SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ประวัติบาสเกตบอล 
บาสเกตบอล ( Basketball) เป็นกีฬาประจาชาติอเมริกัน ถูกคิดขึ้น เพื่อต้องการช่วยเหลือบรรดาสมาชิก Y.M.C.A. ได้เล่นกีฬาในฤดูหนาว เนื่องจากในช่วงฤดูหนาวสภาพพื้นภูมิประเทศโดยทั่วๆไป ถูกหิมะปกคลุม อันเป็นอุปสรรคในการเล่นกีฬากลางแจ้ง เช่น อเมริกันฟุตบอล เบสบอล คณะกรรมการสมาคม Y.M.C.A. ได้ พยายามหาหนทางแก้ไขให้บรรดาสมาชิกทั้งหลายได้เล่นกีฬาในช่วงฤดูหนาวโดยไม่บังเกิดความเบื่อหน่าย ในปี ค.ศ.1891 Dr.James A.Naismith ครูสอนพลศึกษาของThe International Y.M.C.A. Training School อยู่ที่ เมือง Springfield รัฐ Massachusetts ได้รับมอบหมายจาก Dr.Gulick ให้เป็นผู้คิดค้นการเล่นกีฬาในร่มที่ เหมาะสมที่จะใช้เล่นในช่วงฤดูหนาว Dr.James ได้พยายามคิดค้นดัดแปลงการเล่นกีฬาอเมริกันฟุตบอลและเบส บอลเข้าด้วยกันและให้มีการเล่นที่เป็นทีม ในครั้งแรก Dr.James ได้ใช้ลูกฟุตบอลและตะกร้าเป็นอุปกรณ์สาหรับให้นักกีฬาเล่น เขาได้นาตะกร้าลูก พีชไปแขวนไว้ที่ฝาผนังของห้องพลศึกษา แล้วให้ผู้เล่นพยายามโยนลูกบอลลงในตะกร้านั้นให้ได้ โดยใช้เนื้อที่ สนามสาหรับเล่นให้มีขนาดเล็กลงแบ่งผู้เล่นออกเป็นข้างละ 7 คน ผลการทดลองครั้งแรกผู้เล่นได้รับความ สนุกสนานตื่นเต้น แต่ขาดความเป็นระเบียบ มีการชนกัน ผลักกัน เตะกัน อันเป็นการเล่นที่รุนแรง ในการทดลองนั้น ต่อมา Dr.James ได้ตัดการเล่นที่รุนแรงออกไป และได้ทาการวางกติกาห้ามผู้เล่นเข้า ปะทะถูกเนื้อต้องตัวกัน นับได้ว่าเป็นหลักเบื้องต้นของการเล่นบาสเกตบอล Dr.James จึงได้วางกติกาการเล่น บาสเกตบอลไว้เป็นหลักใหญ่ๆ 4 ข้อ ด้วยกัน คือ 1. ผู้เล่นที่ครอบครองลูกบอลอยู่นั้นจะต้องหยุดอยู่กับที่ห้ามเคลื่อนที่ไปไหนประตูจะต้องอยู่เหนือศีรษะของผู้ เล่น และอยู่ขนานกับพื้น 2. ผู้เล่นสามารถครอบครองบอลไว้นานเท่าใดก็ได้ โดยคู่ต่อสู้ไม่อาจเข้าไปถูกต้องตัวผู้เล่นที่ครอบครองบอลได้ 3. ห้ามการเล่นที่รุนแรงต่างๆโดยเด็ดขาด ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายจะต้องไม่กระทบกระแทกกันเมื่อได้วางกติกาการ เล่นขึ้นมาแล้วก็ได้นาไปทดลอง และพยายามปรับปรุงแก้กไขระเบียบดีขึ้น เขาได้พยายามลดจานวนผู้เล่นลงเพื่อ หลีกเลี่ยงการปะทะกัน จนในที่สุดก็ได้กาหนดตัวผู้เล่นไว้ฝ่ายละ 5 คน ซึ่งเป็นจานวนที่เหมาะสมที่สุดกับขนาด เนื้อที่สนามDr.James ได้ทดลองการเล่นหลายครั้งหลายหน และพัฒนาการเล่นเรื่อยมา จนกระทั่งเขาได้เขียน กติกาการเล่นไว้เป็นจานวน 13 ข้อ ด้วยกัน และเป็นต้นฉบับการเล่นที่ยังคงปรากฏอยู่บนกระดานเกียรติยศใน โรงเรียนพลศึกษา ณ Springfield อยู่จนกระทั่งทุกวันนี้
กติกา 13 ข้อ ของ Dr.James มีดังนี้ 1. ผู้เล่นห้ามถือลูกบอลแล้ววิ่ง 2. ผู้เล่นจะส่งบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรือสองมือก็ได้ 3. ผู้เล่นจะเลี้ยงบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรือสองมือก็ได้ 4. ผู้เล่นต้องใช้มือทั้งสองเข้าครอบครองบอล ห้ามใช้ร่างกายช่วยในการครอบครองบอล 5. ในการเล่นจะใช้ไหล่กระแทก หรือใช้มือดึง ผลัก ตี หรือทาการใดๆให้ฝ่ายตรงข้ามล้มลงไม่ได้ ถ้าผู้เล่นฝ่าฝืน ถือเป็นการฟาวล์ 1 ครั้ง ถ้า ฟาวล์ 2 ครั้ง หมดสิทธิ์เล่น จนกว่าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาประตูกันได้จึงจะกลับมาเล่นได้ อีก ถ้าเกิดการบาดเจ็บระหว่างการแข่งขัน จะไม่มีการเปลี่ยนตัวผู้เล่น 6. ห้ามใช้ขาหรือเท้าแตะลูก ถือเป็นการฟาวล์ 1 ครั้ง 7. ถ้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาฟาวล์ติดต่อกัน 3 ครั้ง ให้อีกฝ่ายหนึ่งได้ประตู 8. ประตูที่ทาได้หรือนับว่าได้ประตูนั้น ต้องเป็นการโยนบอลให้ลงตะกร้า ฝ่ายป้องกันจะไปยุ่งเกี่ยวกับประตู ไม่ได้เด็ดขาด 9. เมื่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาลูกบอลออกนอกสนาม ให้อีกฝ่ายหนึ่งส่งลูกเข้ามาจากขอบสนามภายใน 5 วินาที ถ้า เกิน 5 วินาที ให้เปลี่ยนส่ง และถ้าผู้เล่นฝ่ายใดพยายามถ่วงเวลาอยู่เสมอให้ปรับเป็นฟาวล์ 10. ผู้ตัดสินมีหน้าที่ตัดสินว่าผู้เล่นคนใดฟาวล์ และลงโทษให้ผู้เล่นหมดสิทธิ์ 11. ผู้ตัดสินมีหน้าที่ตัดสินว่าลูกใดออกนอกสนาม และฝ่ายใดเป็นฝ่ายส่งลูกเข้าเล่น และจะทาหน้าที่เป็นผู้รักษา เวลาบันทึกจานวนประตูที่ทาได้ และทาหน้าที่ทั่วไปตามวิสัยของผู้ตัดสิน 12. การเล่นแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งๆละ 20 นาที 13. ฝ่ายที่ทาประตูได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ ในกรณีคะแนนเท่ากันให้ต่อเวลาออกไป และถ้าฝ่ายใดทาประตูได้ ก่อนถือว่าเป็นฝ่ายชนะ

More Related Content

What's hot

Retaining walls
Retaining wallsRetaining walls
Retaining walls
Rahul
 
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2dAnalysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
Ing. Stevengerrar Reyes
 

What's hot (20)

Chapter 3. Lateral Earth Pressure.pdf
Chapter 3. Lateral Earth Pressure.pdfChapter 3. Lateral Earth Pressure.pdf
Chapter 3. Lateral Earth Pressure.pdf
 
Lecture 8 raft foundation
Lecture 8 raft foundationLecture 8 raft foundation
Lecture 8 raft foundation
 
liquefaction of soil
liquefaction of soilliquefaction of soil
liquefaction of soil
 
Analysis of vertically loaded pile foundation
Analysis of vertically loaded pile foundationAnalysis of vertically loaded pile foundation
Analysis of vertically loaded pile foundation
 
Prestressing ppt
Prestressing pptPrestressing ppt
Prestressing ppt
 
Pile foundation
Pile foundationPile foundation
Pile foundation
 
Retaining walls
Retaining wallsRetaining walls
Retaining walls
 
Various types of retaining walls
Various types of retaining wallsVarious types of retaining walls
Various types of retaining walls
 
Analisa pada bangunan gedung bertingakat
Analisa pada bangunan gedung bertingakatAnalisa pada bangunan gedung bertingakat
Analisa pada bangunan gedung bertingakat
 
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2dAnalysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
Analysis of-geotextile-reinforced-road-embankment-using-plaxis-2d
 
construction equipment(VIBRATOR)
construction equipment(VIBRATOR)construction equipment(VIBRATOR)
construction equipment(VIBRATOR)
 
Pondasi 1
Pondasi 1Pondasi 1
Pondasi 1
 
Abdurrohman muarif (2101171086)
Abdurrohman muarif (2101171086)Abdurrohman muarif (2101171086)
Abdurrohman muarif (2101171086)
 
Pile foundations
Pile foundationsPile foundations
Pile foundations
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pervious Concrete ppt
Pervious Concrete pptPervious Concrete ppt
Pervious Concrete ppt
 
Data teknis
Data teknisData teknis
Data teknis
 
Methods Of Improving Soil Bearing Capacity
Methods Of Improving Soil Bearing CapacityMethods Of Improving Soil Bearing Capacity
Methods Of Improving Soil Bearing Capacity
 
Soil improvement techniques
Soil improvement techniquesSoil improvement techniques
Soil improvement techniques
 
Applications of Vane Shear Test in Geotechnical soil investigations
Applications of Vane Shear Test in Geotechnical soil investigationsApplications of Vane Shear Test in Geotechnical soil investigations
Applications of Vane Shear Test in Geotechnical soil investigations
 

Viewers also liked

Autopresentación iria val otero
Autopresentación iria val oteroAutopresentación iria val otero
Autopresentación iria val otero
Iria Val Otero
 
Diapositivas de 102
Diapositivas de 102Diapositivas de 102
Diapositivas de 102
gpool-scout
 
ies fuentebuena PIP marga
ies fuentebuena PIP marga ies fuentebuena PIP marga
ies fuentebuena PIP marga
margopu
 
Test
TestTest
Test
30017
 
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
santiagonjo
 
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
fahsrisakul
 
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Chayanis
 
Dossier indoor iafi
Dossier indoor iafiDossier indoor iafi
Dossier indoor iafi
Joan Celma
 

Viewers also liked (20)

Tellagami ohje
Tellagami ohjeTellagami ohje
Tellagami ohje
 
Daños+dro..[1]
Daños+dro..[1]Daños+dro..[1]
Daños+dro..[1]
 
Vätternrundan 2012
Vätternrundan 2012Vätternrundan 2012
Vätternrundan 2012
 
Autopresentación iria val otero
Autopresentación iria val oteroAutopresentación iria val otero
Autopresentación iria val otero
 
Diapositivas de 102
Diapositivas de 102Diapositivas de 102
Diapositivas de 102
 
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง จิดาภาเรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง จิดาภา
 
'ko
'ko'ko
'ko
 
ies fuentebuena PIP marga
ies fuentebuena PIP marga ies fuentebuena PIP marga
ies fuentebuena PIP marga
 
Test
TestTest
Test
 
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
Tecnico+en+sistemas+v1 (2)
 
La celula
La celulaLa celula
La celula
 
Chapter 5.2
Chapter 5.2Chapter 5.2
Chapter 5.2
 
PAUTA DE COTEJO.
PAUTA DE COTEJO.PAUTA DE COTEJO.
PAUTA DE COTEJO.
 
K5
K5K5
K5
 
ANIMACIONES
ANIMACIONESANIMACIONES
ANIMACIONES
 
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
ภาษาไทย 7 วิชาสามัญ
 
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
Pat4ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
 
Katalog Aneka Tiang Lampu
Katalog Aneka Tiang LampuKatalog Aneka Tiang Lampu
Katalog Aneka Tiang Lampu
 
Dossier indoor iafi
Dossier indoor iafiDossier indoor iafi
Dossier indoor iafi
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

Titisan 5 2 4

  • 1. ประวัติบาสเกตบอล บาสเกตบอล ( Basketball) เป็นกีฬาประจาชาติอเมริกัน ถูกคิดขึ้น เพื่อต้องการช่วยเหลือบรรดาสมาชิก Y.M.C.A. ได้เล่นกีฬาในฤดูหนาว เนื่องจากในช่วงฤดูหนาวสภาพพื้นภูมิประเทศโดยทั่วๆไป ถูกหิมะปกคลุม อันเป็นอุปสรรคในการเล่นกีฬากลางแจ้ง เช่น อเมริกันฟุตบอล เบสบอล คณะกรรมการสมาคม Y.M.C.A. ได้ พยายามหาหนทางแก้ไขให้บรรดาสมาชิกทั้งหลายได้เล่นกีฬาในช่วงฤดูหนาวโดยไม่บังเกิดความเบื่อหน่าย ในปี ค.ศ.1891 Dr.James A.Naismith ครูสอนพลศึกษาของThe International Y.M.C.A. Training School อยู่ที่ เมือง Springfield รัฐ Massachusetts ได้รับมอบหมายจาก Dr.Gulick ให้เป็นผู้คิดค้นการเล่นกีฬาในร่มที่ เหมาะสมที่จะใช้เล่นในช่วงฤดูหนาว Dr.James ได้พยายามคิดค้นดัดแปลงการเล่นกีฬาอเมริกันฟุตบอลและเบส บอลเข้าด้วยกันและให้มีการเล่นที่เป็นทีม ในครั้งแรก Dr.James ได้ใช้ลูกฟุตบอลและตะกร้าเป็นอุปกรณ์สาหรับให้นักกีฬาเล่น เขาได้นาตะกร้าลูก พีชไปแขวนไว้ที่ฝาผนังของห้องพลศึกษา แล้วให้ผู้เล่นพยายามโยนลูกบอลลงในตะกร้านั้นให้ได้ โดยใช้เนื้อที่ สนามสาหรับเล่นให้มีขนาดเล็กลงแบ่งผู้เล่นออกเป็นข้างละ 7 คน ผลการทดลองครั้งแรกผู้เล่นได้รับความ สนุกสนานตื่นเต้น แต่ขาดความเป็นระเบียบ มีการชนกัน ผลักกัน เตะกัน อันเป็นการเล่นที่รุนแรง ในการทดลองนั้น ต่อมา Dr.James ได้ตัดการเล่นที่รุนแรงออกไป และได้ทาการวางกติกาห้ามผู้เล่นเข้า ปะทะถูกเนื้อต้องตัวกัน นับได้ว่าเป็นหลักเบื้องต้นของการเล่นบาสเกตบอล Dr.James จึงได้วางกติกาการเล่น บาสเกตบอลไว้เป็นหลักใหญ่ๆ 4 ข้อ ด้วยกัน คือ 1. ผู้เล่นที่ครอบครองลูกบอลอยู่นั้นจะต้องหยุดอยู่กับที่ห้ามเคลื่อนที่ไปไหนประตูจะต้องอยู่เหนือศีรษะของผู้ เล่น และอยู่ขนานกับพื้น 2. ผู้เล่นสามารถครอบครองบอลไว้นานเท่าใดก็ได้ โดยคู่ต่อสู้ไม่อาจเข้าไปถูกต้องตัวผู้เล่นที่ครอบครองบอลได้ 3. ห้ามการเล่นที่รุนแรงต่างๆโดยเด็ดขาด ผู้เล่นทั้งสองฝ่ายจะต้องไม่กระทบกระแทกกันเมื่อได้วางกติกาการ เล่นขึ้นมาแล้วก็ได้นาไปทดลอง และพยายามปรับปรุงแก้กไขระเบียบดีขึ้น เขาได้พยายามลดจานวนผู้เล่นลงเพื่อ หลีกเลี่ยงการปะทะกัน จนในที่สุดก็ได้กาหนดตัวผู้เล่นไว้ฝ่ายละ 5 คน ซึ่งเป็นจานวนที่เหมาะสมที่สุดกับขนาด เนื้อที่สนามDr.James ได้ทดลองการเล่นหลายครั้งหลายหน และพัฒนาการเล่นเรื่อยมา จนกระทั่งเขาได้เขียน กติกาการเล่นไว้เป็นจานวน 13 ข้อ ด้วยกัน และเป็นต้นฉบับการเล่นที่ยังคงปรากฏอยู่บนกระดานเกียรติยศใน โรงเรียนพลศึกษา ณ Springfield อยู่จนกระทั่งทุกวันนี้
  • 2. กติกา 13 ข้อ ของ Dr.James มีดังนี้ 1. ผู้เล่นห้ามถือลูกบอลแล้ววิ่ง 2. ผู้เล่นจะส่งบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรือสองมือก็ได้ 3. ผู้เล่นจะเลี้ยงบอลไปทิศทางใดก็ได้ โดยใช้มือเดียวหรือสองมือก็ได้ 4. ผู้เล่นต้องใช้มือทั้งสองเข้าครอบครองบอล ห้ามใช้ร่างกายช่วยในการครอบครองบอล 5. ในการเล่นจะใช้ไหล่กระแทก หรือใช้มือดึง ผลัก ตี หรือทาการใดๆให้ฝ่ายตรงข้ามล้มลงไม่ได้ ถ้าผู้เล่นฝ่าฝืน ถือเป็นการฟาวล์ 1 ครั้ง ถ้า ฟาวล์ 2 ครั้ง หมดสิทธิ์เล่น จนกว่าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาประตูกันได้จึงจะกลับมาเล่นได้ อีก ถ้าเกิดการบาดเจ็บระหว่างการแข่งขัน จะไม่มีการเปลี่ยนตัวผู้เล่น 6. ห้ามใช้ขาหรือเท้าแตะลูก ถือเป็นการฟาวล์ 1 ครั้ง 7. ถ้าฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาฟาวล์ติดต่อกัน 3 ครั้ง ให้อีกฝ่ายหนึ่งได้ประตู 8. ประตูที่ทาได้หรือนับว่าได้ประตูนั้น ต้องเป็นการโยนบอลให้ลงตะกร้า ฝ่ายป้องกันจะไปยุ่งเกี่ยวกับประตู ไม่ได้เด็ดขาด 9. เมื่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดทาลูกบอลออกนอกสนาม ให้อีกฝ่ายหนึ่งส่งลูกเข้ามาจากขอบสนามภายใน 5 วินาที ถ้า เกิน 5 วินาที ให้เปลี่ยนส่ง และถ้าผู้เล่นฝ่ายใดพยายามถ่วงเวลาอยู่เสมอให้ปรับเป็นฟาวล์ 10. ผู้ตัดสินมีหน้าที่ตัดสินว่าผู้เล่นคนใดฟาวล์ และลงโทษให้ผู้เล่นหมดสิทธิ์ 11. ผู้ตัดสินมีหน้าที่ตัดสินว่าลูกใดออกนอกสนาม และฝ่ายใดเป็นฝ่ายส่งลูกเข้าเล่น และจะทาหน้าที่เป็นผู้รักษา เวลาบันทึกจานวนประตูที่ทาได้ และทาหน้าที่ทั่วไปตามวิสัยของผู้ตัดสิน 12. การเล่นแบ่งออกเป็น 2 ครึ่งๆละ 20 นาที 13. ฝ่ายที่ทาประตูได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ ในกรณีคะแนนเท่ากันให้ต่อเวลาออกไป และถ้าฝ่ายใดทาประตูได้ ก่อนถือว่าเป็นฝ่ายชนะ