อง บาบัดน้าเสีย ซึ่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญและเงินลงทุนค่อยข้างสูง บริษัทอาจทาการรับรู้เป็นสินทรัพย์และทาการตัดเป็น ค่าใช้จ่ายในแต่ละปี ซึ่งค่าใช้จ่ายส่วนนี้บริษัทสามารถจัดประเภทเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ ซึ่งสามารถบันทึก บัญชีได้ดังนี้ 
ตอนรับรู้เป็นสินทรัพย์ ตอนตัดเป็นค่าใช้จ่าย 
6) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และ ร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง
ห น้า | 11 
Dr.เครื่องบาบัดน้าเสีย Dr.ค่าเสื่อมราคา-เครื่องบาบัดน้าเสีย 
Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก Cr.ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องบาบัดน้าเสีย 
หากเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็นประจาทุกๆงวดหรือครั้งคราวบริษัทจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ เลยซึ่งสามารถบันทึกบัญชีได้ดังนี้ 
ตอนรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย 
Dr.ค่าไฟฟ้า-เครื่องบาบัดน้าเสีย Dr.ค่าใช้จ่ายในการบาบัดดิน 
Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก
ห น้า | 12 
4.1 แนะนาองค์กร 
บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) หรือ “ซีเค” ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2515 ด้วยวิสัยทัศน์ที่จะเป็น ผู้นาด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและการพัฒนาการลงทุนโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในประเทศอย่างครบวงจร สิ่ง นี้นับเป็นจุดเด่นของ ช.การช่าง ที่สร้างความแตกต่างโดยมีธุรกิจหลัก 2 ประเภท 
คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทมี การจัดการประชุมเพื่อพิจารณาทบทวนกลยุทธ์เป็นประจาทุก 5 ปี เพื่อพิจารณาทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และกล ยุทธ์ของบริษัทให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด 
วิสัยทัศน์ 
เป็นผู้นาด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและการพัฒนาการลงทุนโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานในระดับภูมิภาคอย่างมี คุณภาพและครบวงจร
ห น้า | 13 
ค่านิยม (Q-C-I-S-T) 
Quality of Services คุณภาพงานมีมาตรฐานสูง 
Customer Satisfaction ความพึงพอใจของลูกค้า 
Integrity ความซื่อสัตย์และมีจรรยาบรรณในอาชีพ 
Social and Environmental Responsibilities ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และประเทศชาติ 
Teamwork การทางานเป็นทีม 
พันธกิจ 
- สร้างผลงานอย่างมีคุณภาพสาหรับลูกค้า มีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ ให้ผลตอบแทนที่ดีสาหรับผู้ถือหุ้น และดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม 
- บริหารงานอย่างมืออาชีพและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 
- มีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ 
- พัฒนาบุคลากรควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ 
กลยุทธ์ 
- เลือกโครงการก่อสร้างที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ โดยที่มีผลตอบแทนทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม 
- บริหารงานโครงการก่อสร้างโดยยึดหลักการบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ ส่งมอบงานตรงเวลา และคุณภาพ งานได้มาตรฐาน 
- สร้างพลังร่วมในธุรกิจก่อสร้าง และการลงทุนในโครงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศ เพื่อบริหารความเสี่ยง และเพิ่มผลตอบแทนระยะยาวต่อผู้ถือหุ้น 
- ขยายตลาดไปสู่ระดับภูมิภาค โดยเน้นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
- พัฒนาศักยภาพในด้านทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างการบริหารจัดการขององค์กร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแข่งขัน 
- บริหารและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง รวมถึงองค์ความรู้ให้แข่งขันได้เสมอ
ห น้า | 14 
โครงสร้างองค์กร 
คณะกรรมการบริษัท
ห น้า | 15 
คณะที่ปรึกษา 
ลักษณะการดาเนินธุรกิจ 
ธุรกิจก่อสร้าง 
ช.การช่าง ดาเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างเป็นธุรกิจหลัก โดยจะรับงานก่อสร้าง ทั้งจากหน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน โดยมีทั้งการรับงานในลักษณะที่เป็นผู้รับเหมาโดยตรงและผู้รับเหมาช่วง 
1. ผู้รับเหมาโดยตรง (Main Contractor) 
ช.การช่าง จะรับงานก่อสร้าง ด้วยวิธีการประกวดราคาและเจรจาต่อรองเป็นผู้รับเหมาจากเจ้าของโครงการ โดยตรง ซึ่งสามารถเสนองานในนามของบริษัท และเสนองานร่วมกับบริษัทต่างชาติที่มีความชานาญตามข้อกาหนดของ เจ้าของโครงการ ในกรณีเป็นงานโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องมีบริษัทผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้าร่วมมือด้วย 
2. ผู้รับเหมาช่วง (Sub-contractor) 
ช.การช่าง จะรับงานโดยการรับจ้างจากผู้รับเหมาอื่นที่ได้รับงานโดยตรง (Main Contractor) จากเจ้าของ โครงการ โดยส่วนใหญ่จะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่และมีความสลับซับซ้อน ซึ่ง มักจะดาเนินงานโดยบริษัทต่างประเทศ โดยจะพิจารณารับเหมาช่วงเฉพาะจากบริษัทที่มีชื่อเสียงและฐานะการเงินมั่นคง ทาให้ ช.การช่าง มีโอกาสได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในด้านวิศวกรรม กระบวนการผลิตต่างๆ และการบริหารงาน ตลอดจนได้พันธมิตรทางการค้าที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะดาเนินงานโครงการที่มีขนาดใหญ่ และต้องการเทคโนโลยีชั้นสูง ยิ่งขึ้น ต่อไปในอนาคตได้
ห น้า | 16 
ธุรกิจสัมปทาน 
ช.การช่าง จะเข้าร่วมประมูลโครงการเพื่อดาเนินงานในลักษณะของสัมปทานจากหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งจะเป็น โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศ โดยรูปแบบการดาเนินการจะเป็นในลักษณะดังนี้ 
1. BOT (Build Operate and Transfer) 
เอกชนได้รับสิทธิตามสัญญาสัมปทานจากรัฐบาลในการลงทุนก่อสร้างและดาเนินงาน เพื่อหาผลตอบแทน ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ซึ่งในระหว่างการดาเนินงานดังกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์นั้นจะเป็นของภาคเอกชน แต่หลังจาก การสิ้นสุดอายุสัมปทาน กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ลงทุนจะถูกโอนให้แก่รัฐบาลเพื่อเป็นการตอบแทน เช่น บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชียเอนเนอร์จี จากัด มีอายุสัมปทาน 25 ปี และบริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด มีอายุสัมปทาน 29 ปี 
2. BTO (Build Transfer and Operate) 
เอกชนออกแบบ ลงทุน และก่อสร้างสินทรัพย์ แล้วโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ให้แก่รัฐบาลทันทีหลังจากการ ก่อสร้าง แล้วเสร็จ โดยเอกชนจะมีสิทธิ์ในการใช้ทรัพย์สินที่ตนเองลงทุนตามสัญญาสัมปทานในการดาเนินงานเพื่อหาผล ตอบ แทนภายในระยะเวลาที่กาหนด โดยในช่วงเวลาที่บริษัทยังมีสิทธิ์ในการใช้สินทรัพย์ดังกล่าวตามระยะเวลาสัญญา สัมปทาน มีการบันทึกสินทรัพย์ในรูปของสิทธิในการใช้และมีการตัดค่าเสื่อมตามอายุสัมปทาน เช่น บริษัท ทางด่วน กรุงเทพ จากัด (มหาชน) มีอายุสัมปทาน 30 ปี 
3. BOO (Build Own and Operate) 
เอกชนสร้างสิ่งก่อสร้างและบริหาร โดยเป็นการลงทุนด้วยตัวเอง โดยเอกชนจะมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ลงทุนแต่ จะมีสัญญากับรัฐบาลในการรับรองรายได้ระยะยาว โดยหน่วยงานรัฐจะเป็นผู้รับซื้อสินค้าตามช่วงเวลาในสัญญา และ เมื่อหมดอายุสัมปทานที่ได้รับสินทรัพย์ดังกล่าวก็จะยังคงเป็นของบริษัทผู้ลงทุน เช่น บริษัท ทีทีดับบลิว จากัด (มหาชน) มี อายุสัมปทาน 30 ปี 
4. AOT (Acquire Operate and Transfer) 
สัมปทานในลักษณะนี้ เอกชนจะได้รับสิทธิ์สัมปทานจากรัฐบาล โดยภาคเอกชนจะมีการซื้อทรัพย์สินเข้ามาเป็น ของบริษัท เช่น รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล แล้วเอกชนจะมีการดาเนินงานเพื่อหาผลตอบแทนในระยะเวลาที่ได้ ตกลงไว้กับภาครัฐบาล หลังจากที่หมดสัญญาสัมปทานที่ได้ตกลงกันไว้ กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่เอกชนลงทุนจะถูกโอน ให้แก่รัฐบาล เช่น บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) มีอายุสัมปทาน 25 ปี
ห น้า | 17 
มาตรฐานการดาเนินงาน และรางวัล 
การดาเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Operations that are environmentally friendly) 
ในฐานะผู้รับเหมาก่อสร้างชั้นนา และในฐานะผู้ลงทุนในโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศอย่าง ครบวงจร ช.การช่าง มุ่งมั่นในการดาเนินงานที่มีความรับผิดชอบและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการบริหารงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การดาเนินงานที่เรียกว่า “GREEN CONSTRUCTION” หรือ การก่อสร้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างของ ช.การช่าง 
- ปี 2543 รางวัลดีเด่นในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีลุมพินี กิจการร่วมค้า BCKT 
- ปี 2543 รางวัลชมเชยในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีสุขุมวิท กิจการร่วมค้า BCKT 
- ปี 2544 รางวัลดีเด่นในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีสามย่าน กิจการร่วมค้า BCKT
ห น้า | 18 
- ปี 2546 บรรลุเป้าหมายด้านความปลอดภัยในงานก่อสร้างสูงสุด โดยมีชั่วโมงการทางาน 5,000,000 ชั่วโมง โดย ไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน ในโครงการประปานครปฐม – สมุทรสาคร กิจการร่วมค้า TWCK 
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (Corporate Rating) 
- อันดับเครดิตองค์กร "BBB+" บริษัท ทริสเรทติ้ง จัดอันดับองค์กรของ บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ที่ ระดับ "BBB+" สะท้อนถึงความเป็นผู้นาในธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในประเทศไทย ผลงานโครงการก่อสร้างภาครัฐ ที่เป็นที่ยอมรับ และรายได้ที่สม่าเสมอจากการลงทุนในกิจการสัมปทาน 
- แนวโน้มอันดับเครดิต แนวโน้มอันดับเครดิต "Positive" หรือ "บวก" ซึ่งสะท้อนถึงสัดส่วนภาระหนี้และ ความยืดหยุ่นทางการเงินของบริษัทที่ปรับตัวดีขึ้น หลังการปรับโครงสร้างทางธุรกิจอันมีผลทาให้บริษัทสามารถ รับรู้มูลค่าตลาดของหุ้นของ บมจ.น้าประปาไทย (TTW) ตลอดจนช่วยเสริมสภาพคล่องให้แก่หุ้นที่บริษัทถืออยู่ใน บมจ.ซีเค พาวเวอร์ (CKP) และหมดความกังวลเรื่องการให้ความช่วยเหลือทางการเงินอย่างต่อเนื่องแก่ บมจ. รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด(BMCL) 
ระบบบริหารงานคุณภาพ (Quality Management System) 
จากการบริหารงานโดยยึดนโยบายระบบคุณภาพและพัฒนางานตามมาตรฐานสากล ทาให้บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001 : 2008 ในธุรกิจออกแบบก่อสร้างและบริหารงานก่อสร้างด้าน ถนน อาคาร สะพาน ภูมิสถาปัตย์ โครงสร้างใต้ดินและอุโมงค์ ทางพิเศษ ระบบบาบัดน้าเสีย โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ร่วม เขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้า สถานีไฟฟ้าย่อยและสายส่งกระแสไฟฟ้าแรงสูง การระเบิดหินและโรงโม่หิน การก่อสร้างงาน ท่อ ท่อน้ามันรวมทั้งคลังน้ามันเชื้อเพลิง การบินและระบบความคุม จากบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จากัด ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2557 ถึง วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 และบริษัทยังคงยึดแนวทางการบริหารจัดการตามนโยบายคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอเพื่อรักษามาตรฐานระดับสูงนี้ไว้สืบไป 
รางวัลเขื่อนดีเด่นโลก (International Milestone Concrete Dam Project) 
โครงการเขื่อนน้างึม 2 ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ได้ก่อสร้าง แล้วเสร็จเมื่อปี 2554 ได้รับรางวัล International Milestone Rockfill Dam Project หรือเขื่อนดีเด่นโลก ประเภทเขื่อนหิน ถมดาดคอนกรีต (Concrete Face Rockfill Dam - CFRD) ณ เมืองคุณหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งถือเป็นโครงการที่ ได้รับการคัดเลือกตามจากการใช้นวัตกรรม ทั้งในการก่อสร้างและการดาเนินงานที่ดีรวมทั้งบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมได้ อย่างดีเลิศ
ห น้า | 19 
นโยบายด้านความปลอดภัย การดาเนินการเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็นปัจจัยของการบริหารงาน ก่อสร้าง ที่ต้องทาควบคู่กับผลงานคุณภาพ บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ถือเป็นนโยบายที่ต้องการให้เป็นมาตรฐาน สูงสุด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและควบคุมการสูญเสียจากอุบัติเหตุให้มีประสิทธิภาพโดย 
1. มีความรับผิดชอบเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 
2. ให้พนักงานและผู้เกี่ยวข้องของโครงการถือว่าความปลอดภัยเป็นหน้าที่ของทุกคน 
3. ทุกกิจกรรมมีเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอยู่ในแผนงาน 
4. มีการประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน 
5. ส่งเสริมเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยมีการฝึกอบรมให้ความรู้ที่เหมาะสม 
6. มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 
บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ตั้งใจที่จะดาเนินการตามนโยบายที่กาหนดไว้ โดยตั้งมั่นจะมีการปฏิบัติงานให้ เกิดความปลอดภัย ภายใต้กฎหมายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย ซึ่งได้มีการบรรจุ รายละเอียดไว้ในแผนการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยด้วย 
พนักงานทุกคนตระหนักถึงการเอาใจใส่เรื่องดูแลรักษาสุขภาพและความปลอดภัยของตนและผู้เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงาน นอกจากนั้น บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ยังส่งเสริมให้ผู้บริหารมีความสนใจในเรื่องความปลอดภัย และชีวอนามัยด้วย 
แนวคิด การดาเนินการ 
การดาเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 
จากความห่วงใยต่อผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทาให้หลายองค์กรมีการกาหนดนโยบายและ มาตรการต่างๆ เพื่อใช้ในการควบคุมการดาเนินงาน ด้วยความตระหนักถึงการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ช.การ ช่าง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาองค์กรให้ก้าวหน้าและมีความยั่งยืนในฐานะผู้รับเหมาก่อสร้างชั้นนา และในฐานะผู้ ลงทุนในโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศอย่างครบวงจร ช.การช่าง มุ่งมั่น ในการดาเนิน งานที่มีความ รับผิดชอบและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องด้วยหนึ่งในธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณรอบพื้นที่ก่อสร้าง ทั้งในเรื่องของ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง การคมนาคม และ การจัดการขยะมูลฝอย ภายใต้การดาเนินงานที่เรียกว่า “Green Construction” หรือ การก่อสร้างที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างทุกโครงการของ ช.การช่าง
ห น้า | 20 
มีการจัดการวัสดุหลักที่ใช้ในการก่อสร้าง โดยตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง มีคุณค่าแต่ในขณะเดียวกันยังคงรักษามาตรฐานและคุณภาพในการก่อสร้างให้สูงที่สุด 
1. วัสดุหลักที่ใช้ในการก่อสร้างและปริมาณการใช้ ช.การช่าง ได้ทาการจัดเก็บข้อมูลวัสดุหลักที่ใช้ในการ ดาเนินงานของบริษัท อาทิ เหล็ก ปูน และน้ามัน เพื่อตรวจสอบถึงปริมาณการใช้งานและประเมินถึงความต้องการในปีต่อ ๆไป ซึ่ง ช.การช่าง จะพยายามคัดเลือกวัสดุหลักที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดด้วยตระหนักถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่าและกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษามาตรฐานและคุณภาพใน การก่อสร้างให้สูงที่สุดเช่นกัน 
2. วัสดุหลักที่ใช้ในอาคารสานักงานและปริมาณการใช้สาหรับสานักงานใหญ่ วัสดุที่สาคัญในการดาเนินงาน คือ กระดาษซึ่งใน ปี 2556 ช.การช่าง มีการสั่งซื้อกระดาษ A4 เป็นน้าหนักรวม12.9 ตัน ดังนั้น จึงมีนโยบายในการใช้กระดาษ ให้ครบทั้งสองหน้าหรือการนากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) และได้เข้าร่วมโครงการ Shred2Share กับ บริษัท อินโฟเซฟ จากัด ในเครือ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG มาตั้งแต่ในปี 2552 บริษัท อินโฟเซฟ มีกระบวนการในการนา เอกสารที่ไม่ใช้แล้วมาย่อยทาลายตามมาตรฐานสากล แล้วนาไปรีไซเคิล เพื่อนาไปผลิตเป็นกล่องกระดาษ โดยทุกๆ 1 ตัน ของปริมาณกระดาษที่เก็บได้ อินโฟเซฟ จะสมทบทุนจานวน 2,000 บาท เพื่อนาไปเป็นทุนการศึกษา และจัดซื้ออุปกรณ์ การเรียน อุปกรณ์กีฬา มอบให้กับเด็กนักเรียนในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน 
โครงการประหยัดพลังงานเพื่อลดการใช้พลังงาน และการบริหารการจัดการน้า ทั้งน้าประปา และน้าบาดาล 
ในปัจจุบัน พลังงานเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต ด้วยวิถีชีวิตในปัจจุบันทาให้มีความต้องการใช้พลังงานสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือของทุกคนในการบริหารการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในการ จัดทารายงานในปี 2556 นี้รายงานถึงปริมาณการใช้ไฟฟ้าและปริมาณการใช้น้าของสานักงานใหญ่และศูนย์เครื่องจักรกล โดยมีการดาเนินงานในเรื่องการบริหารจัดการพลังงาน ดังนี้
ห น้า | 21 
1. โครงการประหยัดพลังงานของ ช.การช่าง
ห น้า | 22 
2. ปริมาณการใช้ไฟฟ้า 
การใช้ไฟฟ้าของสานักงานใหญ่ และศูนย์จักรกล ระหว่างเดือน มกราคม - ธันวาคม2556 
หน่วย: กิโลจูล 
3.การบริหารจัดการน้า 
- ปริมาณการใช้น้าประปาของสานักงานใหญ่ ระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2556 
หมายเหตุ: เดือน พฤศจิกายน และ เดือน ธันวาคมเป็นค่าประมาณการ
ห น้า | 23 
- ปริมาณการใช้น้าประปาและน้าบาดาลของศูนย์เครื่องจักรกลระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2556หมายเหตุ: ปริมาณ การใช้น้าประปาชองศูนย์จักรกล เริ่มเก็บในปี 2556 เป็นปีแรก 
การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการก่อสร้าง โดยมีมาตรการลดผลกระทบ ด้านฝุ่นละออง เสียง น้าผิวดิน ขยะ และมีการติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง 
ในทุกขั้นตอนของการดาเนินงานโครงการก่อสร้าง ช.การช่างได้ถือปฏิบัติตามบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การก่อสร้างอย่างเคร่งครัด เพื่อควบคุมและบรรเทาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ที่เป็นสาเหตุจากการดาเนินงานก่อสร้าง โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและเทคนิคที่ทันสมัยมีมาตรฐานในระดับสูง พร้อมทั้งการยึดถือปฏิบัติตามระบบบริหารงาน คุณภาพตามระบบมาตรฐานสากล ซึ่งว่าด้วยเรื่องของระบบการบริหารงานที่จะช่วยสร้างความพึงพอใจของลูกค้าต่อ ผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์กร หรือ ISO9001/2008 และข้อกาหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเป็นข้อพึงปฏิบัติที่เป็น มาตรฐานสากล ตลอดจนการกาหนดให้ฝ่ายบริหารโครงการของทุกโครงการ จัดทาระบบการจัดการและแผนการ ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยในการทางาน รวมถึงแผนการดูแลเพื่อลดผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยให้พนักงานทุกระดับได้ผ่านกระบวนการการอบรมความรู้ และมีระบบตรวจสอบคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่อง และ จริงจัง เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยและสร้างความมั่นใจให้กับพนักงาน ประชาชน และชุมชน 
ใกล้เคียง โดยได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ด้วยมาตรการและแผนการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 
1. การบรรเทาผลกระทบและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เป็นสาเหตุจากการดาเนินงาน ก่อสร้าง
ห น้า | 24 
โครงการก่อสร้างของ ช.การช่าง ต้องมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด ทั้งพื้นที่ก่อสร้าง สานักงานโครงการ ที่เก็บ วัสดุก่อสร้าง โดยแต่ละโครงการจะมีระยะเวลาการศึกษาสิ่งแวดล้อมต่างกันขึ้นอยู่กับโครงการ เช่น มีการศึกษาทุกเดือน มี การศึกษาทุกไตรมาส เป็นต้น โดยมีตัวอย่างมาตรการในด้านต่างๆดังต่อไปนี้ 
มาตรการลดผลกระทบด้านฝุ่นละออง 
1) จัดให้มีสิ่งรองรับวัสดุ ซึ่งอาจจะตกหล่นจากการก่อสร้างที่ระดับเหนือพื้นดิน เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของวัสดุ ดังกล่าว 
2) จัดให้มีการล้างล้อรถบรรทุกก่อนออกนอกพื้นที่ก่อสร้าง 
3) กาหนดให้รถบรรทุกต้องมีการคลุมผ้าใบให้มิดชิดก่อนออกนอกพื้นที่ก่อสร้าง 
4) กิจกรรมก่อสร้าง ได้แก่ การเปิดหน้าดิน การรื้อถอนอาคาร การกองวัสดุ การขุดเจาะ และการผสมคอนกรีตจะต้อง กระทาภายในพื้นที่ที่มีรั้วทึบสูงอย่างน้อย 2 เมตร กั้นโดยรอบ 
5) ต้องทาความสะอาดเศษดิน ทราย ที่ตกหล่นอยู่ภายนอกรั้ว และฉีดล้างถนนที่อยู่ใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างโดยสม่าเสมอ 
6) สาหรับพื้นที่ก่อสร้างที่มีการเปิดผิวดิน จะมีการฉีดพรมน้าเป็นประจาเพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่น 
มาตรการลดผลกระทบด้านเสียง 
1) ดาเนินกิจกรรมก่อสร้างที่ก่อให้เกิดเสียงดังในช่วงเวลา 6.00-22.00 น. และหากต้องดาเนินกิจกรรมต่อเนื่องหลังเวลา 22.00 น.จะมีการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนใกล้เคียงทราบล่วงหน้า 
2) กาหนดมาตรการป้องกันผลกระทบด้านเสียง เช่น การติดตั้งกาแพงกันเสียงชั่วคราวรอบพื้นที่ก่อสร้าง 
3) บริเวณที่ทาการเปิดหน้าดิน รื้อถอน ทาลายสิ่งปลูกสร้าง กองวัสดุ อุปกรณ์ขุดเจาะ ผสมคอนกรีต ต้องทารั้วทึบรอบ สถานที่ก่อสร้าง ความสูงจากพื้นดินต้องไม่น้อยกว่า 2.0 เมตรมาตรการลดผลกระทบด้านน้าผิวดิน 
มาตรการลดผลกระทบด้านน้าผิวดิน 
1) ติดตั้งบ่อพักหรือรางดักตะกอน เพื่อลดผลกระทบจากตะกอนแขวนลอย ก่อนที่จะปล่อยออกสู่แหล่งน้า โดยเฉพาะ บริเวณพื้นที่ก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้า 
2) จัดกิจกรรมก่อสร้างหนักในช่วงฤดูแล้ง เช่น การปรับสภาพพื้นที่และการขุดดิน เป็นต้น 
3) จัดให้มีห้องน้า ห้องส้วมบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง และบ้านพักคนงาน พร้อมทั้งได้มีการติดตั้งระบบน้าเสียสาเร็จรูป เพื่อ รองรับน้าทิ้งจากคนงาน
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1

More Related Content

Similar to รูปเล่ม งานEma 1

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่GreenJusticeKlassroom
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยางานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยาSorayatan
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมNattapon
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Naname001
 
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมนักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมประพันธ์ เวารัมย์
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Kruthai Kidsdee
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)Orawan Siripun
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานfreelance
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 

Similar to รูปเล่ม งานEma 1 (20)

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยางานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรมใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
ใบความรู้ที่ 1 คุณธรรมจริยธรรม
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
 
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมนักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
นักบริหารงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
 
โครงการNextGenNLP
โครงการNextGenNLPโครงการNextGenNLP
โครงการNextGenNLP
 
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงานกลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
กลุ่มเมื่อกี้ --การจัดการขยะเพื่อผลิตพลังงาน
 
T6
T6T6
T6
 
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลงกรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 

รูปเล่ม งานEma 1

  • 1. วิชา Environmental Management Accounting (03760433) โดย นางสาวธัญญาภรณ์ ยลปราโมทย์ รหัสนิสิต 5430160393 นายปรีชา ประสิทธิ์ไพศาล รหัสนิสิต 5430160547 นางสาวปิยวรรณ วิโรจน์แดนไทย รหัสนิสิต 5430160563 นางสาวเพ็ญพักณ์ มานะชีพ รหัสนิสิต 5430160598 นางสาว สุธัญญา ธรรมรัตน์ รหัสนิสิต 5430160831 เสนอ อาจารย์ พัชนิจ เนาวพันธ์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาการบัญชีบริหาร หมู่เรียน 850,860 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรีราชา ปีการศึกษา 2557
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting 03760433 เป็นการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีสิ่งแวดล้อม กฎหมาย มลภาวะทาง สิ่งแวดล้อม แนวทางการป้องกัน โดยการยกบริษัทตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์ที่มีส่วนทาให้ เกิดมลภาวะทางสิ่งแวดล้อม เพื่อศึกษาว่าบริษัทได้มีการปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม หรือ มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่ การศึกษาเกี่ยวกับการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมของบริษัท ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาทุกท่าน หากมีสิ่ง ผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า 1.กฎหมาย 1.1 ฉบับใดบ้างที่กาหนดให้ผู้ประกอบการ 1 จะต้องดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม 1.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 1 1.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ 1 หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 1.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 1 2.การสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ แม้ไม่มีกฎหมายที่บังคับโดยชัดเจน แต่ผู้ประกอบการมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ต่อมลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 2.1 ประเด็นสภาพแวดล้อมแบบใดบ้าง 2 2.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร 2 2.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ 3 ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 2.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 4 3.จากหลักการจัดการมลพิษ 3.1 มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 4 3.2 แนวทางในการจัดการมลพิษ แต่ละด้าน 6 3.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ 10 ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร 3.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร 10
  • 4. เรื่อง หน้า 4.ตัวอย่างการนาเสนอรายงานขององค์การที่ได้จัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อม และนาเสนอต่อสาธารณะ 4.1 ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิด การดาเนินการ และรายงาน 12 4.2 ลักษณะและข้อมูลที่นาเสนอ 26 4.3 วิธีนาเสนอ 26 4.4 ข้อวิเคราะห์การนาเสนอ 31 4.5 ข้อพิพาททางกฎหมาย 32 4.6 การประเมินผลกระทบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 33 5.จากแนวทางการจัดการรายงานเสนอต่อสาธารณะ เปรียบเทียบกับข้อกาหนดรายงานความยั่งยืนของ กลต. ผ 5.1 เปรียบเทียบ ประเด็นเหมือน ประเด็นต่าง 39 5.2 ตัวอย่างรายงาน 42 5.3 วิเคราะห์ ต่อองค์การ และระบบบัญชีบัญชีสิ่งแวดล้อมขององค์การ 46 บรรณานุกรม 49
  • 5. ห น้า | 1 หัวข้อรายงาน ที่ต้องจัดทาเป็นรูปเล่ม จากกฎหมาย หลักจริยธรรมและศีลธรรม ที่จะต้องรับผิดชอบจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ ให้ ท่านระบุ 1. กฎหมาย 1.1 ฉบับใดบ้างที่กาหนดให้ผู้ประกอบการจะต้องดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550 1.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2550 ได้กล่าวไว้ว่า o เมื่อได้รับการฟ้องร้องจากประชาชนหรือตรวจสอบว่าอุตสาหกรรมในบริเวณ ชุมชนได้ ทาผิดกฎระเบียบ และสร้างมลพิษต่อชุมชนใกล้เคียง หน่วยงานของภาครัฐสามารถ ดาเนินการได้ทันที อาทิ สั่งปิดโรงงาน เพิกถอนใบอนุญาต จนถึงสั่งดาเนินคดีตาม กฎหมาย (หมวด 3 ส่วนที่ 1 ข้อ 11) o เมื่อมลพิษแพร่กระจายเข้าสู่เขตกรุงเทพมหานคร ราชการส่วนภูมิภาค หรือ ราชการส่วน ท้องถิ่น ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ได้รับมอบหมายอานาจจากนายกรัฐมนตรี ดาเนินการ ติดตามอย่างใกล้ชิด o กรณี บริษัทไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ทางราชการกล่าว ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดประสานงาน กับสานักงานตารวจแห่งชาติหรือตารวจนครบาลแล้วแต่กรณี ดาเนินคดีกับบุคคลที่ฝ่า ฝืน o สืบเสาะหาข้อเท็จจริงว่าสาเหตุที่เกิดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมนั้นเกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด o ให้โรงพยาบาล หรือสถานที่พยาบาลตามกฎหมาย รักษาประชาชนในชุมชนที่มี ผลกระทบโดยเร็ว 1.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร o เกิดปัญหาการฟ้องร้องคดีความเกิดขึ้น เมื่อมีการตรวจสอบ และจะปรากฏในงบ การเงินด้วย ถ้าคดีความมีแนวโน้มว่าจะต้องแพ้คดี อาจจะทาให้เกิดหนี้สินจากการ ฟ้องร้องได้ รวมถึงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับคดีความ อาทิ ค่าจ้างทนายความ ค่าเดินทาง ฯลฯ 1.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร o เมื่อมีการฟ้องร้องทางคดีความเกิดขึ้น และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะแพ้คดี จะต้องบันทึกบัญชีดังนี้ Dr. ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน
  • 6. ห น้า | 2 Cr.ประมาณการหนี้สินจากการฟ้องร้องคดีความ และค่าใช้จ่ายเกิดคดีความ อาทิ ค่าทนายความ ค่าเดินทาง ฯลฯ Dr. ค่าทนายความ Cr.เงินสด/เงินฝาก/หนี้สิน 2. การสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ แม้ไม่มีกฎหมายที่บังคับโดยชัดเจน แต่ ผู้ประกอบการมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อ มลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น 2.1 ประเด็นสภาพแวดล้อมแบบใดบ้าง o สภาพแวดล้อมทางเสียง เมื่อบริษัทมีการก่อสร้างที่มีการก่อให้เกิดเสียงดังรบกวน ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียง o สภาพแวดล้อมทางอากาศ การก่อสร้างจะทาให้เกิดฝุ่น ละอองฝุ่น ทาให้ชาวบ้านได้รับ อากาศที่ไม่บริสุทธิ์ o สภาพแวดล้อมทางขยะและของเสีย ระหว่างทาการก่อสร้างหรือหลังจากการก่อสร้าง เสร็จสิ้นอาจมีขยะหรือสารเคมีที่บริษัทไม่ได้ทาการกาจัดหรือนาไปทิ้ง ซึ่งก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชาวบ้าน 2.2 การดาเนินการจะต้องทาอย่างไร การดาเนินการในการแสดงความรับผิดชอบต่อมลพิษหรืออันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น o สภาพแวดล้อมทางเสียง -บริษัทจะมีการพูดคุยเพื่อทาความเข้าใจร่วมกันกับชาวบ้านหรือตัวแทนเพื่อแจ้งให้ ทราบถึงข้อตกลงร่วมกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อชาวบ้าน -การควบคุมและตรวจสอบการตั้งค่าเครื่องจักรเพื่อไม่ให้มีเสียงดังรบกวน -หากบริษัทมีการก่อสร้างที่จะก่อให้เกิดเสียงดังกว่าปกติจะทาการสร้างแนวรั้วเพื่อ ป้องกันเสียงกรณีบริเวณก่อสร้างใกล้กับบริเวณชุมชน -กาหนดเวลาตอกเข็มให้ไม่ตรงกับเวลาที่ประชาชนพักผ่อนในช่วงกลางคืน โดยเฉพาะบริเวณก่อสร้างที่อยู่ใกล้ชุมชนและไม่ตรงกับเวลาที่นักเรียนทากิจกรรมการเรียน การสอนในตอนกลางวัน o สภาพแวดล้อมทางอากาศ
  • 7. ห น้า | 3 -จัดเก็บและทาความสะอาดบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของ ฝุ่นละอองตลอดระยะเวลาก่อสร้างพร้อมทั้งจัดระเบียบการวางวัสดุ/อุปกรณ์ต่างๆ ไว้ในคลัง เก็บเครื่องมือ -ใช้น้าฉีดพรมบริเวณที่อาจก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง ตัวอย่างเช่น บริเวณที่มีการเปิดหน้าดินหรือขุดเจาะหน้าดิน - ต้องใช้ตาข่ายกั้นระหว่างพื้นที่ก่อสร้างที่ติดกับชุมชนใกล้เคียง โดยใช้ตาข่ายที่มี ความหนามากเพียงพอที่จะกรองฝุ่นละอองจากการก่อสร้างให้มีปริมาณในระดับที่ยอมรับได้ - มีการดูแลสภาพเครื่องยนต์/เครื่องจักรกลต่างๆ ที่ใช้ในพื้นที่ก่อสร้างเพื่อป้องกัน การปล่อยเขม่า ฝุ่นละออง ตลอดจนให้มีการล้างรถโดยเฉพาะบริเวณด้านล่างและล้อรถ เมื่อ ต้องการเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่ก่อสร้าง -งานก่อสร้างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการจราจร บริษัทจะจัดให้มีป้ายสัญญาณ เพื่อความคล่องตัวและความปลอดภัยในการจราจร -ตรวจตราดูแลบารุงรักษาเส้นทางจราจรสาธารณะที่ร่วมใช้งานให้อยู่ในสภาพเดิม หรือดีขึ้น รวมทั้งปฏิบัติตามระเบียบขนส่งอย่างเคร่งครัด -กาหนดให้รถบรรทุกที่วิ่งในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างใช้ความเร็วไม่เกิน 40 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง o สภาพแวดล้อมทางขยะและของเสีย -การคัดแยกขยะที่เกิดจากการก่อสร้าง เพื่อให้ทราบว่าขยะใดเป็นขยะที่มีสารพิษ หรือสารเคมีเพื่อนาไปทิ้งหรือกาจัดในบริเวณที่ปลอดภัย -การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม -การนาขยะที่สามารถรีไซเคิลได้กลับมาใช้ในการก่อสร้างเพื่อลดวัสดุเกินความ จาเป็น 2.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร o มลพิษทางขยะหรือของเสีย จะทาให้ค่าใช้จ่ายในการบาบัดของเสียเพิ่มขึ้น ตลอดจน ปัญหาระยะยาวต่อบริษัท และชุมชน อาทิ สุขภาพของพนักงาน ภาพลักษณ์ของบริษัท ความไว้วางใจจากแหล่งชุมชน และอาจจะทาให้สินทรัพย์บางประเภทของบริษัทเกิด
  • 8. ห น้า | 4 ความเสียหายได้ และถ้ามลพิษทางขยะเกิดจากกระบวนการผลิตของบริษัทแล้ว ก็จะทา ให้ต้นทุนของผลิตภัณฑ์สูงขึ้นด้วย o มลพิษทางเสียง อาจจะเกิดปัญหาเหมือนของขยะข้างต้น ซึ่งจะทาให้บริษัทจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมเสียงตลอดจนทางานในช่วงเวลาที่เหมาะสม เป็น สาเหตุให้กาลังการผลิตของบริษัทต่าลง สินทรัพย์ก็ต่าลงด้วย และไม่มีเงินหมุนเวียน เพียงพอในการชาระหนี้สินในระยะยาว o มลพิษทางอากาศ จะแตกต่างจากข้างต้นเล็กน้อย เนื่องจากทางอากาศจะกระจายเป็น วงกว้าง และกระจายได้อย่างรวดเร็ว และมีรัศมีในการกระจายได้ไกล อาจจะส่งผลต่อ คดีการฟ้องร้อง ซึ่งจะส่งผลต่อผู้ลงทุนในอนาคต ทาให้หุ้นของบริษัท เกิดสภาวะไม่ปกติ ค่า Ratio ต่างๆ ที่นักลงทุนต้องการ หรือ นักลงทุนหน้าใหม่ที่จะเข้ามาลงทุน เกิดความไม่ มั่นใจในบริษัท o มลพิษทางกลิ่น เกิดค่าใช้จ่ายในการวิจัย สอบถามชุมชนมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในส่วนที่โดยใช่เหตุถ้าไม่มีการวางแผน ในกระบวนการต่างๆ ตั้งแต่ต้น – ตั้งแต่ต้นหมายถึง ขั้นตอนประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(EIA EHIA) ระหว่างก่อสร้าง จนถึงกระบวนการหลังก่อสร้าง ที่ไม่ได้มีการควบคุมดูแลอย่างต่อเนื่อง o มลพิษทางน้า จะเกิดค่าใช้จ่ายในการบาบัดน้าเสียเป็นอย่างมาก และมีกฎข้อบังคับให้มี การแยกค่าใช้จ่ายออกมาอย่างชัดเจน 2.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร o หากบริษัทได้ศึกษาเกี่ยวกับกฎหมาย ข้อบังคับ ฯลฯ และพบว่าบริษัทมีส่วนเกี่ยวข้องใน การก่อให้เกิดมลพิษต่างๆ บริษัทจะทาการศึกษาว่าส่งผลกระทบมากหรือน้อยเพียงใด และต้องรับผิดชอบต่อสังคมหรือผู้ได้รับผลกระทบอย่างไร ฝ่ายบัญชีจะทาการพิจารณา ว่าจะบันทึกค่าใช้จ่ายในการรับผิดชอบต่อมลพิษที่เกิดขึ้นจะถือเป็นต้นทุน ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ หนี้สิน ซึ่งหากบริษัทให้ความสาคัญกับสิ่งแวดล้อมและมีส่วนรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมท้ายที่สุด จะส่งผลดีต่อบริษัทในระยะยาว 3. จากหลักการจัดการมลพิษ 3.1 มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง o มลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะของอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปริมาณที่ มากพอ และเป็นระยะเวลานานพอที่จะทาให้เกิดผลเสียต่อชีวอนามัยของมนุษย์ สัตว์ พืช และวัสดุต่าง ๆ สารดังกล่าวอาจเป็นธาตุหรือสารประกอบที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
  • 9. ห น้า | 5 หรือเกิดจากการกระทาของมนุษย์ หรืออาจอยู่ในสถานะของแก๊ส หยดของเหลว หรือ อนุภาคของแข็งก็ได้ สารมลพิษอากาศหลักที่สาคัญคือ ฝุ่นละออง ตะกั่ว (Pb) แก๊ส คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และแก๊สโอโซน (O3) ระบบภาวะมลพิษอากาศ (air pollution system) ประกอบด้วย 3 ส่วนที่สาคัญ คือ แหล่งกาเนิดสารมลพิษ (emission sources) อากาศหรือบรรยากาศ (atmosphere) และผู้รับผลเสียหรือผลกระทบ (receptor) o มลพิษทางน้า มลพิษทางน้า หมายถึง สภาวะที่น้าตามธรรมชาติถูกปนเปื้อนด้วยสิ่งแปลกปลอม และทาให้คุณภาพของน้าเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวลงหรือคุณภาพเสื่อมโทรมลง ส่งผลให้ การใช้ประโยชน์จากน้านั้นลดลงหรืออาจใช้ประโยชน์ไม่ได้เลย o มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน หมายถึง ดินในธรรมชาติปกติจะยอมให้สารที่เป็นพิษอยู่ได้ในระดับ หนึ่ง โดยไม่ทาให้โครงสร้างทางเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยาของดินเปลี่ยนไป และดินยังสามารถ ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ พืช หรือสัตว์ได้เหมือนเดิม แต่เมื่อปริมาณสารพิษในดินมีเพิ่มมากขึ้น จนทาให้โครงสร้างทางเคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยาของดินเปลี่ยนไปจนไม่สามารถให้ประโยชน์ แก่มนุษย์ สัตว์ และพืช ได้ดีเหมือนเดิม ดินในสภาพดังกล่าวจึงเรียกว่า “มลพิษทางดิน” ถ้ามี สารมลพิษในดินมากเกินขีดจากัดอาจมีผลทาให้พืชหยุดการเจริญเติบโต ตาย หรือสารพิษ อาจจะถูกพืชดูดซึมเข้าไป อาจสะสมในห่วงโซ่อาหาร เช่น ในผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ และอาจ เคลื่อนย้ายออกไปตามกระบวนการทาให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินจึงมีศักยภาพในการ ให้ผลผลิตลดลงซึ่งอาจจัดเป็นมลพิษทางดินเช่นกัน o มลพิษทางเสียง มลพิษทางเสียง หมายถึง สภาวะที่มีเสียงดังเกินปกติหรือเสียงดังต่อเนื่องยาวนาน จนก่อให้เกิดความราคาญหรือเกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย์ และหมายรวมถึง สภาพแวดล้อมที่มีเสียงรบกวนทาให้เกิดความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทาให้ตกใจ หรือบาดหูได้ เช่น เสียงดังมากเสียงต่อเนื่องยาวนานไม่จบสิ้น เป็นต้น o มลพิษจากขยะและสิ่งปฏิกูล
  • 10. ห น้า | 6 ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้ง ลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบาง ชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้ สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรตสะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิด กระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่ มาก สาหรับในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่ว เนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืช และ ผู้บริโภค นอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจาก ต่างประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็นจานวนมากมาย 3.2 แนวทางในการจัดการมลพิษ แต่ละด้าน o แนวทางในการจัดการมลพิษทางอากาศ คือ 1) ลดสารภาวะมลพิษทางอากาศจากแหล่งกาเนิด โดยการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ เชื้อเพลิง ใช้เครื่องยนต์ที่มีมลพิษน้อย ปรับปรุงกระบวนการผลิต และลดมลพิษจาก ยานพาหนะ 2) เข้มงวดกับมาตรการลดผลกระทบด้านภาวะมลพิษทางอากาศจาก ภาคอุตสาหกรรม โดยตรวจสอบการปล่อยมลสารต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมให้อยู่ในระดับ มาตรฐาน และให้มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับสารมลพิษทางอากาศจากโรงงาน 3) สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการเกษตร โดยนาวัสดุเหลือใช้จากภาคเกษตรมาใช้ เป็นพลังงานเพื่อลดการเผาวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในที่โล่ง 4) ปรับปรุงระบบการกาจัดขยะมูลฝอยชุมชนให้มีการบริหารจัดการแบบครบวงจร ถูกหลักวิชาการ เพื่อลดการเผาขยะในที่โล่ง 5) ป้องกันการเกิดไฟป่า ตรวจติดตามปฏิบัติการดับไฟป่า และฟื้นฟูสภาพหลังเกิด ไฟป่า 6) ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนที่มาจากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อลดภาวะมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน
  • 11. ห น้า | 7 7) ลดการใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ที่มีสารประกอบของสารที่ทาให้เกิดภาวะเรือนกระจก เช่น สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เป็นต้น 8) สนับสนุนให้มีการใช้ระบบการขนส่งที่มีมลพิษน้อย และส่งเสริมการใช้ระบบ ขนส่งมวลชน 9) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจอันตรายที่เกิดจากภาวะมลพิษทาง อากาศ และมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขมิให้เกิดภาวะมลพิษทางอากาศ 10) ปรับปรุงกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติตามและการใช้บังคับกฎหมาย ด้านการจัดการภาวะมลพิษ o แนวทางในการจัดการมลพิษทางน้า คือ 1) ดาเนินการป้องกันและแก้ไขอย่างเป็นระบบทั้งพื้นที่ลุ่มน้า โดยมีการจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหาและการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากต้นน้าถึง ปากแม่น้า 2) ควบคุมภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิดประเภทต่างๆ ได้แก่ ชุมชนและอุตสาหกรรม โดยการควบคุมน้าทิ้งให้เป็นไปตามมาตรฐาน 3) การลดภาวะมลพิษจากแหล่งกาเนิด ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีหรือการ ผลิตที่สะอาดและนาของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 4) ควบคุมการใช้ที่ดินที่ใกล้แหล่งน้า ได้แก่ กาหนดแหล่งน้าดิบเพื่อควบคุมและ ฟื้นฟู และจัดเขตที่ดินสาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมที่ก่อมลพิษ 5) กาหนดให้มีการสร้างระบบบาบัดน้าเสียรวมของชุมชน โดยต้องสามารถรวบรวม น้าเสียเข้าสู่ระบบได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของน้าเสีย 6) ใช้มาตรการให้ผู้ก่อมลพิษต้องเป็นผู้จ่ายค่าบาบัดโดยการส่งเสริมให้มีการจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมบาบัดน้าเสียจากชุมชน 7) ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมและสนับสนุนในการก่อสร้างระบบบาบัด น้าเสีย 8) ปรับปรุงกฎหมายและเข้มงวดกับมาตรการที่ให้ภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยก รรมนาน้าเสียเข้าสู่ระบบบาบัดน้าเสียรวมก่อนปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้า
  • 12. ห น้า | 8 9) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้แทนชุมชน ประชาคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 10) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับความรู้และเกิดจิตสานึกเกี่ยวกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะมลพิษทางน้าอย่างต่อเนื่อง o แนวทางในการจัดการมลพิษทางดิน คือ 1) การใช้ที่ดินในการเกษตรกรรม ควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีและควรบารุงรักษา ดินด้วยวิธีการทางธรรมชาติ เช่น การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน หรือปลูกพืช หลายชนิดสลับกัน การปลูกพืชในแนวระดับตามไหล่เขาจะช่วยรักษาการชะล้างพังทลายของ ดินและคุณสมบัติของดินได้ 2) ไม่ควรตัดไม้ทาลายป่าเพื่อทาไร่เลื่อนลอย ซึ่งจะมีผลทาให้เกิดความเสียหายกับ ดินได้ 3) การใช้ยากาจัดศัตรูพืชและสัตว์เพื่อลดและทาลายศัตรูของพืชและสัตว์ในพื้นที่ ทาการเกษตรนั้นไม่สามารถป้องกันและกาจัดได้อย่างถาวรตลอดไป แต่เป็นการป้องกัน เพียงชั่วคราวเท่านั้น ดังนั้นการใช้ยากาจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธี ควรใช้ในเวลาและสถานที่ที่ เหมาะสม จึงจาเป็นต้องคานึงถึงผลกระทบจากการใช้อย่างยิ่ง เพราะสารเคมีเหล่านี้มีความ เป็นพิษสูง สามารถคงตัวอยู่ในดิน และสามารถสะสมอยู่ในเนื้อเยื่อของพืชได้ และจะส่งผล กระทบต่อเนื่องไปยังระบบห่วงโซ่อาหาร ดังนั้นการลดปริมาณการใช้และหันมาใช้สารสกัด จากธรรมชาติหรือวิธีทางธรรมชาติเพื่อกาจัดศัตรูพืชและสัตว์จะช่วยลดภาวะมลพิษทางดิน ได้ 4) ขยะมูลฝอยจากชุมชนเป็นสาเหตุหนึ่งที่มีผลทาให้เกิดมลพิษทางดิน จึงควรใช้วิธี กาจัดอย่างถูกต้อง โดยควรมีการแยกประเภทขยะเพื่อง่ายต่อการเก็บและนาไปกาจัดให้ถูก วิธี จัดที่ทิ้งขยะไว้ตามสถานที่ต่างๆ อย่างเพียงพอ ขยะที่เป็นสารอินทรีย์ควรหาทาง เปลี่ยนแปลงให้นามาใช้ประโยชน์ เช่น ทาปุ๋ยหมักซึ่งแต่ละบ้านสามารถทาได้ นอกจากนี้ยังมี การนาเอาขยะมูลฝอยไปถมที่ลุ่ม ถ้าดาเนินการโดยถูกวิธีแล้วก็จะเป็นผลดี เพราะนอกจาก การถมที่โดยตรงแล้ว ขยะมูลฝอยบางประเภทยังทาให้ดินดีขึ้นด้วย ส่วนขยะอันตรายจาก โรงงานอุตสาหกรรมควรกาจัดให้ถูกหลักวิชาการ o แนวทางในการจัดการมลพิษทางเสียง คือ 1) การควบคุมเสียงที่แหล่งกาเนิด
  • 13. ห น้า | 9 การควบคุมเสียงที่แหล่งกาเนิดเป็นการป้องกันไม่ให้เสียงที่ออกมาดังเกินขนาด เช่น ควบคุมเสียงจากยานพาหนะ โดยการตรวจจับรถยนต์ที่ก่อให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐาน ออก กฎหมายและควบคุมอย่างเข้มงวดเกี่ยวกับการปรับแต่งเครื่องยนต์หรือท่อไอเสียที่ทาให้เกิด เสียงดังเกินขนาด หรืออาจมีการติดตั้งเครื่องลดเสียงที่มีประสิทธิภาพที่ยานพาหนะแต่ละ ชนิด และไม่ใช้แตรโดยไม่จาเป็น โดยเฉพาะในเขตที่พักอาศัย โรงพยาบาล และโรงเรียน สาหรับในโรงงานอุตสาหกรรม ควรใช้เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดเสียงดัง หรือ ออกกฎหมายควบคุมแหล่งกาเนิดเสียงทุกแห่งให้มีเสียงดังไม่เกินขีดจากัด 2) การป้องกันโดยการปิดกั้นหรือหลีกเลี่ยงเสียงที่เกิดขึ้น 2.1) การไม่เข้าไปในสถานที่มีเสียงดัง เช่น ดิสโก้เธค ไนต์คลับ หรือถ้าไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ก็ควรอยู่ในสถานที่นั้นในช่วงระยะเวลาไม่นานเกินไป 2.2) ปิดกั้นเสียงที่ดังเกินไป เช่น การสร้างผนังเก็บเสียงในโรงงาน การปลูกต้นไม้ เป็นแนวกว้างล้อมรอบเพื่อป้องกันเสียงดัง หรือการทาผนังปูนปิดกั้นริมทางด่วน เพื่อป้องกัน เสียงที่เกิดจากรถยนต์รบกวนที่อยู่อาศัยริมทางด่วน 2.3) ป้องกันตนเองจากเสียง การทางานในสถานที่ที่มีเสียงดังมากๆ เป็นระยะเวลา นาน ควรมีอุปกรณ์ที่สามารถป้องกันอันตรายจากเสียงอย่างมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์ป้องกัน เสียงที่นิยมใช้กัน ได้แก่ เครื่องอุดหู (ear plugs) เป็นพลาสติกอ่อน ใช้ใส่เข้าไปในช่องหูเพื่ออุดหู ใช้ป้องกันเสียงที่มีความถี่ต่าได้ดี เครื่องครอบหู (ear muffs) มีลักษณะเป็นนวมสวมครอบหูทั้ง 2 ข้าง ใช้ป้องกันเสียงที่มีความถี่สูงได้ดี สาหรับการอุดหูด้วยสาลีที่สามารถป้องกันเสียงดังได้ ต้องเป็นสาลีที่ชุบขี้ผึ้งเท่านั้น หรืออาจใช้เครื่องอุดหูพร้อมกับใช้เครื่องครอบหูในเวลาเดียวกัน ก็จะสามารถป้องกันเสียงได้ดีขึ้น 2.4) ปลูกอาคารบ้านเรือนให้ไกลจากแหล่งกาเนิดเสียง ถ้าจาเป็นต้องอยู่ใกล้บริเวณ นั้นจะต้องใช้วัสดุกันเสียงในการปลูกบ้านและปลูกต้นไม้รอบบริเวณที่พักอาศัยหรือที่ทางาน เพื่อป้องกันเสียงรบกวน 2.5) รัฐบาลต้องวางผังเมือง โดยแบ่งเป็นเขตที่อยู่อาศัย เขตอุตสาหกรรม และเขต เกษตรกรรม ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายเกี่ยวกับการสร้างอาคารอยู่บ้าง แต่เจ้าหน้าที่ก็ยังไม่ เข้มงวดเท่าที่ควร 2.6) ผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีเสียงดัง ควรมีการตรวจการได้ยินก่อนเข้าปฏิบัติงาน ครั้งแรก และควรตรวจวัดการได้ยินเป็นระยะๆ อาจตรวจวัดทุก 1 ปี เพื่อป้องกันอันตรายจาก เสียง
  • 14. ห น้า | 10 2.7) ถ้าไม่อาจจะลดระดับเสียงลงได้ และไม่มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง ควรจัด ระยะเวลาทางานให้เหมาะสมตามมาตรฐานที่ไม่ทาให้เกิดอันตรายจากเสียง เช่น พนักงานที่ ปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีเสียงดังอาจใช้วิธีเปลี่ยนหน้าที่กัน เป็นต้น 3) ให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านภาวะมลพิษทางเสียงแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 4) สนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง 5) สร้างเครือข่ายตรวจสอบและเฝ้าระวังแหล่งกาเนิดภาวะมลพิษภายในชุมชน o แนวทางในการจัดการมลพิษจากขยะและสิ่งปฏิกูล คือ 1) หลีกเลี่ยงการใช้โฟมหรือพลาสติก 2) ซ่อมแซมแก้ไขเครื่องใช้ที่ชารุดให้นากลับมาใช้ใหม่แทนการทิ้งเป็นขยะ 3) ควรนาวัสดุที่ใช้แล้ว เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก มาแปรรูปกลับมาใช้ได้ใหม่ 4) นาของที่ใช้แล้วบางชนิดมาดัดแปลงใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ 5) ควรแยกขยะตามประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขวดพลาสติก ฯลฯ 3.3 ส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การอย่างไร เมื่อบริษัทต้องรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมมลภาวะต้องทาการประชุมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อหาข้อสรุปว่า ในการแก้ปัญหามลภาวะที่เกิดขึ้นจะเป็นการแก้ปัญหามลภาวะระยะยาวหรือเป็นการแก้ปัญหามลภาวะระยะสั้น การ ลงทุนต้องใช้เงินทุนมากน้อยเพียงใด หากเป็นการลงทุนเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ใช้เงินทุนจานวนมากและสามารถ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในระยะยาว บริษัทควรรับรู้เป็นสินทรัพย์เพื่อให้การรักษาสภาพแวดล้อมไม่ส่งผลกระทบต่อ กาไร หรือฐานะทางการเงินของบริษัท หากเป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย หรือเกิดจากการผิดพลาดเป็นครั้งคราว บริษัทควรรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตามบริษัทควรมีการพิจารณาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 3.4 การดาเนินการทางบัญชี จะต้องทาอย่างไร ในการดาเนินการทางบัญชี ตัวอย่างเช่น เมื่อบริษัทได้ทาการลงทุนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม อาทิ การติดตั้งเครื่อง บาบัดน้าเสีย ซึ่งต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญและเงินลงทุนค่อยข้างสูง บริษัทอาจทาการรับรู้เป็นสินทรัพย์และทาการตัดเป็น ค่าใช้จ่ายในแต่ละปี ซึ่งค่าใช้จ่ายส่วนนี้บริษัทสามารถจัดประเภทเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ ซึ่งสามารถบันทึก บัญชีได้ดังนี้ ตอนรับรู้เป็นสินทรัพย์ ตอนตัดเป็นค่าใช้จ่าย 6) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงอันตรายจากภาวะมลพิษทางเสียง และ ร่วมมือกันป้องกันมิให้เกิดมลพิษทางเสียง
  • 15. ห น้า | 11 Dr.เครื่องบาบัดน้าเสีย Dr.ค่าเสื่อมราคา-เครื่องบาบัดน้าเสีย Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก Cr.ค่าเสื่อมราคาสะสม-เครื่องบาบัดน้าเสีย หากเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็นประจาทุกๆงวดหรือครั้งคราวบริษัทจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้ เลยซึ่งสามารถบันทึกบัญชีได้ดังนี้ ตอนรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย Dr.ค่าไฟฟ้า-เครื่องบาบัดน้าเสีย Dr.ค่าใช้จ่ายในการบาบัดดิน Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก Cr.เงินสด/เจ้าหนี้/เงินฝาก
  • 16. ห น้า | 12 4.1 แนะนาองค์กร บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) หรือ “ซีเค” ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2515 ด้วยวิสัยทัศน์ที่จะเป็น ผู้นาด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและการพัฒนาการลงทุนโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในประเทศอย่างครบวงจร สิ่ง นี้นับเป็นจุดเด่นของ ช.การช่าง ที่สร้างความแตกต่างโดยมีธุรกิจหลัก 2 ประเภท คณะกรรมการบริษัทฯ มีบทบาท เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทมี การจัดการประชุมเพื่อพิจารณาทบทวนกลยุทธ์เป็นประจาทุก 5 ปี เพื่อพิจารณาทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และกล ยุทธ์ของบริษัทให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด วิสัยทัศน์ เป็นผู้นาด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและการพัฒนาการลงทุนโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานในระดับภูมิภาคอย่างมี คุณภาพและครบวงจร
  • 17. ห น้า | 13 ค่านิยม (Q-C-I-S-T) Quality of Services คุณภาพงานมีมาตรฐานสูง Customer Satisfaction ความพึงพอใจของลูกค้า Integrity ความซื่อสัตย์และมีจรรยาบรรณในอาชีพ Social and Environmental Responsibilities ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และประเทศชาติ Teamwork การทางานเป็นทีม พันธกิจ - สร้างผลงานอย่างมีคุณภาพสาหรับลูกค้า มีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ ให้ผลตอบแทนที่ดีสาหรับผู้ถือหุ้น และดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม - บริหารงานอย่างมืออาชีพและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล - มีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ - พัฒนาบุคลากรควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ กลยุทธ์ - เลือกโครงการก่อสร้างที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ โดยที่มีผลตอบแทนทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม - บริหารงานโครงการก่อสร้างโดยยึดหลักการบริหารต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ ส่งมอบงานตรงเวลา และคุณภาพ งานได้มาตรฐาน - สร้างพลังร่วมในธุรกิจก่อสร้าง และการลงทุนในโครงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศ เพื่อบริหารความเสี่ยง และเพิ่มผลตอบแทนระยะยาวต่อผู้ถือหุ้น - ขยายตลาดไปสู่ระดับภูมิภาค โดยเน้นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - พัฒนาศักยภาพในด้านทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างการบริหารจัดการขององค์กร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแข่งขัน - บริหารและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง รวมถึงองค์ความรู้ให้แข่งขันได้เสมอ
  • 18. ห น้า | 14 โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท
  • 19. ห น้า | 15 คณะที่ปรึกษา ลักษณะการดาเนินธุรกิจ ธุรกิจก่อสร้าง ช.การช่าง ดาเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างเป็นธุรกิจหลัก โดยจะรับงานก่อสร้าง ทั้งจากหน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน โดยมีทั้งการรับงานในลักษณะที่เป็นผู้รับเหมาโดยตรงและผู้รับเหมาช่วง 1. ผู้รับเหมาโดยตรง (Main Contractor) ช.การช่าง จะรับงานก่อสร้าง ด้วยวิธีการประกวดราคาและเจรจาต่อรองเป็นผู้รับเหมาจากเจ้าของโครงการ โดยตรง ซึ่งสามารถเสนองานในนามของบริษัท และเสนองานร่วมกับบริษัทต่างชาติที่มีความชานาญตามข้อกาหนดของ เจ้าของโครงการ ในกรณีเป็นงานโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องมีบริษัทผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้าร่วมมือด้วย 2. ผู้รับเหมาช่วง (Sub-contractor) ช.การช่าง จะรับงานโดยการรับจ้างจากผู้รับเหมาอื่นที่ได้รับงานโดยตรง (Main Contractor) จากเจ้าของ โครงการ โดยส่วนใหญ่จะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่และมีความสลับซับซ้อน ซึ่ง มักจะดาเนินงานโดยบริษัทต่างประเทศ โดยจะพิจารณารับเหมาช่วงเฉพาะจากบริษัทที่มีชื่อเสียงและฐานะการเงินมั่นคง ทาให้ ช.การช่าง มีโอกาสได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในด้านวิศวกรรม กระบวนการผลิตต่างๆ และการบริหารงาน ตลอดจนได้พันธมิตรทางการค้าที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะดาเนินงานโครงการที่มีขนาดใหญ่ และต้องการเทคโนโลยีชั้นสูง ยิ่งขึ้น ต่อไปในอนาคตได้
  • 20. ห น้า | 16 ธุรกิจสัมปทาน ช.การช่าง จะเข้าร่วมประมูลโครงการเพื่อดาเนินงานในลักษณะของสัมปทานจากหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งจะเป็น โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศ โดยรูปแบบการดาเนินการจะเป็นในลักษณะดังนี้ 1. BOT (Build Operate and Transfer) เอกชนได้รับสิทธิตามสัญญาสัมปทานจากรัฐบาลในการลงทุนก่อสร้างและดาเนินงาน เพื่อหาผลตอบแทน ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ซึ่งในระหว่างการดาเนินงานดังกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์นั้นจะเป็นของภาคเอกชน แต่หลังจาก การสิ้นสุดอายุสัมปทาน กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ลงทุนจะถูกโอนให้แก่รัฐบาลเพื่อเป็นการตอบแทน เช่น บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชียเอนเนอร์จี จากัด มีอายุสัมปทาน 25 ปี และบริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร์ จากัด มีอายุสัมปทาน 29 ปี 2. BTO (Build Transfer and Operate) เอกชนออกแบบ ลงทุน และก่อสร้างสินทรัพย์ แล้วโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ให้แก่รัฐบาลทันทีหลังจากการ ก่อสร้าง แล้วเสร็จ โดยเอกชนจะมีสิทธิ์ในการใช้ทรัพย์สินที่ตนเองลงทุนตามสัญญาสัมปทานในการดาเนินงานเพื่อหาผล ตอบ แทนภายในระยะเวลาที่กาหนด โดยในช่วงเวลาที่บริษัทยังมีสิทธิ์ในการใช้สินทรัพย์ดังกล่าวตามระยะเวลาสัญญา สัมปทาน มีการบันทึกสินทรัพย์ในรูปของสิทธิในการใช้และมีการตัดค่าเสื่อมตามอายุสัมปทาน เช่น บริษัท ทางด่วน กรุงเทพ จากัด (มหาชน) มีอายุสัมปทาน 30 ปี 3. BOO (Build Own and Operate) เอกชนสร้างสิ่งก่อสร้างและบริหาร โดยเป็นการลงทุนด้วยตัวเอง โดยเอกชนจะมีกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ลงทุนแต่ จะมีสัญญากับรัฐบาลในการรับรองรายได้ระยะยาว โดยหน่วยงานรัฐจะเป็นผู้รับซื้อสินค้าตามช่วงเวลาในสัญญา และ เมื่อหมดอายุสัมปทานที่ได้รับสินทรัพย์ดังกล่าวก็จะยังคงเป็นของบริษัทผู้ลงทุน เช่น บริษัท ทีทีดับบลิว จากัด (มหาชน) มี อายุสัมปทาน 30 ปี 4. AOT (Acquire Operate and Transfer) สัมปทานในลักษณะนี้ เอกชนจะได้รับสิทธิ์สัมปทานจากรัฐบาล โดยภาคเอกชนจะมีการซื้อทรัพย์สินเข้ามาเป็น ของบริษัท เช่น รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล แล้วเอกชนจะมีการดาเนินงานเพื่อหาผลตอบแทนในระยะเวลาที่ได้ ตกลงไว้กับภาครัฐบาล หลังจากที่หมดสัญญาสัมปทานที่ได้ตกลงกันไว้ กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่เอกชนลงทุนจะถูกโอน ให้แก่รัฐบาล เช่น บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) มีอายุสัมปทาน 25 ปี
  • 21. ห น้า | 17 มาตรฐานการดาเนินงาน และรางวัล การดาเนินงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Operations that are environmentally friendly) ในฐานะผู้รับเหมาก่อสร้างชั้นนา และในฐานะผู้ลงทุนในโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศอย่าง ครบวงจร ช.การช่าง มุ่งมั่นในการดาเนินงานที่มีความรับผิดชอบและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการบริหารงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การดาเนินงานที่เรียกว่า “GREEN CONSTRUCTION” หรือ การก่อสร้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างของ ช.การช่าง - ปี 2543 รางวัลดีเด่นในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีลุมพินี กิจการร่วมค้า BCKT - ปี 2543 รางวัลชมเชยในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีสุขุมวิท กิจการร่วมค้า BCKT - ปี 2544 รางวัลดีเด่นในด้านลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มอบ ให้แก่สถานีสามย่าน กิจการร่วมค้า BCKT
  • 22. ห น้า | 18 - ปี 2546 บรรลุเป้าหมายด้านความปลอดภัยในงานก่อสร้างสูงสุด โดยมีชั่วโมงการทางาน 5,000,000 ชั่วโมง โดย ไม่เกิดอุบัติเหตุถึงขั้นหยุดงาน ในโครงการประปานครปฐม – สมุทรสาคร กิจการร่วมค้า TWCK การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (Corporate Rating) - อันดับเครดิตองค์กร "BBB+" บริษัท ทริสเรทติ้ง จัดอันดับองค์กรของ บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ที่ ระดับ "BBB+" สะท้อนถึงความเป็นผู้นาในธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในประเทศไทย ผลงานโครงการก่อสร้างภาครัฐ ที่เป็นที่ยอมรับ และรายได้ที่สม่าเสมอจากการลงทุนในกิจการสัมปทาน - แนวโน้มอันดับเครดิต แนวโน้มอันดับเครดิต "Positive" หรือ "บวก" ซึ่งสะท้อนถึงสัดส่วนภาระหนี้และ ความยืดหยุ่นทางการเงินของบริษัทที่ปรับตัวดีขึ้น หลังการปรับโครงสร้างทางธุรกิจอันมีผลทาให้บริษัทสามารถ รับรู้มูลค่าตลาดของหุ้นของ บมจ.น้าประปาไทย (TTW) ตลอดจนช่วยเสริมสภาพคล่องให้แก่หุ้นที่บริษัทถืออยู่ใน บมจ.ซีเค พาวเวอร์ (CKP) และหมดความกังวลเรื่องการให้ความช่วยเหลือทางการเงินอย่างต่อเนื่องแก่ บมจ. รถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด(BMCL) ระบบบริหารงานคุณภาพ (Quality Management System) จากการบริหารงานโดยยึดนโยบายระบบคุณภาพและพัฒนางานตามมาตรฐานสากล ทาให้บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001 : 2008 ในธุรกิจออกแบบก่อสร้างและบริหารงานก่อสร้างด้าน ถนน อาคาร สะพาน ภูมิสถาปัตย์ โครงสร้างใต้ดินและอุโมงค์ ทางพิเศษ ระบบบาบัดน้าเสีย โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ร่วม เขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้า สถานีไฟฟ้าย่อยและสายส่งกระแสไฟฟ้าแรงสูง การระเบิดหินและโรงโม่หิน การก่อสร้างงาน ท่อ ท่อน้ามันรวมทั้งคลังน้ามันเชื้อเพลิง การบินและระบบความคุม จากบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จากัด ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2557 ถึง วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 และบริษัทยังคงยึดแนวทางการบริหารจัดการตามนโยบายคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอเพื่อรักษามาตรฐานระดับสูงนี้ไว้สืบไป รางวัลเขื่อนดีเด่นโลก (International Milestone Concrete Dam Project) โครงการเขื่อนน้างึม 2 ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ได้ก่อสร้าง แล้วเสร็จเมื่อปี 2554 ได้รับรางวัล International Milestone Rockfill Dam Project หรือเขื่อนดีเด่นโลก ประเภทเขื่อนหิน ถมดาดคอนกรีต (Concrete Face Rockfill Dam - CFRD) ณ เมืองคุณหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งถือเป็นโครงการที่ ได้รับการคัดเลือกตามจากการใช้นวัตกรรม ทั้งในการก่อสร้างและการดาเนินงานที่ดีรวมทั้งบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมได้ อย่างดีเลิศ
  • 23. ห น้า | 19 นโยบายด้านความปลอดภัย การดาเนินการเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็นปัจจัยของการบริหารงาน ก่อสร้าง ที่ต้องทาควบคู่กับผลงานคุณภาพ บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ถือเป็นนโยบายที่ต้องการให้เป็นมาตรฐาน สูงสุด เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและควบคุมการสูญเสียจากอุบัติเหตุให้มีประสิทธิภาพโดย 1. มีความรับผิดชอบเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 2. ให้พนักงานและผู้เกี่ยวข้องของโครงการถือว่าความปลอดภัยเป็นหน้าที่ของทุกคน 3. ทุกกิจกรรมมีเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอยู่ในแผนงาน 4. มีการประเมินความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน 5. ส่งเสริมเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย โดยมีการฝึกอบรมให้ความรู้ที่เหมาะสม 6. มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ตั้งใจที่จะดาเนินการตามนโยบายที่กาหนดไว้ โดยตั้งมั่นจะมีการปฏิบัติงานให้ เกิดความปลอดภัย ภายใต้กฎหมายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยแห่งประเทศไทย ซึ่งได้มีการบรรจุ รายละเอียดไว้ในแผนการจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยด้วย พนักงานทุกคนตระหนักถึงการเอาใจใส่เรื่องดูแลรักษาสุขภาพและความปลอดภัยของตนและผู้เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงาน นอกจากนั้น บริษัท ช.การช่าง จากัด (มหาชน) ยังส่งเสริมให้ผู้บริหารมีความสนใจในเรื่องความปลอดภัย และชีวอนามัยด้วย แนวคิด การดาเนินการ การดาเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากความห่วงใยต่อผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันทาให้หลายองค์กรมีการกาหนดนโยบายและ มาตรการต่างๆ เพื่อใช้ในการควบคุมการดาเนินงาน ด้วยความตระหนักถึงการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ช.การ ช่าง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาองค์กรให้ก้าวหน้าและมีความยั่งยืนในฐานะผู้รับเหมาก่อสร้างชั้นนา และในฐานะผู้ ลงทุนในโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของประเทศอย่างครบวงจร ช.การช่าง มุ่งมั่น ในการดาเนิน งานที่มีความ รับผิดชอบและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องด้วยหนึ่งในธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณรอบพื้นที่ก่อสร้าง ทั้งในเรื่องของ คุณภาพอากาศ ระดับเสียง การคมนาคม และ การจัดการขยะมูลฝอย ภายใต้การดาเนินงานที่เรียกว่า “Green Construction” หรือ การก่อสร้างที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโครงการก่อสร้างทุกโครงการของ ช.การช่าง
  • 24. ห น้า | 20 มีการจัดการวัสดุหลักที่ใช้ในการก่อสร้าง โดยตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง มีคุณค่าแต่ในขณะเดียวกันยังคงรักษามาตรฐานและคุณภาพในการก่อสร้างให้สูงที่สุด 1. วัสดุหลักที่ใช้ในการก่อสร้างและปริมาณการใช้ ช.การช่าง ได้ทาการจัดเก็บข้อมูลวัสดุหลักที่ใช้ในการ ดาเนินงานของบริษัท อาทิ เหล็ก ปูน และน้ามัน เพื่อตรวจสอบถึงปริมาณการใช้งานและประเมินถึงความต้องการในปีต่อ ๆไป ซึ่ง ช.การช่าง จะพยายามคัดเลือกวัสดุหลักที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดด้วยตระหนักถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่าและกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงรักษามาตรฐานและคุณภาพใน การก่อสร้างให้สูงที่สุดเช่นกัน 2. วัสดุหลักที่ใช้ในอาคารสานักงานและปริมาณการใช้สาหรับสานักงานใหญ่ วัสดุที่สาคัญในการดาเนินงาน คือ กระดาษซึ่งใน ปี 2556 ช.การช่าง มีการสั่งซื้อกระดาษ A4 เป็นน้าหนักรวม12.9 ตัน ดังนั้น จึงมีนโยบายในการใช้กระดาษ ให้ครบทั้งสองหน้าหรือการนากลับมาใช้ใหม่ (Reuse) และได้เข้าร่วมโครงการ Shred2Share กับ บริษัท อินโฟเซฟ จากัด ในเครือ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ SCG มาตั้งแต่ในปี 2552 บริษัท อินโฟเซฟ มีกระบวนการในการนา เอกสารที่ไม่ใช้แล้วมาย่อยทาลายตามมาตรฐานสากล แล้วนาไปรีไซเคิล เพื่อนาไปผลิตเป็นกล่องกระดาษ โดยทุกๆ 1 ตัน ของปริมาณกระดาษที่เก็บได้ อินโฟเซฟ จะสมทบทุนจานวน 2,000 บาท เพื่อนาไปเป็นทุนการศึกษา และจัดซื้ออุปกรณ์ การเรียน อุปกรณ์กีฬา มอบให้กับเด็กนักเรียนในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน โครงการประหยัดพลังงานเพื่อลดการใช้พลังงาน และการบริหารการจัดการน้า ทั้งน้าประปา และน้าบาดาล ในปัจจุบัน พลังงานเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต ด้วยวิถีชีวิตในปัจจุบันทาให้มีความต้องการใช้พลังงานสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น จะต้องอาศัยความร่วมมือของทุกคนในการบริหารการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในการ จัดทารายงานในปี 2556 นี้รายงานถึงปริมาณการใช้ไฟฟ้าและปริมาณการใช้น้าของสานักงานใหญ่และศูนย์เครื่องจักรกล โดยมีการดาเนินงานในเรื่องการบริหารจัดการพลังงาน ดังนี้
  • 25. ห น้า | 21 1. โครงการประหยัดพลังงานของ ช.การช่าง
  • 26. ห น้า | 22 2. ปริมาณการใช้ไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้าของสานักงานใหญ่ และศูนย์จักรกล ระหว่างเดือน มกราคม - ธันวาคม2556 หน่วย: กิโลจูล 3.การบริหารจัดการน้า - ปริมาณการใช้น้าประปาของสานักงานใหญ่ ระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2556 หมายเหตุ: เดือน พฤศจิกายน และ เดือน ธันวาคมเป็นค่าประมาณการ
  • 27. ห น้า | 23 - ปริมาณการใช้น้าประปาและน้าบาดาลของศูนย์เครื่องจักรกลระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2556หมายเหตุ: ปริมาณ การใช้น้าประปาชองศูนย์จักรกล เริ่มเก็บในปี 2556 เป็นปีแรก การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการก่อสร้าง โดยมีมาตรการลดผลกระทบ ด้านฝุ่นละออง เสียง น้าผิวดิน ขยะ และมีการติดตามตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ในทุกขั้นตอนของการดาเนินงานโครงการก่อสร้าง ช.การช่างได้ถือปฏิบัติตามบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การก่อสร้างอย่างเคร่งครัด เพื่อควบคุมและบรรเทาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ที่เป็นสาเหตุจากการดาเนินงานก่อสร้าง โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและเทคนิคที่ทันสมัยมีมาตรฐานในระดับสูง พร้อมทั้งการยึดถือปฏิบัติตามระบบบริหารงาน คุณภาพตามระบบมาตรฐานสากล ซึ่งว่าด้วยเรื่องของระบบการบริหารงานที่จะช่วยสร้างความพึงพอใจของลูกค้าต่อ ผลิตภัณฑ์หรือบริการขององค์กร หรือ ISO9001/2008 และข้อกาหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเป็นข้อพึงปฏิบัติที่เป็น มาตรฐานสากล ตลอดจนการกาหนดให้ฝ่ายบริหารโครงการของทุกโครงการ จัดทาระบบการจัดการและแผนการ ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยในการทางาน รวมถึงแผนการดูแลเพื่อลดผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยให้พนักงานทุกระดับได้ผ่านกระบวนการการอบรมความรู้ และมีระบบตรวจสอบคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ต่อเนื่อง และ จริงจัง เพื่อก่อให้เกิดความปลอดภัยและสร้างความมั่นใจให้กับพนักงาน ประชาชน และชุมชน ใกล้เคียง โดยได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ด้วยมาตรการและแผนการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 1. การบรรเทาผลกระทบและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ที่เป็นสาเหตุจากการดาเนินงาน ก่อสร้าง
  • 28. ห น้า | 24 โครงการก่อสร้างของ ช.การช่าง ต้องมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มงวด ทั้งพื้นที่ก่อสร้าง สานักงานโครงการ ที่เก็บ วัสดุก่อสร้าง โดยแต่ละโครงการจะมีระยะเวลาการศึกษาสิ่งแวดล้อมต่างกันขึ้นอยู่กับโครงการ เช่น มีการศึกษาทุกเดือน มี การศึกษาทุกไตรมาส เป็นต้น โดยมีตัวอย่างมาตรการในด้านต่างๆดังต่อไปนี้ มาตรการลดผลกระทบด้านฝุ่นละออง 1) จัดให้มีสิ่งรองรับวัสดุ ซึ่งอาจจะตกหล่นจากการก่อสร้างที่ระดับเหนือพื้นดิน เพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของวัสดุ ดังกล่าว 2) จัดให้มีการล้างล้อรถบรรทุกก่อนออกนอกพื้นที่ก่อสร้าง 3) กาหนดให้รถบรรทุกต้องมีการคลุมผ้าใบให้มิดชิดก่อนออกนอกพื้นที่ก่อสร้าง 4) กิจกรรมก่อสร้าง ได้แก่ การเปิดหน้าดิน การรื้อถอนอาคาร การกองวัสดุ การขุดเจาะ และการผสมคอนกรีตจะต้อง กระทาภายในพื้นที่ที่มีรั้วทึบสูงอย่างน้อย 2 เมตร กั้นโดยรอบ 5) ต้องทาความสะอาดเศษดิน ทราย ที่ตกหล่นอยู่ภายนอกรั้ว และฉีดล้างถนนที่อยู่ใกล้เคียงพื้นที่ก่อสร้างโดยสม่าเสมอ 6) สาหรับพื้นที่ก่อสร้างที่มีการเปิดผิวดิน จะมีการฉีดพรมน้าเป็นประจาเพื่อป้องกันการฟุ้งกระจายของฝุ่น มาตรการลดผลกระทบด้านเสียง 1) ดาเนินกิจกรรมก่อสร้างที่ก่อให้เกิดเสียงดังในช่วงเวลา 6.00-22.00 น. และหากต้องดาเนินกิจกรรมต่อเนื่องหลังเวลา 22.00 น.จะมีการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนใกล้เคียงทราบล่วงหน้า 2) กาหนดมาตรการป้องกันผลกระทบด้านเสียง เช่น การติดตั้งกาแพงกันเสียงชั่วคราวรอบพื้นที่ก่อสร้าง 3) บริเวณที่ทาการเปิดหน้าดิน รื้อถอน ทาลายสิ่งปลูกสร้าง กองวัสดุ อุปกรณ์ขุดเจาะ ผสมคอนกรีต ต้องทารั้วทึบรอบ สถานที่ก่อสร้าง ความสูงจากพื้นดินต้องไม่น้อยกว่า 2.0 เมตรมาตรการลดผลกระทบด้านน้าผิวดิน มาตรการลดผลกระทบด้านน้าผิวดิน 1) ติดตั้งบ่อพักหรือรางดักตะกอน เพื่อลดผลกระทบจากตะกอนแขวนลอย ก่อนที่จะปล่อยออกสู่แหล่งน้า โดยเฉพาะ บริเวณพื้นที่ก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้า 2) จัดกิจกรรมก่อสร้างหนักในช่วงฤดูแล้ง เช่น การปรับสภาพพื้นที่และการขุดดิน เป็นต้น 3) จัดให้มีห้องน้า ห้องส้วมบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง และบ้านพักคนงาน พร้อมทั้งได้มีการติดตั้งระบบน้าเสียสาเร็จรูป เพื่อ รองรับน้าทิ้งจากคนงาน