SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ฉบับที่ 3 : สิงหาคม พ.ศ. 2558
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
ทุกปี มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในสหรัฐอเมริกา นาโดยสถาบัน The Lauder Institute
ภายใต้แผนงาน Think Tanks and Civil Societies Program ได้จัดอันดับ Think Tank ที่สาคัญๆ
ทั่วโลก พิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นรายงานชื่อ Global Go To Think Tank Index Report
สถาบันวิจัยนโยบายชั้นนา (Think Tank) เหล่านี้ ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่างๆของโลก มีผลงาน
วิชาการที่ถูกผลิตขึ้นมามากมาย เพื่อตอบโจทย์ทางยุทธศาสตร์และนโยบาย อันเป็นชุดความรู้ใหม่
เป็นผลงานที่มีคุณภาพที่คนไทยควรจะได้ศึกษาและติดตาม จะทาให้มีความเข้าใจ แนวคิด นโยบาย
ยุทธศาสตร์ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆของโลก ที่ผ่านการวิเคราะห์ทางวิชาการ
รอบด้านและรวดเร็ว
ด้วยเหตุนี้ ทีมงานของโครงการคลังปัญญาฯ จึงได้เฝ้าติดตามรวบรวมความรู้จากสถาบันวิจัย
ชั้นนาของโลกเหล่านี้มานาเสนอเป็นประจาเดือน และรวบรวมเรียบเรียงเป็นเอกสารในชื่อ World
Think Tank Monitor
เอกสาร World Think Tank Monitor ที่ท่านถืออยู่ในมือขณะนี้เป็นฉบับที่ 3 เนื้อหาสาระหลัก
ในรอบเดือนนี้ประกอบด้วย การลดค่าเงินหยวนของจีนผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและอัฟริกา ท่าที
ของผู้นาญี่ปุ่นที่เปลี่ยนไปในการราลึกถึงเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง การเข้าร่วมเป็นสมาชิก
เอเปกของอินเดีย บทบาทของจีนกับสมาคมความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเอเชียใต้ ฯลฯ
ท้ายนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า World Think Tank Monitor จะเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะช่วยให้
ผู้อ่านสนใจและเข้าถึงองค์ความรู้คลังปัญญาของโลกได้ และมีความเพลิดเพลินกับการเรียนรู้อย่าง
ไม่หยุดนิ่ง
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1
 CHATHUM HOUSE 2
 EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 3
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6
 BROOKING INSTITUTE 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 10
 ASIA SOCIETY 11
 OBSERVER RESEARCH FOUNDATION 12
 CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES 13
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในประเทศไทย 16
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR 17
NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES)
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHUM HOUSE
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
WORLD HEALTH ORGANIZATION
เรียบเรียงโดย
จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ช่วยนักวิจัย
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
CHATHUM HOUSE
ในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา Chatham House ได้นาเสนอประเด็นสถานการณ์
ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
ความน่าสนใจในกรณีการลดค่าเงินหยวนของจีน (The Curious Case of China’s
Falling Yuan)
Paola Subacchi ผู้อานวยการสถาบันวิจัยเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศของ Chatham
House ได้วิเคราะห์ถึงสถานการณ์ในช่วงกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาซึ่งธนาคารกลางแห่ง
สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ตัดสินใจปรับลดอัตราอ้างอิงประจาวันลงถึง 1.9% การกระทาดังกล่าวส่อ
ให้เห็นว่าจีนมีเจตนาที่ต้องการลดค่าเงินหยวนเพื่อกระตุ้นภาคการส่งออกให้มีศักยภาพในการ
แข่งขันมากขึ้นเนื่องจากในช่วงปีที่ผ่าน
มาจีนต้องเผชิญกับอัตราการส่งออกที่
ลดลงถึง 8.3% จนก่อให้เกิดภาวะต้นทุน
สูงของภาคธุรกิจและลุกลามไปถึงปัญหา
การเลิกจ้างแรงงานอย่างต่อเนื่อง การ
ปรับลดค่าเงินหยวนของจีนในครั้งนี้
จึงนับเป็นการปรับลดครั้งใหญ่ที่สุด
ในรอบ 20 ปี ซึ่งทาให้ค่าเงินหยวนตก
ลงไปถึง 1.8%
ขณะเดียวกัน ความเคลื่อนไหวดังกล่าวของจีนก็ได้สร้างความกังกลให้แก่ประชาคมเศรษฐกิจ
โลกอยู่ไม่น้อย โดยจีนถูกเพ่งเล็งว่าพยายามใช้นโยบายลดค่าเงินเพื่อสร้างความได้เปรียบด้าน
การค้าและสร้างอานาจในการครอบงาเศรษฐกิจในโลก ซึ่งการกระทานี้เสมือนเป็นการมุ่งเน้นแต่
เพียงสร้างความก้าวหน้าให้เศรษฐกิจภายในประเทศโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่มีต่อประเทศอื่นๆ
ในมุมมองของ Subacchi สิ่งที่ตามมาจากการปรับลดค่าเงินของจีนลงอย่างมากนี้ มีความ
เป็นไปได้ที่จะกระตุ้นให้เกิด “สงครามค่าเงิน” ที่ประเทศอื่นๆ ต่างก็พยายามที่จะกดค่าเงินของ
ตนเองลงเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการแข่งขันจนในที่สุดอาจนาไปสู่การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
โลกได้ ดังนั้น เพื่อป้องกันมิให้ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้น จีนจึงควรหันมาพิจารณากาหนดอัตรา
แลกเปลี่ยนที่สะท้อนถึง อุปสงค์และอุปทานที่แท้จริง หรือไม่ก็ควรปรับค่าเงินหยวนให้กลับมาเท่า
อัตราแลกเปลี่ยนในระดับเดิมเพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างความผันผวนในเศรษฐกิจโลก
Photo: Getty Images.
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS
ในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน European Council on Foreign Relations
ได้นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวของประเทศในภูมิเอเชีย โดยเฉพาะประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ญี่ปุ่น – จีน – เกาหลีใต้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
การเดินเกมที่ชาญฉลาดของนายกรัฐมนตรีอาเบะ (Abe’s clever game)
Photo: http://www.planet101fm.ng/
เมื่อช่วงเวลาครบรอบการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ใกล้เวียนมาถึง ทั่วโลกต่างตั้งตารอผู้นา
ญี่ปุ่นในการออกมากล่าวราลึกถึงเหตุการณ์ดังกล่าวซึ่งที่ผ่านมาญี่ปุ่นในฐานะประเทศผู้ก่อสงคราม
ยังคงแสดงท่าทีแข็งกร้าวจนสร้างความไม่พอใจให้แก่ประเทศผู้สูญเสียจากสงครามโดยเฉพาะจีนและ
เกาหลีมาโดยตลอด แต่ในครั้งนี้ François Godement ผู้อานวยการแผนงานเอเชียและจีนของ Euro-
pean Council on Foreign Relations ได้วิเคราะห์ถึงการแสดงจุดยืนที่เปลี่ยนไปของนาย Shinzo
Abe นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น โดยงานราลึกครบรอบ 70 ปีที่ญี่ปุ่นยอมจานนในสงครามโลกครั้งที่ 2 นาย
Abe ได้กล่าวสุนทรพจน์แสดงความต้องการก้าวข้ามกับดักทางประวัติศาสตร์ที่ทาให้ญี่ปุ่นยังวนเวียน
อยู่กับความขัดแย้งไม่มีที่สิ้นสุด โดยสุนทรพจน์ดังกล่าวมีใจความสาคัญใน 3 ประเด็น ได้แก่
 ญี่ปุ่นขอแสดงความเสียใจและความสานึกผิดอย่างสุดซึ้งต่อผู้สูญเสียโดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งต้อง
บาดเจ็บทั้งทางกายและใจจากสงคราม(โดยหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงประเด็น Comfort Women)
อีกทั้งยังแสดงความขอบคุณต่อจีนที่ยอมปล่อยตัวนักโทษในสงครามชาวญี่ปุ่นให้กลับบ้าน
 ญี่ปุ่นยอมรับแต่โดยดีว่าความสูญเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับประชาชนและแผ่นดินญี่ปุ่นจาก
ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจากการตัดสินใจดาเนินนโยบายที่ผิดพลาดของญี่ปุ่นเอง
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
 ญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับจีนเหนือเพื่อนบ้านประเทศอื่นๆ ในเอเชีย โดยพยายามหลีกเลี่ยงการขับ
เคี่ยวกับจีนในการขึ้นเป็นผู้นาระเบียบโลก ตลอดจนแสดงความชื่นชมในความขยันและอดทน
ของชาวจีน
การแสดงจุดยืนของนาย Abe ในครั้งนี้นับเป็นการดาเนินนโยบายทางการทูตที่ดีเยี่ยม
เพราะที่ผ่านมาทุกครั้งที่ญี่ปุ่นมีความไม่ลงรอยกับเกาหลีใต้ จีนจะให้การสนับสนุนเกาหลีใต้ในการร่วม
กดดันญี่ปุ่นโดยตลอด แต่การแสดงความเป็นมิตรกับจีนอย่างเปิดเผยของนาย Abe ในครั้งนี้ทาให้จีน
พอใจมาก โดยทางการจีนได้ตอบสนองด้วยการประกาศถึงจุดยืนที่เป็นกลางมากขึ้นและพยายาม
หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการปะทะในประเด็นความขัดแย้งระหว่างญี่ปุ่น – เกาหลีใต้ นอกจากนี้ทางการจีนยัง
ได้เชิญนาย Abe ร่วมงานครบรอบการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่จีนจะจัดขึ้นในวันที่ 3 กันยายน
พ.ศ.2558 ซึ่งแม้จะคาดการณ์ได้ว่านาย Abe อาจไม่เข้าร่วมงานดังกล่าวแต่ก็มีแนวโน้มที่ชัดเจนว่านาย
Abe จะเดินทางเยือนจีนเพื่อพบปะกับผู้นาจีนในภายหลัง ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดขึ้นระหว่างญี่ปุ่นและจีน
5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Paola Subacchi . The Curious Case of China’s Falling Yuan. Chathum House.
ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/expert/comment/curious-case-chinas-falling-yuan
François Godement . Abe’s clever game. European Council on Foreign Relations.
ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commentary_abes_clever_game_4003
World Health Organization. Viet Nam: Closer to bringing drinking water and sanitation
to all. ออนไลน์: http://www.who.int/features/2015/viet-nam-water-sanitation/en/
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKING INSTITUTION
เรียบเรียงโดย
อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ผู้ช่วยนักวิจัย
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
BROOKING INSTITUTION
ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Brooking Institutionได้นาเสนอประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับทวีปเอเชียที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้
การประกาศลดอัตราค่าเงินหยวน : ผลกระทบต่อการเงินและเศรษฐกิจ
ในทวีปแอฟริกา
จากการที่จีนออกมาประกาศลดอัตราอ้างอิงของค่าเงินหยวนให้อ่อนลงเมื่อเทียบกับอัตรา
ค่าเงินของดอลลาร์สหรัฐนั้น เป็นเรื่องที่สั่นสะเทือนต่อวงการตลาดโลกและกระทบต่อเศรษฐกิจ
ภาพรวมในแต่ละภูมิภาคเป็นอย่างมาก โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเงิน ได้แสดงความเห็นว่า
ปรากฏการณ์ดังกล่าว เป็นเพียง “สงครามทางการเมืองเกี่ยวกับค่าเงิน” โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้าน
การเงินหลากหลายท่านได้วิเคราะห์ถึงเจตจานงค์ของจีนในการทาให้ค่าเงินหยวนมีเสถียรภาพ มี
ความสาคัญ และมีความเป็นสากลมากขึ้น โดยจีนมีความต้องการในการเพิ่มอัตราการใช้ค่าเงิน
หยวนในต่างประเทศ เพื่อการพัฒนาในภาคการเงินของจีนเอง ตลอดจนลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์
สหรัฐ รวมถึงเป็นการเสริมฐานะของจีนในการเป็นผู้เล่นสาคัญในระบบเศรษฐกิจโลกอีกด้วย
นอกจากนี้ คาดว่าอีกหนึ่งความพยายามของจีน คือความต้องการในการนาเงินหยวนเข้าสู่
ตะกร้าเงินของ IMF ที่เรียกว่า Special Drawing Rights หรือ SDR โดยในปัจจุบันตะกร้านี้มีเงินอยู่
4 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สหราชอาณาจักร เยนญี่ปุ่น และเงินยูโร จากการวิเคราะห์ ถ้าหาก
จีนสามารถนาเงินหยวนเข้าสู่ตระกร้า SDR ได้ จะเป็นการเพิ่มความสาคัญให้กับเงินหยวนมากขึ้น
ผ่านความต้องการของประเทศต่างๆในการถือเงินหยวนให้เป็นเงินสารองระหว่างประเทศ
แต่ในอีกทางหนึ่งรายงานก็ได้แสดงถึงระบบการเงินและเศรษฐกิจภายในประเทศของจีนโดย
รวมที่มีแนวโน้มตกต่าลงผ่านการกู้แบบไร้คุณภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงมารตรฐานการอนุมัติสินเชื่อ
โดยมีอัตราส่วนที่มากถึง 1.4% จาก GDP ทั้งหมด 73% นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงต่อความมั่นคง
ทางด้านการเงินและเศรษฐกิจของจีน คือการขาดซึ่งรากฐานที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ การ
พัฒนาและความโปร่งใส ทั้งนี้ในรายงานได้เแสดงให้เห็นถึง อัตราหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่นที่มีมากถึง
35% ของ GDP ทั้งหมด รวมถึงปัญหาความไม่โปร่งใสของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ตลอดจน
แนวโน้มที่จะเกิดฟองสบู่ในภาคส่วนอสังหาริมทรัพย์ที่มีมากถึง 115% ของ GDP ทั้งหมด
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผลกระทบต่อทวีปแอฟริกา
จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าการปรับลดค่าเงินหยวนอย่างเหนือความคาดหมายของจีน
ได้ส่งแรงสั่นสะเทือนทางด้านเศรษฐกิจอย่างรุนแรงไปในหลายภูมิภาค โดยภูมิภาคที่ถูกจับตามองที่สุด
ว่าจะได้รับผลกระทบต่อการลดอัตราค่าเงินของจีนหรือไม่ คือ ทวีปแอฟริกา เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่า
หลายประเทศในทวีปแอฟริกามีโครงสร้างการส่งออกที่พึ่งพาตลาดในจีนสูงมาก และจีนก็เป็นประเทศคู่
ค้ารายใหญ่ที่สุดของทวีปแอฟริกาด้วย
โดยผลกระทบที่เห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด คือการร่วงต่าลงของสกุลเงินในหลายประเทศไม่ว่าจะ
เป็นเงินแรนด์ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เงินควานซาของอังโกลา และเงินควานชาของแซมเบีย โดย
เงินแรนด์ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ได้ร่วงลงต่าที่สุดในรอบ 14 ปี
สถานการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อภาครวมการส่งออกและราคาสินค้าทางอ้อมใน
หลากหลายประเทศของทวีปแอฟริกา โดยรายงานชิ้นนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการ
เติบโตของอัตราการลงทุนในจีนที่ลดลง 1% สัมพันธ์ต่ออัตราการส่งออกในทวีปแอฟริกาที่ลดลง 0.6%
โดยผลกระทบดังกล่าว ได้ส่งผลต่อผู้ค้าน้ามันที่มีส่วนแบ่งทางด้านการตลาดในจีนมากที่สุด
นอกเหนือจากนี้ ยังได้ส่งผลกระทบต่อความต้องการในการบริโภคสินค้าที่ลดลง การแข่งขันของ
สินค้าภายในประเทศของแอริฟกากับสินค้าราคาถูกของจีน รวมถึงค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผล
ให้อัตราการลงทุนของนักธุรกิจจีนในทวีปแอฟริกาลดลงด้วย
จากที่กล่าวมาในข้างต้น Amadou Sy ผู้อานวยการของ the Africa Growth Initiative และ
นักวิจัยอาวุโส ได้แสดงให้เห็นว่าประเด็นปัญหที่าแท้จริงของแอฟริกา คือ แนวโน้มเศรษฐกิจของจีนที่ดู
มีทีท่าว่าจะต่าลง ไม่ใช่การที่จีนประกาศลดอัตราค่าเงินหยวน เนื่องจากการค้าและการลงทุนในจีน
ส่วนมากใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐเป็นตัวกลางมากกว่าสกุลเงินหยวน
ทั้งนี้ Amadou Sy ได้เสนอให้นักนโยบายในหลายๆประเทศของแอฟริกา ให้ความสนใจกับ
ประเด็นปัญหาเหล่านี้ รวมถึงหาแนวทางการรับมือและจัดการต่อผลกระทบดังกล่าว โดยเฉพาะการ
ติดตามต่อ แนวโน้มด้านการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ด้านสาธารณูปโภค ด้านการพัฒนาเมือง อัตรา
การบริโภค ตลอดจนแนวโน้มการบริการอุตสาหกรรม
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Brian Pinto. Hello China, meet Diaz-Alejandro! Interpreting the recent yuan devaluation.
Brooking Institute. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/blogs/future-development/
posts/2015/08/24-china-yuan-devalue-pinto
Amadou Sy. Chinese yuan devaluation is not the real concern for Africa: A weakened
Chinese economy is. Brooking Institute. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/blogs/africa-
in-focus/posts/2015/08/21-china-yuan-devaluation-africa-sy
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย
ASIA SOCIETY
OBSERVER RESEARCH FOUNDATION
CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCE
เรียบเรียงโดย
วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
ผู้ช่วยนักวิจัย
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Asia Society
ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอประเด็นประเทศ
อินเดียเข้าร่วมเป็นสมาชิกเอเปก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
อินเดียเข้าร่วมเป็นสมาชิกความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิ ก (It's Time for India to
Join APEC)
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2558 นาย Kevin Rudd ประธานสถาบันนโยบายสังคมแห่งเอเชีย
(Asia Society Policy Institute) ให้สัมภาษณ์ถึงความพร้อมของอินเดียในการเข้ามาเป็นสมาชิกความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) ได้กล่าวว่า
อินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่และมีความสาคัญต่อภูมิภาค การเข้ามาเป็นสมาชิกเอเปก
ของอินเดียจะทาให้เศรษฐกิจและการค้าโลกเติบโตมากขึ้น
ทั้งนี้ อินเดียได้เตรียมการจัดทาข้อตกลงทางการค้าTrans-Pacific Partnership (TPP) 1
เพื่อ
แสดงถึงความพร้อมที่จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเอเปกและระบบการค้าโลก
ประโยชน์ของการเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกของอินเดีย
1) ประโยชน์ต่อประเทศอินเดีย การเข้ามาเป็นสมาชิกเอเปกสอดคล้องกับนโยบาย
ต่างประเทศของอินเดียที่ “มุ่งตะวันออก (Act East)” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในด้านความ
ร่วมมือเศรษฐกิจในภูมิภาค และนับเป็นโอกาสที่ดีต่ออินเดียในการสร้างความสามารถใน
การผลิตและยกระดับมาตรฐานด้านการค้าในประเทศด้วย
2) ประโยชน์ต่อกลุ่มเอเปก สอดคล้องกับประเทศในกลุ่มเอเปกที่มีความต้องการขยาย
ตลาดในด้านอาหารและบริการ เนื่องจากประเทศอินเดียมีอัตราการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นใน
กลุ่มชนชั้นกลาง ประกอบกับอินเดียสามารถเป็นตัวกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์กับ
สหรัฐฯในการทาข้อตกลงและเจราจาด้านการค้าได้ราบรื่น
3) ประโยชน์ต่อภูมิภาคและโลก การเข้ามาเป็นสมาชิกของประเทศอินเดียทาให้
เศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและในตลาดโลกมีความหลากหลายทางการค้ามากขึ้น โดยจะ
ส่งผลให้ประเทศต่างๆเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้นในภูมิภาคเอเชีย
————————————————
1
ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement : TPP)
เป็นความตกลงการค้าเสรีกรอบพหุภาคีที่มีมาตรฐานสูง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการบูรณาการทางเศรษฐกิจในด้านการเปิดตลาด
การค้าสินค้า บริการและการลงทุน การปฏิรูป การสร้างความสอดคล้องในกฎระเบียบทางเศรษฐกิจให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ทั้งนี้ นาย Kevin Rudd ได้วิเคราะห์ว่า “การเข้าร่วมของอินเดียมีความน่าสนใจมาก ซึ่ง
อินเดียมีความต้องการในการเติบโตทางเศรษฐกิจภายในสองทศวรรษ นับเป็นโอกาสที่ดีที่หาได้
ยากสาหรับอินเดียในการเข้าเป็นสมาชิก นอกจากนี้การเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกของอินเดีย
ยังเป็นการสร้างสถาบันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคให้มีความเข้มแข็งในศตวรรษที่ 21”
OBSERVER RESEARCH FOUNDATION
ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Observer Research Foundation
ได้นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้โดยมีสาระสาคัญดังนี้
สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ : การร่วมมือกับประเทศจีนในยุทธศาสตร์หนึ่ง
แถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road)
สถาบัน Observer Research Foundation ได้เผยแพร่เอกสารรายงานประจาเดือนสิงหาคม
2558 เรื่อง SAARC: The Way Ahead โดย Jayshree Sengupta นักวิจัยของสถาบัน ซึ่งกล่าวถึง
แนวทางการดาเนินงานของสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ในการเชื่อมต่อภูมิภาค
(Connectivity)เข้ากับภูมิภาคอาเซียน ยุโรป โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับข้อเสนอของจีนใน
ยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road)” โดยมีจุดมุ่งหมายในด้านความ
ร่วมมือระหว่างประเทศและโครงการการพัฒนาในเขตภูมิภาคเอเชีย
หากพิจารณาถึงความสัมพันธ์ด้านการค้าระหว่างประเทศของจีนกับกลุ่มประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียใต้เห็นได้ชัดเจนว่า จีนเป็นประเทศที่มีบทบาทความสาคัญทางการเงินให้กับ
ภูมิภาคเอเชียใต้ ในการลงทุนโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการสร้างเครือข่ายระหว่าง
ภูมิภาค ทั้งนี้หลายประเทศในกลุ่มสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น อัฟกานิสถาน
ปากีสถาน และศรีลังกา ได้ให้ความสนใจเข้าร่วมในข้อเสนอ “เส้นทางสายไหมใหม่ (the Mari-
time silk Road)” ซึ่งประเทศปากีสถานได้ตอบรับข้อตกลงของจีนในข้อเสนอการสร้างเขต
เศรษฐกิจระหว่างประเทศตามยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ทั้งนี้ Jayshree Sengupta ได้แสดงความเห็นว่า “ประเทศจีนมีบทบาทอย่างสาคัญในการ
พัฒนาและการลงทุนในระบบเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศเอเชียใต้ ซึ่งจีนนับเป็นตัวแสดงหลักที่ส่งผลต่อ
การพัฒนาโครงการหรือการขยายขนาดเศรษฐกิจของภูมิภาค”
โดยจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ซึ่งมีศักยภาพในการผลักดันเศรษฐกิจในประเทศ
ขนาดเล็กของภูมิภาคเอเชียใต้ นอกจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนมีอัตราการเติบโตที่สูง
ประเทศจีนยังมีการร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆในภูมิภาคในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งนาย
Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้มีข้อเสนอกับสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ในส่วนหนึ่งของ
ยุทธศาสตร์ หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดย
ประเทศจีนจะเพิ่มงบประมาณในการพัฒนาประมาณ 30 พันล้านดอลลาร์ ประกอบกับให้ความ
ช่วยเหลือในการศึกษาโดยการมอบทุนการศึกษาสาหรับเยาวชนในภูมิภาคเอเชียใต้
กว่า 10,000 ทุน
CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES
ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chinese Academy of Social Science ได้
นาเสนอประเด็นการขยายความร่วมมือขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
การขยายความร่วมมือขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้: โอกาสและความท้าทาย
( SCO expansion offers opportunities but also challenges)
Zeng Xianghong นักวิจัยสถาบัน Chinese Academy of Social Scienceได้วิเคราะห์ถึง
แนวทางในอนาคตขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organization :SCO)
ซึ่งองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ เป็นองค์กรที่มีบทบาทสาคัญในด้านเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย จึงทา
ให้ประเทศตะวันตกมีความสนใจในการพัฒนาโดยตรงในเขตภูมิภาคเอเชีย โดยองค์การความร่วมมือ
เซี่ยงไฮ้ได้ขยายความร่วมมือให้ครอบคลุมถึงด้าน การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และพลังงาน ทั้งนี้
การขยายความร่วมมือส่งผลให้เกิดโอกาสและความท้าทายต่อองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้โดยมี
รายละเอียดดังนี้
 องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ได้ขยายขนาดและการสนับสนุนไปยังประเทศอื่นๆ
นอกเหนือจากให้ความสาคัญกับประเทศซึ่งมีอานาจทางเศรษฐกิจ และมีความสนใจในการ
ร่วมมือกับประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาด้านเทคโนโลยี
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
 โอกาสการขยายความร่วมมือในประเทศที่ได้ลงนามในข้อเสนอยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบหนึ่ง
เส้นทาง (One Belt, One Road)” ซึ่งลงทุนการพัฒนาเส้นทางสายไหม ซึ่งร่วมมือกับ
ประเทศจีนในแผนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและทางการทูต
 การขยายความร่วมมือผลขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้อาจจะส่งผลต่อเรื่องความ
แน่นแฟ้นขององค์กรซึ่งทาให้มีประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้นและการแสดงความคิดเห็นของ
ประเทศสมาชิกมีมากขึ้นด้วย จึงอาจจะก่อให้เกิดปัญหาเรื่องความไม่ลงรอยกันของสมาชิก
ตามมา
 สถานการณ์ปัจจุบันของประเทศสมาชิกได้ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้น
แผนการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศจีนในการพัฒนาเส้นทางต่างๆในอนาคตอาจจะ
เกิดความยากลาบากในการหาเงินทุนเพื่อมาขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวทางที่วางไว้
ในมุมมองของ Zeng Xianghong ได้เห็นความสาคัญในการขยายความร่วมมือขององค์การ
ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ซึ่งมีบทบาทอย่างสาคัญต่อประเทศสมาชิก และในขณะเดียวกันประเทศจีนเองได้
เห็นถึงความสาคัญในด้านการจัดวางระบบการทางานขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้เพื่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกสูงสุดในอนาคต
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เอกสารอ้างอิง
Asia Society. “It's Time for India to Join APEC”.ออนไลน์ : http://asiasociety.org/blog/asia/
kevin-rudd-and-ajay-banga-its-time-india-join-apec
Jayshree Sengupta. “SAARC: The way Ahead” :ออนไลน์ http://www.orfonline.org/cms/export/
orfonline/modules/issuebrief/attachments/ORF_Issuebrief_102_1439456714663.pdf
Zeng Xianghong, Li Tingkang. “SCO expansion offers opportunities but also challenges”.
ออนไลน์ : http://english.cssn.cn/research/internationalstudies/201412/
t20141212_1440489.shtml
16
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ
ของ Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
(KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL
DEVELOPMENT STRATEGIES)
เรียบเรียงโดย
อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ปาณัท ทองพ่วง
ผู้ช่วยนักวิจัย
17
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
(KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOP-
MENT STRATEGIES)
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดกิจกรรม
ต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
รายงานเอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ 6 ประจาเดือน มิถุนายน
พ.ศ. 2558
ในเดือนที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้ออกรายงานเอกสาร East & South
East Asia Monitor ครั้งที่ 6 ประจาเดือน มิถุนายน พ.ศ.2558 โดยรายงานได้นาเสนอถึงสถานการณ์
และประเด็นต่างๆที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนี้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
1. จีน
 โศกนาฏกรรมเรือท่องเที่ยว The Eastern Star (เส้นทางนานกิง-ฉงชิ่ง) ของ Chongqing
Eastern Shipping Corporation พลิกคว่า
 สถานการณ์ความตึงเครียดทางการเมืองภายในฮ่องกง : กรณีที่ชาวฮ่องกงไม่สามารถ
เลือกตั้งผู้บริหารของตนเองได้โดยตรง
 กรณีควบคุมตัวนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนในฮ่องกง
 Ai Weiwei ศิลปินนักวิพากษ์สังคมชาวฮ่องกง
 แผนการสร้างฐานทัพทางทะเลขนาดใหญ่ที่เมืองเหวินโจว(Wenzhou) มณฑลเจอเจียง
(Zhejiang)
 กรอบการเจรจาทางเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ (Strategic and Economic Dialogue: S&ED)
 ธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank: AIIB)
2. คาบสมุทรเกาหลี
 ความร่วมมือของเกาหลีใต้และเกาหลีในการขุดสารวจแหล่งโบราณสถานมานโวแด
(Manwodae) เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
 การแพร่ระบาดของโรคอาการทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory
Syndrome: MERS)
18
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3. ญี่ปุ่น
 การเดินทางเยือนญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการของผู้นาฟิลิปปินส์
 ความพยายามในการผลักดันกฎหมายที่กระทบต่อคะแนนนิยมของนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน
 กรณีที่เกาหลีใต้ประท้วง UNESCO ต่อการที่ญี่ปุ่นขอขึ้นทะเบียน “แหล่งปฏิวัติอุตสาหกรรม
เมติของญี่ปุ่น” เป็นมรดกโลก เนื่องจากเอกสารที่ญี่ปุ่นยื่นกับ UNESCO นั้นขาดการระบุ
เนื้อหาว่า แหล่งปฏิวัติอุตสาหกรรมเมติเป็นแหล่งเกณฑ์และใช้แรงงานชาวเกาหลีเยี่ยงทาส
 ภาพยนต์ Animation เรื่อง Stand By Me จากซีรี่ย์ Doraemon ช่วยผ่อนคลายทิศทาง
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและญี่ปุ่น
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 แผ่นดินไหวในมาเลเซียที่เกาะบอร์เนียวทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก
 โรฮิงญาและการลักลอบค้ามนุษย์
 ปัญหาการลักลอบค้ามนุษย์ในเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างอินโดนีเซียกับออสเตรเลีย
 การจัดโครงสร้างหลักสูตรความรู้ (curricula) และการผลิตครู
เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส East & South Seat Asia Monitor ครั้งที่ 2 ประจาเดือน
เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2558
ในเดือนที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาได้เสนอเอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส East & South East
Asia Monitor ครั้งที่ 2 ประจาเดือนเมษายน – มิถุนายน 2558 โดย ผศ. ดร.วรารัก เฉลิมพันธุ์ศักดิ์
อาจารย์ประจาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีตัวอย่างประเด็นสาคัญ ดังนี้
1. ภูมิภาคเอเชียตะวันออก (East Asia)
ด้านเศรษฐกิจ
 มาตรการเชิงรุกของจีนในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างจีน-สหรัฐ-ญี่ปุ่นในภูมิภาค โดย จีน
จัดตั้งระเบียงเศรษฐกิจจีน-ปากีสถาน (CPEC) และที่สาคัญคือจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุน
โครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank: AIIB)
 ญี่ปุ่น พยายามผลักดันข้อตกลงการค้า TransPacific Partnership (TPP) กับสหรัฐ แต่ยังตก
ลงกันไม่ได้เรื่องการส่งออกรถกระบะจากญี่ปุ่นไปตลาดสหรัฐ และญี่ปุ่นซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง
ของ AIIB เพิ่มการให้งบประมาณอีกร้อยละ 30 ในธนาคาร ADB ของตน
 ปักกิ่งยังคงให้ความสาคัญกับการเจรจาทวิภาคีระดับรัฐมนตรีภายใต้กรอบการเจรจาทาง
เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ (Strategic and Economic Dialogue: S&ED) กับสหรัฐมูลค่าการค้า
ระหว่างกัน 590 ล้านล้านดอลลาร์
 จีนเดินหน้าจัดการคอร์รัปชั่นอย่างต่อเนื่อง จากคดี นาย ป๋อ ซีไหล มากรณีนาย โจว หยงคัง
หัวหน้าหน่วยความมั่นคงของจีน รวมทั้งกรณีผู้บริหารเมืองนานจิง นายจี เจียนยี ด้วย ทั้งหมด
นี้อาจมองว่าเป็นกระบวนการกระชับอานาจของผู้นาจีนรุ่นสีจิ้นผิงด้วย
19
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ด้านความมั่นคง
 ด้านหนึ่งความตึงเครียดจีน-สหรัฐดูมีแนวโน้มลดลงหลังจีนประกาศหยุดดาเนินโครงการ
ก่อสร้างปรับพื้นที่ถมทะเลในหมู่เกาะสแปรตลีย์ (ภายหลังโครงการก่อสร้างเสร็จสิ้นตามแผน
ของทางการจีน)
 อีกด้านหนึ่ง จีนประกาศสร้างฐานทัพทางทะเลขนาดใหญ่ที่เมืองเหวินโจว (Wenzhou) มณฑล
เจอเจียง (Zhejiang) ไม่ไกลจากเกาะเซนคาคุ (Senkaku) ที่พิพาทอยู่กับญี่ปุ่น
 ขณะที่ญี่ปุ่นยังเพิ่มภาวะตึงเครียดด้วยการผลักดันเรื่องการตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ใหม่
ของรัฐบาลอาเบะเพื่อพยายามขยายกรอบการดาเนินการด้านความมั่นคงนอกประเทศ และ
การซ้อมรบกับหลายประเทศในภูมิภาคที่เป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นและสหรัฐฯ
ด้านสังคม-วัฒนธรรม
 กระแสเชิงบวกสวนทางความตึงเครียดจากด้านความมั่นคง เช่น กระแสตอบรับล้นหลามของ
ผู้ชมชาวจีนต่อภาพยนตร์ Doraemon ภาค Stand By me ของญี่ปุ่น เป็นต้น
2. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia)
 ประเด็นการค้ามนุษย์โรฮิงญา สร้างผลกระทบและข้อวิพากษ์วิจารณ์ด้านการจัดการปัญหาแก่
ทั้ง เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย รวมทั้ง บทบาทของมหาอานาจภายนอกภูมิภาค
อย่างสหรัฐอเมริกา
 การขยายตัวของขบวนการก่อการร้าย IS มายังภูมิภาค จากกรณีการจับกุมผู้ต้องสงสัย ที่คาด
ว่าเชื่อมโยงกับกลุ่ม IS ในมาเลเซีย
 ความขัดแย้งระหว่างชาติสมาชิกอาเซียน – จีน กรณีพิพาททะเลจีนใต้ ที่ตึงเครียดขึ้น เช่น
จากการซ้อมรบใหญ่ที่สุดที่เคยมีระหว่างฟิลิปปินส์-สหรัฐและการถมทะเลของเวียดนามใน
บริเวณเขตหมู่เกาะสแปรตลีย์แข่งกับจีน และกระชับสัมพันธ์ของทหารเวียดนามกับฟิลิปปินส์ที่
มีความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ระหว่างกันเช่นกัน เพื่อรวมพลังคานอานาจจีน
 ความขัดแย้งชายแดนระหว่างเมียนมาร์-จีน จากปัญหาผู้อพยพกว่า 60,000 คน ที่เกิดจากการ
สู้รบระหว่างกองทัพเมียนมาร์-กับชนกลุ่มน้อยโกก้าง เข้าไปในเขตมณฑลยูนนานของจีน
20
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่พิมพ์: สิงหาคม 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

More Related Content

Viewers also liked

บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 Klangpanya
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย Klangpanya
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนKlangpanya
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...Klangpanya
 

Viewers also liked (11)

บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
“Southern Thailand and the New Silk Roads: Opportunities and Challenges”
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558 World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
World Think Tank Monitors ครั้งที่ 7 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
แนวคิดของลัทธิขงจื๊อกับระบอบประชาธิปไตย
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่ปี ค.ศ. 2030 ของออสเตรเลีย...
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Thank Monitors ฉบับที่ 3 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2558

  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ ทุกปี มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในสหรัฐอเมริกา นาโดยสถาบัน The Lauder Institute ภายใต้แผนงาน Think Tanks and Civil Societies Program ได้จัดอันดับ Think Tank ที่สาคัญๆ ทั่วโลก พิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นรายงานชื่อ Global Go To Think Tank Index Report สถาบันวิจัยนโยบายชั้นนา (Think Tank) เหล่านี้ ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่างๆของโลก มีผลงาน วิชาการที่ถูกผลิตขึ้นมามากมาย เพื่อตอบโจทย์ทางยุทธศาสตร์และนโยบาย อันเป็นชุดความรู้ใหม่ เป็นผลงานที่มีคุณภาพที่คนไทยควรจะได้ศึกษาและติดตาม จะทาให้มีความเข้าใจ แนวคิด นโยบาย ยุทธศาสตร์ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆของโลก ที่ผ่านการวิเคราะห์ทางวิชาการ รอบด้านและรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้ ทีมงานของโครงการคลังปัญญาฯ จึงได้เฝ้าติดตามรวบรวมความรู้จากสถาบันวิจัย ชั้นนาของโลกเหล่านี้มานาเสนอเป็นประจาเดือน และรวบรวมเรียบเรียงเป็นเอกสารในชื่อ World Think Tank Monitor เอกสาร World Think Tank Monitor ที่ท่านถืออยู่ในมือขณะนี้เป็นฉบับที่ 3 เนื้อหาสาระหลัก ในรอบเดือนนี้ประกอบด้วย การลดค่าเงินหยวนของจีนผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกและอัฟริกา ท่าที ของผู้นาญี่ปุ่นที่เปลี่ยนไปในการราลึกถึงเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง การเข้าร่วมเป็นสมาชิก เอเปกของอินเดีย บทบาทของจีนกับสมาคมความร่วมมือกับกลุ่มประเทศเอเชียใต้ ฯลฯ ท้ายนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า World Think Tank Monitor จะเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่จะช่วยให้ ผู้อ่านสนใจและเข้าถึงองค์ความรู้คลังปัญญาของโลกได้ และมีความเพลิดเพลินกับการเรียนรู้อย่าง ไม่หยุดนิ่ง บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป 1  CHATHUM HOUSE 2  EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS 3 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา 6  BROOKING INSTITUTE 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย 10  ASIA SOCIETY 11  OBSERVER RESEARCH FOUNDATION 12  CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES 13 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจของ Think Tank ในประเทศไทย 16  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR 17 NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES)
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHUM HOUSE EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS WORLD HEALTH ORGANIZATION เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต CHATHUM HOUSE ในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา Chatham House ได้นาเสนอประเด็นสถานการณ์ ระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ ความน่าสนใจในกรณีการลดค่าเงินหยวนของจีน (The Curious Case of China’s Falling Yuan) Paola Subacchi ผู้อานวยการสถาบันวิจัยเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศของ Chatham House ได้วิเคราะห์ถึงสถานการณ์ในช่วงกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาซึ่งธนาคารกลางแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ตัดสินใจปรับลดอัตราอ้างอิงประจาวันลงถึง 1.9% การกระทาดังกล่าวส่อ ให้เห็นว่าจีนมีเจตนาที่ต้องการลดค่าเงินหยวนเพื่อกระตุ้นภาคการส่งออกให้มีศักยภาพในการ แข่งขันมากขึ้นเนื่องจากในช่วงปีที่ผ่าน มาจีนต้องเผชิญกับอัตราการส่งออกที่ ลดลงถึง 8.3% จนก่อให้เกิดภาวะต้นทุน สูงของภาคธุรกิจและลุกลามไปถึงปัญหา การเลิกจ้างแรงงานอย่างต่อเนื่อง การ ปรับลดค่าเงินหยวนของจีนในครั้งนี้ จึงนับเป็นการปรับลดครั้งใหญ่ที่สุด ในรอบ 20 ปี ซึ่งทาให้ค่าเงินหยวนตก ลงไปถึง 1.8% ขณะเดียวกัน ความเคลื่อนไหวดังกล่าวของจีนก็ได้สร้างความกังกลให้แก่ประชาคมเศรษฐกิจ โลกอยู่ไม่น้อย โดยจีนถูกเพ่งเล็งว่าพยายามใช้นโยบายลดค่าเงินเพื่อสร้างความได้เปรียบด้าน การค้าและสร้างอานาจในการครอบงาเศรษฐกิจในโลก ซึ่งการกระทานี้เสมือนเป็นการมุ่งเน้นแต่ เพียงสร้างความก้าวหน้าให้เศรษฐกิจภายในประเทศโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่มีต่อประเทศอื่นๆ ในมุมมองของ Subacchi สิ่งที่ตามมาจากการปรับลดค่าเงินของจีนลงอย่างมากนี้ มีความ เป็นไปได้ที่จะกระตุ้นให้เกิด “สงครามค่าเงิน” ที่ประเทศอื่นๆ ต่างก็พยายามที่จะกดค่าเงินของ ตนเองลงเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการแข่งขันจนในที่สุดอาจนาไปสู่การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ โลกได้ ดังนั้น เพื่อป้องกันมิให้ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้น จีนจึงควรหันมาพิจารณากาหนดอัตรา แลกเปลี่ยนที่สะท้อนถึง อุปสงค์และอุปทานที่แท้จริง หรือไม่ก็ควรปรับค่าเงินหยวนให้กลับมาเท่า อัตราแลกเปลี่ยนในระดับเดิมเพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างความผันผวนในเศรษฐกิจโลก Photo: Getty Images.
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต EUROPEAN COUNCIL ON FOREIGN RELATIONS ในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน European Council on Foreign Relations ได้นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวของประเทศในภูมิเอเชีย โดยเฉพาะประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง ญี่ปุ่น – จีน – เกาหลีใต้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การเดินเกมที่ชาญฉลาดของนายกรัฐมนตรีอาเบะ (Abe’s clever game) Photo: http://www.planet101fm.ng/ เมื่อช่วงเวลาครบรอบการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ใกล้เวียนมาถึง ทั่วโลกต่างตั้งตารอผู้นา ญี่ปุ่นในการออกมากล่าวราลึกถึงเหตุการณ์ดังกล่าวซึ่งที่ผ่านมาญี่ปุ่นในฐานะประเทศผู้ก่อสงคราม ยังคงแสดงท่าทีแข็งกร้าวจนสร้างความไม่พอใจให้แก่ประเทศผู้สูญเสียจากสงครามโดยเฉพาะจีนและ เกาหลีมาโดยตลอด แต่ในครั้งนี้ François Godement ผู้อานวยการแผนงานเอเชียและจีนของ Euro- pean Council on Foreign Relations ได้วิเคราะห์ถึงการแสดงจุดยืนที่เปลี่ยนไปของนาย Shinzo Abe นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น โดยงานราลึกครบรอบ 70 ปีที่ญี่ปุ่นยอมจานนในสงครามโลกครั้งที่ 2 นาย Abe ได้กล่าวสุนทรพจน์แสดงความต้องการก้าวข้ามกับดักทางประวัติศาสตร์ที่ทาให้ญี่ปุ่นยังวนเวียน อยู่กับความขัดแย้งไม่มีที่สิ้นสุด โดยสุนทรพจน์ดังกล่าวมีใจความสาคัญใน 3 ประเด็น ได้แก่  ญี่ปุ่นขอแสดงความเสียใจและความสานึกผิดอย่างสุดซึ้งต่อผู้สูญเสียโดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งต้อง บาดเจ็บทั้งทางกายและใจจากสงคราม(โดยหลีกเลี่ยงการกล่าวถึงประเด็น Comfort Women) อีกทั้งยังแสดงความขอบคุณต่อจีนที่ยอมปล่อยตัวนักโทษในสงครามชาวญี่ปุ่นให้กลับบ้าน  ญี่ปุ่นยอมรับแต่โดยดีว่าความสูญเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับประชาชนและแผ่นดินญี่ปุ่นจาก ระเบิดนิวเคลียร์เกิดจากการตัดสินใจดาเนินนโยบายที่ผิดพลาดของญี่ปุ่นเอง
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  ญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับจีนเหนือเพื่อนบ้านประเทศอื่นๆ ในเอเชีย โดยพยายามหลีกเลี่ยงการขับ เคี่ยวกับจีนในการขึ้นเป็นผู้นาระเบียบโลก ตลอดจนแสดงความชื่นชมในความขยันและอดทน ของชาวจีน การแสดงจุดยืนของนาย Abe ในครั้งนี้นับเป็นการดาเนินนโยบายทางการทูตที่ดีเยี่ยม เพราะที่ผ่านมาทุกครั้งที่ญี่ปุ่นมีความไม่ลงรอยกับเกาหลีใต้ จีนจะให้การสนับสนุนเกาหลีใต้ในการร่วม กดดันญี่ปุ่นโดยตลอด แต่การแสดงความเป็นมิตรกับจีนอย่างเปิดเผยของนาย Abe ในครั้งนี้ทาให้จีน พอใจมาก โดยทางการจีนได้ตอบสนองด้วยการประกาศถึงจุดยืนที่เป็นกลางมากขึ้นและพยายาม หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการปะทะในประเด็นความขัดแย้งระหว่างญี่ปุ่น – เกาหลีใต้ นอกจากนี้ทางการจีนยัง ได้เชิญนาย Abe ร่วมงานครบรอบการสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่จีนจะจัดขึ้นในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.2558 ซึ่งแม้จะคาดการณ์ได้ว่านาย Abe อาจไม่เข้าร่วมงานดังกล่าวแต่ก็มีแนวโน้มที่ชัดเจนว่านาย Abe จะเดินทางเยือนจีนเพื่อพบปะกับผู้นาจีนในภายหลัง ซึ่งเหตุการณ์เหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดขึ้นระหว่างญี่ปุ่นและจีน
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Paola Subacchi . The Curious Case of China’s Falling Yuan. Chathum House. ออนไลน์: http://www.chathamhouse.org/expert/comment/curious-case-chinas-falling-yuan François Godement . Abe’s clever game. European Council on Foreign Relations. ออนไลน์: http://www.ecfr.eu/article/commentary_abes_clever_game_4003 World Health Organization. Viet Nam: Closer to bringing drinking water and sanitation to all. ออนไลน์: http://www.who.int/features/2015/viet-nam-water-sanitation/en/
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Thank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKING INSTITUTION เรียบเรียงโดย อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต BROOKING INSTITUTION ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Brooking Institutionได้นาเสนอประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับทวีปเอเชียที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ การประกาศลดอัตราค่าเงินหยวน : ผลกระทบต่อการเงินและเศรษฐกิจ ในทวีปแอฟริกา จากการที่จีนออกมาประกาศลดอัตราอ้างอิงของค่าเงินหยวนให้อ่อนลงเมื่อเทียบกับอัตรา ค่าเงินของดอลลาร์สหรัฐนั้น เป็นเรื่องที่สั่นสะเทือนต่อวงการตลาดโลกและกระทบต่อเศรษฐกิจ ภาพรวมในแต่ละภูมิภาคเป็นอย่างมาก โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเงิน ได้แสดงความเห็นว่า ปรากฏการณ์ดังกล่าว เป็นเพียง “สงครามทางการเมืองเกี่ยวกับค่าเงิน” โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้าน การเงินหลากหลายท่านได้วิเคราะห์ถึงเจตจานงค์ของจีนในการทาให้ค่าเงินหยวนมีเสถียรภาพ มี ความสาคัญ และมีความเป็นสากลมากขึ้น โดยจีนมีความต้องการในการเพิ่มอัตราการใช้ค่าเงิน หยวนในต่างประเทศ เพื่อการพัฒนาในภาคการเงินของจีนเอง ตลอดจนลดการพึ่งพาเงินดอลลาร์ สหรัฐ รวมถึงเป็นการเสริมฐานะของจีนในการเป็นผู้เล่นสาคัญในระบบเศรษฐกิจโลกอีกด้วย นอกจากนี้ คาดว่าอีกหนึ่งความพยายามของจีน คือความต้องการในการนาเงินหยวนเข้าสู่ ตะกร้าเงินของ IMF ที่เรียกว่า Special Drawing Rights หรือ SDR โดยในปัจจุบันตะกร้านี้มีเงินอยู่ 4 สกุล คือ ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สหราชอาณาจักร เยนญี่ปุ่น และเงินยูโร จากการวิเคราะห์ ถ้าหาก จีนสามารถนาเงินหยวนเข้าสู่ตระกร้า SDR ได้ จะเป็นการเพิ่มความสาคัญให้กับเงินหยวนมากขึ้น ผ่านความต้องการของประเทศต่างๆในการถือเงินหยวนให้เป็นเงินสารองระหว่างประเทศ แต่ในอีกทางหนึ่งรายงานก็ได้แสดงถึงระบบการเงินและเศรษฐกิจภายในประเทศของจีนโดย รวมที่มีแนวโน้มตกต่าลงผ่านการกู้แบบไร้คุณภาพที่สะท้อนให้เห็นถึงมารตรฐานการอนุมัติสินเชื่อ โดยมีอัตราส่วนที่มากถึง 1.4% จาก GDP ทั้งหมด 73% นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงต่อความมั่นคง ทางด้านการเงินและเศรษฐกิจของจีน คือการขาดซึ่งรากฐานที่สาคัญของระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ การ พัฒนาและความโปร่งใส ทั้งนี้ในรายงานได้เแสดงให้เห็นถึง อัตราหนี้ของรัฐบาลท้องถิ่นที่มีมากถึง 35% ของ GDP ทั้งหมด รวมถึงปัญหาความไม่โปร่งใสของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ตลอดจน แนวโน้มที่จะเกิดฟองสบู่ในภาคส่วนอสังหาริมทรัพย์ที่มีมากถึง 115% ของ GDP ทั้งหมด
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผลกระทบต่อทวีปแอฟริกา จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าการปรับลดค่าเงินหยวนอย่างเหนือความคาดหมายของจีน ได้ส่งแรงสั่นสะเทือนทางด้านเศรษฐกิจอย่างรุนแรงไปในหลายภูมิภาค โดยภูมิภาคที่ถูกจับตามองที่สุด ว่าจะได้รับผลกระทบต่อการลดอัตราค่าเงินของจีนหรือไม่ คือ ทวีปแอฟริกา เพราะเป็นที่ทราบกันดีว่า หลายประเทศในทวีปแอฟริกามีโครงสร้างการส่งออกที่พึ่งพาตลาดในจีนสูงมาก และจีนก็เป็นประเทศคู่ ค้ารายใหญ่ที่สุดของทวีปแอฟริกาด้วย โดยผลกระทบที่เห็นได้อย่างชัดเจนที่สุด คือการร่วงต่าลงของสกุลเงินในหลายประเทศไม่ว่าจะ เป็นเงินแรนด์ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เงินควานซาของอังโกลา และเงินควานชาของแซมเบีย โดย เงินแรนด์ของสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ได้ร่วงลงต่าที่สุดในรอบ 14 ปี สถานการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อภาครวมการส่งออกและราคาสินค้าทางอ้อมใน หลากหลายประเทศของทวีปแอฟริกา โดยรายงานชิ้นนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการ เติบโตของอัตราการลงทุนในจีนที่ลดลง 1% สัมพันธ์ต่ออัตราการส่งออกในทวีปแอฟริกาที่ลดลง 0.6% โดยผลกระทบดังกล่าว ได้ส่งผลต่อผู้ค้าน้ามันที่มีส่วนแบ่งทางด้านการตลาดในจีนมากที่สุด นอกเหนือจากนี้ ยังได้ส่งผลกระทบต่อความต้องการในการบริโภคสินค้าที่ลดลง การแข่งขันของ สินค้าภายในประเทศของแอริฟกากับสินค้าราคาถูกของจีน รวมถึงค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผล ให้อัตราการลงทุนของนักธุรกิจจีนในทวีปแอฟริกาลดลงด้วย จากที่กล่าวมาในข้างต้น Amadou Sy ผู้อานวยการของ the Africa Growth Initiative และ นักวิจัยอาวุโส ได้แสดงให้เห็นว่าประเด็นปัญหที่าแท้จริงของแอฟริกา คือ แนวโน้มเศรษฐกิจของจีนที่ดู มีทีท่าว่าจะต่าลง ไม่ใช่การที่จีนประกาศลดอัตราค่าเงินหยวน เนื่องจากการค้าและการลงทุนในจีน ส่วนมากใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐเป็นตัวกลางมากกว่าสกุลเงินหยวน ทั้งนี้ Amadou Sy ได้เสนอให้นักนโยบายในหลายๆประเทศของแอฟริกา ให้ความสนใจกับ ประเด็นปัญหาเหล่านี้ รวมถึงหาแนวทางการรับมือและจัดการต่อผลกระทบดังกล่าว โดยเฉพาะการ ติดตามต่อ แนวโน้มด้านการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ด้านสาธารณูปโภค ด้านการพัฒนาเมือง อัตรา การบริโภค ตลอดจนแนวโน้มการบริการอุตสาหกรรม
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Brian Pinto. Hello China, meet Diaz-Alejandro! Interpreting the recent yuan devaluation. Brooking Institute. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/blogs/future-development/ posts/2015/08/24-china-yuan-devalue-pinto Amadou Sy. Chinese yuan devaluation is not the real concern for Africa: A weakened Chinese economy is. Brooking Institute. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/blogs/africa- in-focus/posts/2015/08/21-china-yuan-devaluation-africa-sy
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Thank ในภูมิภาคเอเชีย ASIA SOCIETY OBSERVER RESEARCH FOUNDATION CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCE เรียบเรียงโดย วีรวิชญ์ เอี่ยมแสง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Asia Society ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Asia Society ได้นาเสนอประเด็นประเทศ อินเดียเข้าร่วมเป็นสมาชิกเอเปก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ อินเดียเข้าร่วมเป็นสมาชิกความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิ ก (It's Time for India to Join APEC) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2558 นาย Kevin Rudd ประธานสถาบันนโยบายสังคมแห่งเอเชีย (Asia Society Policy Institute) ให้สัมภาษณ์ถึงความพร้อมของอินเดียในการเข้ามาเป็นสมาชิกความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) ได้กล่าวว่า อินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่และมีความสาคัญต่อภูมิภาค การเข้ามาเป็นสมาชิกเอเปก ของอินเดียจะทาให้เศรษฐกิจและการค้าโลกเติบโตมากขึ้น ทั้งนี้ อินเดียได้เตรียมการจัดทาข้อตกลงทางการค้าTrans-Pacific Partnership (TPP) 1 เพื่อ แสดงถึงความพร้อมที่จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเอเปกและระบบการค้าโลก ประโยชน์ของการเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกของอินเดีย 1) ประโยชน์ต่อประเทศอินเดีย การเข้ามาเป็นสมาชิกเอเปกสอดคล้องกับนโยบาย ต่างประเทศของอินเดียที่ “มุ่งตะวันออก (Act East)” ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในด้านความ ร่วมมือเศรษฐกิจในภูมิภาค และนับเป็นโอกาสที่ดีต่ออินเดียในการสร้างความสามารถใน การผลิตและยกระดับมาตรฐานด้านการค้าในประเทศด้วย 2) ประโยชน์ต่อกลุ่มเอเปก สอดคล้องกับประเทศในกลุ่มเอเปกที่มีความต้องการขยาย ตลาดในด้านอาหารและบริการ เนื่องจากประเทศอินเดียมีอัตราการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นใน กลุ่มชนชั้นกลาง ประกอบกับอินเดียสามารถเป็นตัวกลางในการเชื่อมความสัมพันธ์กับ สหรัฐฯในการทาข้อตกลงและเจราจาด้านการค้าได้ราบรื่น 3) ประโยชน์ต่อภูมิภาคและโลก การเข้ามาเป็นสมาชิกของประเทศอินเดียทาให้ เศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและในตลาดโลกมีความหลากหลายทางการค้ามากขึ้น โดยจะ ส่งผลให้ประเทศต่างๆเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้นในภูมิภาคเอเชีย ———————————————— 1 ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement : TPP) เป็นความตกลงการค้าเสรีกรอบพหุภาคีที่มีมาตรฐานสูง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการบูรณาการทางเศรษฐกิจในด้านการเปิดตลาด การค้าสินค้า บริการและการลงทุน การปฏิรูป การสร้างความสอดคล้องในกฎระเบียบทางเศรษฐกิจให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งนี้ นาย Kevin Rudd ได้วิเคราะห์ว่า “การเข้าร่วมของอินเดียมีความน่าสนใจมาก ซึ่ง อินเดียมีความต้องการในการเติบโตทางเศรษฐกิจภายในสองทศวรรษ นับเป็นโอกาสที่ดีที่หาได้ ยากสาหรับอินเดียในการเข้าเป็นสมาชิก นอกจากนี้การเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเอเปกของอินเดีย ยังเป็นการสร้างสถาบันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคให้มีความเข้มแข็งในศตวรรษที่ 21” OBSERVER RESEARCH FOUNDATION ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Observer Research Foundation ได้นาเสนอประเด็นความเคลื่อนไหวระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้โดยมีสาระสาคัญดังนี้ สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ : การร่วมมือกับประเทศจีนในยุทธศาสตร์หนึ่ง แถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) สถาบัน Observer Research Foundation ได้เผยแพร่เอกสารรายงานประจาเดือนสิงหาคม 2558 เรื่อง SAARC: The Way Ahead โดย Jayshree Sengupta นักวิจัยของสถาบัน ซึ่งกล่าวถึง แนวทางการดาเนินงานของสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ในการเชื่อมต่อภูมิภาค (Connectivity)เข้ากับภูมิภาคอาเซียน ยุโรป โดยเฉพาะการให้ความสาคัญกับข้อเสนอของจีนใน ยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road)” โดยมีจุดมุ่งหมายในด้านความ ร่วมมือระหว่างประเทศและโครงการการพัฒนาในเขตภูมิภาคเอเชีย หากพิจารณาถึงความสัมพันธ์ด้านการค้าระหว่างประเทศของจีนกับกลุ่มประเทศใน ภูมิภาคเอเชียใต้เห็นได้ชัดเจนว่า จีนเป็นประเทศที่มีบทบาทความสาคัญทางการเงินให้กับ ภูมิภาคเอเชียใต้ ในการลงทุนโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการสร้างเครือข่ายระหว่าง ภูมิภาค ทั้งนี้หลายประเทศในกลุ่มสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ เช่น อัฟกานิสถาน ปากีสถาน และศรีลังกา ได้ให้ความสนใจเข้าร่วมในข้อเสนอ “เส้นทางสายไหมใหม่ (the Mari- time silk Road)” ซึ่งประเทศปากีสถานได้ตอบรับข้อตกลงของจีนในข้อเสนอการสร้างเขต เศรษฐกิจระหว่างประเทศตามยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งนี้ Jayshree Sengupta ได้แสดงความเห็นว่า “ประเทศจีนมีบทบาทอย่างสาคัญในการ พัฒนาและการลงทุนในระบบเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศเอเชียใต้ ซึ่งจีนนับเป็นตัวแสดงหลักที่ส่งผลต่อ การพัฒนาโครงการหรือการขยายขนาดเศรษฐกิจของภูมิภาค” โดยจีนเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ซึ่งมีศักยภาพในการผลักดันเศรษฐกิจในประเทศ ขนาดเล็กของภูมิภาคเอเชียใต้ นอกจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนมีอัตราการเติบโตที่สูง ประเทศจีนยังมีการร่วมมือระหว่างประเทศต่างๆในภูมิภาคในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งนาย Xi Jinping ประธานาธิบดีจีนได้มีข้อเสนอกับสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ในส่วนหนึ่งของ ยุทธศาสตร์ หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One Belt, One Road) ในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดย ประเทศจีนจะเพิ่มงบประมาณในการพัฒนาประมาณ 30 พันล้านดอลลาร์ ประกอบกับให้ความ ช่วยเหลือในการศึกษาโดยการมอบทุนการศึกษาสาหรับเยาวชนในภูมิภาคเอเชียใต้ กว่า 10,000 ทุน CHINESE ACADEMY OF SOCIAL SCIENCES ในรอบเดือนสิงหาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา สถาบัน Chinese Academy of Social Science ได้ นาเสนอประเด็นการขยายความร่วมมือขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ การขยายความร่วมมือขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้: โอกาสและความท้าทาย ( SCO expansion offers opportunities but also challenges) Zeng Xianghong นักวิจัยสถาบัน Chinese Academy of Social Scienceได้วิเคราะห์ถึง แนวทางในอนาคตขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organization :SCO) ซึ่งองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ เป็นองค์กรที่มีบทบาทสาคัญในด้านเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย จึงทา ให้ประเทศตะวันตกมีความสนใจในการพัฒนาโดยตรงในเขตภูมิภาคเอเชีย โดยองค์การความร่วมมือ เซี่ยงไฮ้ได้ขยายความร่วมมือให้ครอบคลุมถึงด้าน การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และพลังงาน ทั้งนี้ การขยายความร่วมมือส่งผลให้เกิดโอกาสและความท้าทายต่อองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้โดยมี รายละเอียดดังนี้  องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ได้ขยายขนาดและการสนับสนุนไปยังประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากให้ความสาคัญกับประเทศซึ่งมีอานาจทางเศรษฐกิจ และมีความสนใจในการ ร่วมมือกับประเทศที่มีศักยภาพในการพัฒนาด้านเทคโนโลยี
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  โอกาสการขยายความร่วมมือในประเทศที่ได้ลงนามในข้อเสนอยุทธศาสตร์ “หนึ่งแถบหนึ่ง เส้นทาง (One Belt, One Road)” ซึ่งลงทุนการพัฒนาเส้นทางสายไหม ซึ่งร่วมมือกับ ประเทศจีนในแผนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและทางการทูต  การขยายความร่วมมือผลขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้อาจจะส่งผลต่อเรื่องความ แน่นแฟ้นขององค์กรซึ่งทาให้มีประเทศสมาชิกเพิ่มมากขึ้นและการแสดงความคิดเห็นของ ประเทศสมาชิกมีมากขึ้นด้วย จึงอาจจะก่อให้เกิดปัญหาเรื่องความไม่ลงรอยกันของสมาชิก ตามมา  สถานการณ์ปัจจุบันของประเทศสมาชิกได้ประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้น แผนการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศจีนในการพัฒนาเส้นทางต่างๆในอนาคตอาจจะ เกิดความยากลาบากในการหาเงินทุนเพื่อมาขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวทางที่วางไว้ ในมุมมองของ Zeng Xianghong ได้เห็นความสาคัญในการขยายความร่วมมือขององค์การ ความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ซึ่งมีบทบาทอย่างสาคัญต่อประเทศสมาชิก และในขณะเดียวกันประเทศจีนเองได้ เห็นถึงความสาคัญในด้านการจัดวางระบบการทางานขององค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกสูงสุดในอนาคต
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เอกสารอ้างอิง Asia Society. “It's Time for India to Join APEC”.ออนไลน์ : http://asiasociety.org/blog/asia/ kevin-rudd-and-ajay-banga-its-time-india-join-apec Jayshree Sengupta. “SAARC: The way Ahead” :ออนไลน์ http://www.orfonline.org/cms/export/ orfonline/modules/issuebrief/attachments/ORF_Issuebrief_102_1439456714663.pdf Zeng Xianghong, Li Tingkang. “SCO expansion offers opportunities but also challenges”. ออนไลน์ : http://english.cssn.cn/research/internationalstudies/201412/ t20141212_1440489.shtml
  • 19. 16 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจ ของ Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOPMENT STRATEGIES) เรียบเรียงโดย อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
  • 20. 17 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ (KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL DEVELOP- MENT STRATEGIES) ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดกิจกรรม ต่างๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ รายงานเอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ 6 ประจาเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในเดือนที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้ออกรายงานเอกสาร East & South East Asia Monitor ครั้งที่ 6 ประจาเดือน มิถุนายน พ.ศ.2558 โดยรายงานได้นาเสนอถึงสถานการณ์ และประเด็นต่างๆที่เกิดขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนี้ ภูมิภาคเอเชียตะวันออก 1. จีน  โศกนาฏกรรมเรือท่องเที่ยว The Eastern Star (เส้นทางนานกิง-ฉงชิ่ง) ของ Chongqing Eastern Shipping Corporation พลิกคว่า  สถานการณ์ความตึงเครียดทางการเมืองภายในฮ่องกง : กรณีที่ชาวฮ่องกงไม่สามารถ เลือกตั้งผู้บริหารของตนเองได้โดยตรง  กรณีควบคุมตัวนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนในฮ่องกง  Ai Weiwei ศิลปินนักวิพากษ์สังคมชาวฮ่องกง  แผนการสร้างฐานทัพทางทะเลขนาดใหญ่ที่เมืองเหวินโจว(Wenzhou) มณฑลเจอเจียง (Zhejiang)  กรอบการเจรจาทางเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ (Strategic and Economic Dialogue: S&ED)  ธนาคารการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank: AIIB) 2. คาบสมุทรเกาหลี  ความร่วมมือของเกาหลีใต้และเกาหลีในการขุดสารวจแหล่งโบราณสถานมานโวแด (Manwodae) เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก  การแพร่ระบาดของโรคอาการทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome: MERS)
  • 21. 18 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3. ญี่ปุ่น  การเดินทางเยือนญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการของผู้นาฟิลิปปินส์  ความพยายามในการผลักดันกฎหมายที่กระทบต่อคะแนนนิยมของนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน  กรณีที่เกาหลีใต้ประท้วง UNESCO ต่อการที่ญี่ปุ่นขอขึ้นทะเบียน “แหล่งปฏิวัติอุตสาหกรรม เมติของญี่ปุ่น” เป็นมรดกโลก เนื่องจากเอกสารที่ญี่ปุ่นยื่นกับ UNESCO นั้นขาดการระบุ เนื้อหาว่า แหล่งปฏิวัติอุตสาหกรรมเมติเป็นแหล่งเกณฑ์และใช้แรงงานชาวเกาหลีเยี่ยงทาส  ภาพยนต์ Animation เรื่อง Stand By Me จากซีรี่ย์ Doraemon ช่วยผ่อนคลายทิศทาง ความสัมพันธ์ระหว่างจีนและญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  แผ่นดินไหวในมาเลเซียที่เกาะบอร์เนียวทางฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก  โรฮิงญาและการลักลอบค้ามนุษย์  ปัญหาการลักลอบค้ามนุษย์ในเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างอินโดนีเซียกับออสเตรเลีย  การจัดโครงสร้างหลักสูตรความรู้ (curricula) และการผลิตครู เอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส East & South Seat Asia Monitor ครั้งที่ 2 ประจาเดือน เมษายน – มิถุนายน พ.ศ. 2558 ในเดือนที่ผ่านมา สถาบันคลังปัญญาได้เสนอเอกสารวิเคราะห์รายไตรมาส East & South East Asia Monitor ครั้งที่ 2 ประจาเดือนเมษายน – มิถุนายน 2558 โดย ผศ. ดร.วรารัก เฉลิมพันธุ์ศักดิ์ อาจารย์ประจาสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีตัวอย่างประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. ภูมิภาคเอเชียตะวันออก (East Asia) ด้านเศรษฐกิจ  มาตรการเชิงรุกของจีนในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างจีน-สหรัฐ-ญี่ปุ่นในภูมิภาค โดย จีน จัดตั้งระเบียงเศรษฐกิจจีน-ปากีสถาน (CPEC) และที่สาคัญคือจัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank: AIIB)  ญี่ปุ่น พยายามผลักดันข้อตกลงการค้า TransPacific Partnership (TPP) กับสหรัฐ แต่ยังตก ลงกันไม่ได้เรื่องการส่งออกรถกระบะจากญี่ปุ่นไปตลาดสหรัฐ และญี่ปุ่นซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของ AIIB เพิ่มการให้งบประมาณอีกร้อยละ 30 ในธนาคาร ADB ของตน  ปักกิ่งยังคงให้ความสาคัญกับการเจรจาทวิภาคีระดับรัฐมนตรีภายใต้กรอบการเจรจาทาง เศรษฐกิจและยุทธศาสตร์ (Strategic and Economic Dialogue: S&ED) กับสหรัฐมูลค่าการค้า ระหว่างกัน 590 ล้านล้านดอลลาร์  จีนเดินหน้าจัดการคอร์รัปชั่นอย่างต่อเนื่อง จากคดี นาย ป๋อ ซีไหล มากรณีนาย โจว หยงคัง หัวหน้าหน่วยความมั่นคงของจีน รวมทั้งกรณีผู้บริหารเมืองนานจิง นายจี เจียนยี ด้วย ทั้งหมด นี้อาจมองว่าเป็นกระบวนการกระชับอานาจของผู้นาจีนรุ่นสีจิ้นผิงด้วย
  • 22. 19 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ด้านความมั่นคง  ด้านหนึ่งความตึงเครียดจีน-สหรัฐดูมีแนวโน้มลดลงหลังจีนประกาศหยุดดาเนินโครงการ ก่อสร้างปรับพื้นที่ถมทะเลในหมู่เกาะสแปรตลีย์ (ภายหลังโครงการก่อสร้างเสร็จสิ้นตามแผน ของทางการจีน)  อีกด้านหนึ่ง จีนประกาศสร้างฐานทัพทางทะเลขนาดใหญ่ที่เมืองเหวินโจว (Wenzhou) มณฑล เจอเจียง (Zhejiang) ไม่ไกลจากเกาะเซนคาคุ (Senkaku) ที่พิพาทอยู่กับญี่ปุ่น  ขณะที่ญี่ปุ่นยังเพิ่มภาวะตึงเครียดด้วยการผลักดันเรื่องการตีความรัฐธรรมนูญมาตรา 9 ใหม่ ของรัฐบาลอาเบะเพื่อพยายามขยายกรอบการดาเนินการด้านความมั่นคงนอกประเทศ และ การซ้อมรบกับหลายประเทศในภูมิภาคที่เป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นและสหรัฐฯ ด้านสังคม-วัฒนธรรม  กระแสเชิงบวกสวนทางความตึงเครียดจากด้านความมั่นคง เช่น กระแสตอบรับล้นหลามของ ผู้ชมชาวจีนต่อภาพยนตร์ Doraemon ภาค Stand By me ของญี่ปุ่น เป็นต้น 2. ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia)  ประเด็นการค้ามนุษย์โรฮิงญา สร้างผลกระทบและข้อวิพากษ์วิจารณ์ด้านการจัดการปัญหาแก่ ทั้ง เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย รวมทั้ง บทบาทของมหาอานาจภายนอกภูมิภาค อย่างสหรัฐอเมริกา  การขยายตัวของขบวนการก่อการร้าย IS มายังภูมิภาค จากกรณีการจับกุมผู้ต้องสงสัย ที่คาด ว่าเชื่อมโยงกับกลุ่ม IS ในมาเลเซีย  ความขัดแย้งระหว่างชาติสมาชิกอาเซียน – จีน กรณีพิพาททะเลจีนใต้ ที่ตึงเครียดขึ้น เช่น จากการซ้อมรบใหญ่ที่สุดที่เคยมีระหว่างฟิลิปปินส์-สหรัฐและการถมทะเลของเวียดนามใน บริเวณเขตหมู่เกาะสแปรตลีย์แข่งกับจีน และกระชับสัมพันธ์ของทหารเวียดนามกับฟิลิปปินส์ที่ มีความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ระหว่างกันเช่นกัน เพื่อรวมพลังคานอานาจจีน  ความขัดแย้งชายแดนระหว่างเมียนมาร์-จีน จากปัญหาผู้อพยพกว่า 60,000 คน ที่เกิดจากการ สู้รบระหว่างกองทัพเมียนมาร์-กับชนกลุ่มน้อยโกก้าง เข้าไปในเขตมณฑลยูนนานของจีน
  • 23. 20 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล นายวีรวิชญ์ เอี่ยมแสง นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่พิมพ์: สิงหาคม 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064