SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
Green Industry…the pathway
through Sustainability
อุตสาหกรรมสีเขียว...เสนทางสูการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน
ดร.จุฑารัตน อาชวรัตนถาวร
สํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร
กระทรวงอุตสาหกรรม
กีดกันทางการค ้า
วิกฤตอุตสาหกรรมของโลก
ต้นทุนสูงขึ้น
การแย่งทรัพยากร
ความรับผิดชอบร่วม
มากกว่าการทําตามกฎหมาย
ความรับผิดชอบต่อ
สังคม
แรงต ้านจากสังคม
การลงทุน
เศรษฐกิจ
เงื่อนไขด้าน
สิ่งแวดล้อม
โอกาสในการแข่งขัน
ประเทศไทย จากอดีต...จนถึง......?......
ตรวจสอบสถาน
ประกอบการ
รับและติดตามเรื่อง
รองเรียน
บังคับใชกฎหมาย
ผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม
ผลกระทบตอการดําเนินชีวิต
ของชุมชน
เดิอดรอนแตไมมี
ชองทางสื่อสารกับ
โรงงาน
เกิดมุมมองดานลบตอโรงงาน
และภาครัฐ
ชุมชน
โรงงาน
ประสานงานใหมีความโปรงใส
เปนธรรม
สงเสริมผูประกอบการ
อุตสาหกรรมใหมีความ
รับผิดชอบตอสังคม
สรางความเขาใจใหเกิดขึ้น
ระหวางโรงงานกับชุมชน
กํากับดูแลโรงงาน
เปนไปตามกฎหมาย
ไดรับขอมูลขาวสาร
มีชองทางสื่อสารกับโรงงาน
ยอมรับโรงงานเปนสวน
หนึ่งของชุมชน
ไดรับความเปนธรรมในการ
ใชทรัพยากร และมีสวนรวม
ในการตัดสินใจ
ปองกันปญหามลพิษ
มีความรับผิดชอบ
ตอสังคม
เปดเผย โปรงใส ปฎิบัติตาม
กฏหมาย เปดโอกาศใหผูมี
สวนไดเสียมีสวนรวม
สรางเครือขาย
ความคาดหวัง...
“ อุ ต ส า ห ก ร ร ม สี เ ขี ย ว คื อ
อุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการประกอบ
กิจการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดย
มุงเนนการพัฒนาและปรับปรุงอยาง
ตอเนื่อง และประกอบกิจการดวย
ความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งภายใน
และภายนอกองคกรตลอดหวงโซ
อุปทานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน”
ดร. วิฑูรย สิมะโชคดี
Continuous
Improvement
CSR
Sustainable
Development
Green
Industry
Quality & Efficiency
Social Concerns
Sufficiency Economy
&
Environmental Concern
The Ultimate Goal of Green Industry…
“SUSTAINABILITY”
บันได 5 ขั้น สูความสําเร็จ
SRM Pillars for Green Industry
S R M
Support Reward Motivation
SRM Pillars
S: Support
Consultation
Fund
R: Reward
Certification
Green Industry
Award
M: Motivation
Business
Market
Education
Level 1
Green Commitment
Level 2
Green Activity
Level 3
Green System
Level 4
Green Culture
Level 5
Green Network
Help me!
แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว
Government
มีจิตสํานึก
ยกระดับมาตรฐาน
ปรับเทคโนโลยี
สรางจิตสํานึกบังคับใชกฎหมาย
สิทธิประโยชน ฐานขอมูล มีสวนรวม จิตสํานึก
ปรับพฤติกรรม
อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry)
นโยบาย
สีเขียว การบริโภคสีเขียว
การผลิต
สีเขียว
การปลดปลอย GHG จนถึงป ค.ศ. 2050
1,216,089
434,993
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
1,400,000
2010 2020 2030 2040 2050
kt-CO2
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
BAU (กรณีปกติ)
การปลดปลอย GHG จนถึงป ค.ศ. 2050
1,216,089
972,946
0
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
1,400,000
2010 2020 2030 2040 2050
kt-CO2
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
BAU CM2 & CM2-CCS
25%
Green Industry
(กรณีปกติ) (อุตสาหกรรมสีเขียว)
Operation
efficiency
Minimize
waste
Air quality
Health
GHG
mitigation
Cost
saving
Benefits
เปาหมายการพัฒนาสถานประกอบการ
สูอุตสาหกรรมสีเขียว
ป 2554
ป 2555
ป 2556
ป 2561
984 ราย
2,500 ราย
35,000 ราย
โรงงานไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว
จํานวน 35,000 ราย (รอยละ 50 ของจํานวนโรงงานทั้งหมด)
• ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต
• ลดการใชทรัพยากร
• ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก
• ประยุกตใชหลักการ 3Rs
• เพิ่มปริมาณการใชพลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรม
• สรางรายไดจากการขายคารบอนเครดิต และลดภาวะโลกรอน
• รวมทั้งสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนในการแกไขปญหาและตรวจสอบสภาพแวดลอม
• พัฒนาเมืองหรือพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อนําไปสูสังคมคารบอนต่ํา
• อุตสาหกรรมใหเปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม
• มีความรับผิดชอบตอ
สังคม และอยูรวมกับ
ชุมชนได
ป 2557
10,000 ราย
สรุปผลการดําเนินโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวประจําป 2554 – Q1/2558
ป 2554
• ระดับที่ 1
จํานวน 316
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 227
ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 507
ราย
• รวม 1,050
ราย
ป 2555
• ระดับที่ 1
จํานวน 1,172
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 705 ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 603 ราย
• ระดับที่ 4
จํานวน 30 ราย
• รวม 2,510 ราย
ป 2556
• ระดับที่ 1
จํานวน 4,407
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 1,733
ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 882 ราย
• ระดับที่ 4
จํานวน 20 ราย
• รวม 7,042 ราย
ป 2557
• ระดับที่ 1
จํานวน 5,637
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 764
ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 659
ราย
• ระดับที่ 4
จํานวน 1 ราย
• ระดับที่ 5
จํานวน 5 ราย
• รวม 7,066
ราย
รวมทั้งสิ้น
• ระดับที่ 1
จํานวน 11,765
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 3,477
ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 2,657
ราย
• ระดับที่ 4
จํานวน 84 ราย
• ระดับที่ 5
จํานวน 14 ราย
• รวม 17,764ราย
ป 2558
• ระดับที่ 1
จํานวน 233
ราย
• ระดับที่ 2
จํานวน 48 ราย
• ระดับที่ 3
จํานวน 6 ราย
• ระดับที่ 4
จํานวน 33 ราย
• ระดับที่ 5
จํานวน 9 ราย
• รวม 329 ราย
อายุการรับรอง และการตออายุ
ระดับ 1
• อายุการรับรอง 1 ป
ระดับ 2
• อายุการรับรอง 2 ป
ระดับ 3-5
• อายุการรับรอง 3 ป
• ไมสามารถ
ตออายุ
ระดับเดิมได
• สามารถตออายุ
ระดับเดิมได แตตอง
กิจกรรมใหม
• สามารถตออายุ
ระดับเดิมได
ระดับที่ 1 : ความมุ่งมั่นสีเขียว
Green Commitment
Policy ขอ 1 ตองกําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม
(ก) การลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือการปองกันมลพิษ
(ข) การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน
(ค) การลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(ง) การปกปองและฟนฟูธรรมชาติ
Communication ขอ 2 ตองมีการสื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอมให
บุคลากรในองคกรทราบ
เอกสารที่ผูสมัครตองยื่นประกอบการพิจารณา ระดับที่ 1
Policy
1. เอกสารการประกาศนโยบายดานสิ่งแวดลอม
Communication
2. หลักฐานการสื่อสารนโยบายดาน
สิ่งแวดลอม เชน บันทึกการประชุม
ภาพถาย การติดประกาศ หรือ
หลักฐานอื่นใด
ระดับที่ 2 : ปฏิบัติการสีเขียว Green
Activity
ขอ 2 จัดทําแผนงานดาน
สิ่งแวดลอม
ประกอบดวย
วัตถุประสงค เปาหมาย
ขั้นตอนการปฏิบัติ
ผูรับผิดชอบ และกรอบ
ระยะเวลาแลวเสร็จ
ขอ 1 กําหนดนโยบาย
ดานสิ่งแวดลอม และ
สื่อสารนโยบายดาน
สิ่งแวดลอมใหบุคลากรใน
องคกรทราบ
.
ขอ 3 นําแผนงาน
ดานสิ่งแวดลอมไป
ปฏิบัติใหเกิด
ประสิทธิผล
Environmental
policy Planning Implementation
เอกสารที่ผู้สมัครต้องยื่น
ประกอบการพิจารณา ระดับที่ 2
1 กรณีผูสมัครไดรับการรับรองโครงการ/กิจกรรมที่
เปรียบเทียบในระดับที่ 2
1.1 กรณีใบรับรองหรือประกาศนียบัตรกําหนดวันสิ้นอายุ
ณ วันที่ยื่นสมัคร ตองยังไมสิ้นอายุ
กรณีใบรับรองหรือใบประกาศนียบัตรไมกําหนดวันสิ้นอายุ หรือสิ้นอายุแลว
ตองมีเอกสาร/หลักฐานที่สามารถแสดงไดวาองคกรยังรักษาและคงไวซึ่งการดําเนิน
กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม
1.2
เอกสารที่ผูสมัครตองยื่น
ประกอบการพิจารณา ระดับที่ 2
2 กรณีผูสมัครไมไดรับการรับรองโครงการ/กิจกรรม
2.1 เอกสารการประกาศนโยบายดานสิ่งแวดลอม และหลักฐานการสื่อสาร
นโยบายดานสิ่งแวดลอม
แผนงานดานสิ่งแวดลอม2.2
2.3 เอกสาร/หลักฐาน/สรุปผลความสําเร็จการดําเนินงานตามแผน อยางนอย 1
กิจกรรม/โครงการ
เกณฑ์ระดับที่ 3
1 นโยบายดานสิ่งแวดลอม
2 วางแผนดานสิ่งแวดลอม
3 นําไปปฏิบัติ
4 ติดตาม ประเมินผล
5 ทบทวน และรักษาระบบ
ขอ 1. นโยบายดานสิ่งแวดลอม
Policy ขอ 1 ผูบริหารสูงสุดตองกําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม
(ก) การลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือการปองกันมลพิษ
(ข) การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน
(ค) การลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(ง) การปกปองและฟนฟูธรรมชาติ
Communication ขอ 2 ตองมีการสื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอมใหบุคลากร
ทั้งหมดทราบ
ขอ 2 วางแผนดานสิ่งแวดลอม
1. ชี้บงประเด็นดานสิ่งแวดลอม
2.ชี้บงและติดตามสืบคนขอกําหนด
ของกฎหมาย
4.จัดทําแผนงานดานสิ่งแวดลอม
5.ดําเนินการตามแผนงานดานสิ่งแวดลอม
6. ติดตามผลการดําเนินการตามแผนงาน
7. ทบทวนวัตถุประสงค เปาหมาย
และแผนงานดานสิ่งแวดลอม
3.กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย
ขอ 3การนําไปปฏิบัติ
จัดสรรทรัพยากรใหเพียงพอตอการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม
ตองมีการฝกอบรมและการสรางจิตสํานึกเพื่อใหเกิดความตระหนักตอประเด็นดาน
สิ่งแวดลอมและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
2
กําหนดชองทางและวิธีการสื่อสารขอมูลดานสิ่งแวดลอมใหกับ
บุคคลภายในองคกรและบุคคลภายนอกองคกร
3
1
ขอ 3 การนําไปปฏิบัติ
จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานในการควบคุมเอกสาร4
จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อควบคุมการปฏิบัติในการลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม5
จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานรองรับสถานการณฉุกเฉิน หรืออุบัติภัยที่มี
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชน
6
ขอ 4 การติดตาม ประเมินผล
ตรวจวัด
สวล.
ติดตาม
ตาม กม.
ปฏิบัติการ
แกไข
ควบคุม
บันทึก
-จัดทําขั้นตอนการ
ดําเนินงานในการเฝา
ติดตาม/ตรวจวัด
คุณภาพสิ่งแวดลอม
-เครื่องมือตรวจวัดตอง
ไดรับทวนสอบและ
บํารุงรักษาอยาง
เหมาะสม
จัดทําขั้นตอนการ
ดําเนินการประเมิน
ความสอดคลองของ
EMS กับขอกําหนด
ของกฎหมายที่
เกี่ยวของตามชวงเวลา
ที่กําหนด
จัดทําขั้นตอนการ
ดําเนินงานปฏิบัติการ
แกไขและ ปองกัน
สําหรับการเนินการ
กับขอบกพรอง
ดานสิ่งแวดลอมที่
เกิดขึ้นแลวหรือ
อาจจะเกิดขึ้น
การชี้บง จัดเก็บ
ปองกัน และกําหนด
อายุการจัดเก็บ
บันทึกที่เกี่ยวของกับ
การดําเนินงานดาน
สิ่งแวดลอม
ตรวจ
ประเมิน
ภายใน
ตรวจประเมิน
ภายใน
ระบบการจัดการ
ดานสิ่งแวดลอม
ตามชวงเวลาที่
กําหนด
ขอ 5 การทบทวนและรักษาระบบ
ผูบริหารสูงสุดขององคกรตอง
ทบทวนระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมขององคกร
•ตามชวงเวลาที่กําหนด
•เพื่อใหมั่นใจวา
•เปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ
•ระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมยังคงมีความเหมาะสม และเกิด
ประสิทธิผลอยางตอเนื่อง
เกณฑระดับที่ 4
3.รายงาน
เผยแพรตอสาธารณะ
2.สรางวัฒนธรรมองคกร
ตามแนวทาง SR
(ISO 26000)
1. ตองจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอม
ตามระดับที่ 3 ทุกขอ
สรางวัฒนธรรมองคกรตามแนวทาง 7 principles SR (ISO 26000)
• รับผิดชอบตอผลกระทบจากการตัดสินใจและการดําเนินการตางๆ ของ
องคกรตอสังคม และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะกระทบดานลบที่มีนัยสําคัญ
• การดําเนินการเพื่อการปองกันผลกระทบดานลบที่
เกิดขึ้นโดยไมไดตั้งใจ เพื่อปองกันไมใหเกิดซ้ํา
Accountability
• มีความโปรงใสในการตัดสินใจและการดําเนินการตางๆ ที่มีผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอม
• ตองมีการเปดเผยอยางชัดเจน ถูกตอง และครบถวน โดยตองเขาถึงขอมูลได
โดยงาย และขอมูลเหมาะสมตามชวงเวลา เปนขอเท็จจริง มีความนาเชื่อถือ
Transparency
สรางวัฒนธรรมองคกร ตามแนวทาง 7 principles SR (ISO 26000)
•สงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางมีจริยธรรมดานสิ่งแวดลอม อยางจริงจัง
โดย
• ประกาศกําหนดคานิยมและหลักการ
• มีโครงสรางการบริหารที่ชวยสงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางมีจริยธรรม
• กํากับดูแล และการควบคุมตางๆ เพื่อเฝาติดตาม ใหการสนับสนุน และบังคับ
• มีการกระตุนและสงเสริม
• มีการปองกัน หรือแกไขการเกิดผลประโยชนทับซอน
• มีรายงานผลการปฏิบัติ
Ethical
behavior
• ตองเคารพ พิจารณา และตอบสนองตอผลประโยชน
ของผูมีสวนไดเสีย ดานประเด็นสิ่งแวดลอม
Stakeholder
interests
Rule of law
Human rights
International norms
of behavior
ตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดาน
สิ่งแวดลอม
ตองเคารพตอการปฏิบัติตามแนวทางสากลในดานสิ่งแวดลอม ใน
สถานการณที่กฎหมาย หรือการดําเนินการตามกฎหมายยังไมพอเพียง
สําหรับการปกปองสิ่งแวดลอมได องคกรตองผลักดันใหเกิดความเคารพตอ
การปฏิบัติตามแนวทางของสากล
ตองเคารพตอสิทธิมนุษยชนในดานสิ่งแวดลอมที่ดี และใหการยอมรับถึง
ความสําคัญและความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนในดานสิ่งแวดลอม
สรางวัฒนธรรมองคกรตามแนวทาง 7 principles SR (ISO 26000)
Green Supply Chain
Raw Material
Consumer
Distributor
Manufacturer
Disposal
Retailer
resource
waste
resource
waste
resourcewaste
resource
waste
resource
waste
resource waste
Raw Material
Consumer
Manufacturer
Disposal
Retailer
P
S D
P
S DM
P
S D
P
S D
P
S D
GreenSCOR: Mapping LCA & SCOR Model
SCOR Environmental footprint
Process
Plan
Source
Make
Deliver
Return
GHG Air
pollutant
Solid
waste
Liquid
waste %Recycle
Green Supply Chain Evaluation
1. Environmental footprint Measurement
แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 จากคณะกรรมการสงเสริม
และพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว
ขอ 1 องคกรตองมีระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมและมีการสรางวัฒนธรรม
องคกรเปนไปตามเกณฑ กําหนดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 ทุกขอ
ระดับที่ 5 : เครือขายสีเขียว Green Network
ระดับที่ 5 : เครือขายสีเขียว Green Network
ชุมชน
ผูขายสินคา
ผูใหบริการ
ผูมีสวนได
สวนเสีย
ผูบริโภค
องคกร
วัฒนธรรมสีเขียว
สรางเครือขายสีเขียว
ระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว
รายงาน
ความสําเร็จ
เผยแพร
ตอสาธารณะ
สงเสริม สราง และสานสัมพันธกิจกรรม
ดานสิ่งแวดลอม
กับ supply chain ชุมชน และบริโภค
ตองจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอมและมี
วัฒนธรรมสีเขียว ตามระดับที่ 4 ทุกขอ
ขอ 2 สงเสริม สราง และสานสัมพันธ
 สงเสริม สราง และสานสัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย (stake holder)
ที่ครอบคลุมทั้ง
 หวงโซอุปทาน (supply chain)
 ชุมชน และ
 ผูบริโภค
 ตองทําใหประสบความสําเร็จเปนที่ประจักษ และมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน
การปฏิบัติ
1) ตองสงเสริมใหโซอุปทาน (supply chain) มุงสูอุตสาหกรรมสีเขียว
และนํามาปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล โดยตองดําเนินการใหครอบคลุมทั้ง
โซอุปทาน และตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน
2) ตองสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน การพัฒนาชุมชน และตองรวมกับ
ชุมชนในการกระตุนจิตสํานึกและสงเสริมความรูความเขาใจตอการ
บริโภคที่ยั่งยืน โดยใหความสําคัญและใสใจตอสิ่งแวดลอม
3) ตองใหความรูและสรางความตระหนักแกผูบริโภคในการบริโภคที่ยั่งยืน
แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองมีการชี้บงผูมีสวนไดเสียกับการดําเนินธุรกิจขององคกร
องคกรตองมีการกําหนดและรักษาไวซึ่งกลไกในการสงเสริม สราง และสานกิจกรรม
ดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม
รวมกับผูมีสวนไดเสียกับองคกร ตามศักยภาพและความพรอมของผูมีสวนไดเสียใน
การเขารวมกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับองคกร
องคกรตองกําหนดและรักษาไวซึ่งกลไกในการสงเสริมใหโซอุปทานขององคกรมุงสู
อุตสาหกรรมสีเขียว โดยอยางนอยตองครอบคลุมถึงผูผลิตวัตถุดิบโดยตรงใหกับ
องคกร (Supplier) ผูรับจางชวงงานขององคกร (Subcontractor) ผูสงมอบบริการ
โดยตรงใหกับองคกร (Service Provider)
แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม (ตอ)
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของสงเสริม สราง และสาน
สัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับโซอุปทานขององคกร โดยอยางนอยตอง
ครอบคลุมถึงผูผลิตวัตถุดิบโดยตรงใหกับองคกร
องคกรควรมีการวางแผนงานสงเสริมผูที่อยูในโซอุปทานในการสงมอบวัตถุดิบ/
บริการที่ไมไดสงมอบใหองคกรโดยตรง แตเปนผูสงมอบในลําดับถัดๆ ไป
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของสงเสริม สราง และสาน
สัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับชุมชนที่มีโอกาสไดรับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม
จากการดําเนินงานตางๆ ขององคกร
องคกรตองมีกิจกรรมหรือวิธีการในการสรางความรูความเขาใจ และสรางจิตสํานึก
ใหกับผูบริโภคซึ่งเปนกลุมลูกคาขององคกรผูแทนจําหนายสินคาขององคกร (Trade
Agency) หรือผูใชผลิตภัณฑขององคกรใหตระหนักถึงการบริโภคที่ยั่งยืน
ขอ 3 องคกรตองจัดทํารายงานการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม สราง
และสานสัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย และสรุปรายงานผล
ความสําเร็จเพื่อเผยแพร
แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองมีการรวบรวมขอมูลผลการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม สราง และสาน
สัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดสวนเสียโซอุปทาน ชุมชน และผูบริโภค
องคกรตองจัดทําสรุปรายงานผลการดําเนินการตางๆ เพื่อแสดงใหเห็นถึงผลความสําเร็จของการ
ดําเนินการ
องคกรตองกําหนดวิธีการในการเผยแพรรายงานการดําเนินการตางๆ
ตัวอยางการชี้บงผูมีสวนไดเสียขององคกร
องค์กร
ภาครัฐ
ผูบริโภค
พนักงานผูผลิต
ผู้ถือหุ้น
ชุมชนผูจัดจําหนาย
NGO
การชี้บงผูมีสวนไดสวนเสียในโซอุปทาน (Supply Chain)
Initial
Suppliers
Tier 3 to n
suppliers
Consumers/
End-
Customers
Tier 3 to n
customers
1
2
n
1
1
2
n
3
n
1
n
1
n
2
1
n
1
2
n
1
1
2
n
2
3
n
องคกร
Tier 3 to Initial
suppliers
Tier 2
Suppliers
Tier 1
Suppliers
Tier 1
Customers
Tier 2
Customers
Tier 3 Customers/
End-Customers
Focal Company Members of the Focal Company’s Supply Chain
หวงโซอุปทาน
ขั้นที่ 1
หวงโซอุปทาน (Supply Chain)
 ตองสงเสริมใหหวงโซอุปทาน มุงสูอุตสาหกรรมสีเขียว และนํามาปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล โดยตอง
ดําเนินการใหครอบคลุมทั้งหวงโซอุปทาน และตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน
 ผูขาย/ผูใหบริการ ที่ติดตอโดยตรง (1st tier )
 ตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 2 ขึ้นไป
ชุมชนรอบขาง
ตองสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน การพัฒนาชุมชน และตองรวมกับชุมชนในการ
กระตุนจิตสํานึกและสงเสริมความรูความเขาใจตอการบริโภคที่ยั่งยืน โดยใหความสําคัญ
และใสใจตอสิ่งแวดลอม
ผูบริโภค
ตองใหความรูและสรางความตระหนักแกผูบริโภคในการบริโภคที่ยั่งยืน
การยอมรับในสังคม
 จัดทํารายงานการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม สราง และสานสัมพันธ
กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย และสรุปรายงานผลความสําเร็จเพื่อ
เผยแพร
การประเมินผูขาย
ขอบเขตของชั้น (Tier) ใน Supply Chain พิจารณาเฉพาะ Supplier ที่เปน 1st Tier
supplier คือ
• สถานประกอบการในประเทศ
• สถานประกอบอุตสาหกรรมในตางประเทศ
ซึ่งทําการผลิตวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิต (Process) ของสถานประกอบการที่ขอ
ประเมิน ใหดําเนินการแบง Supplier ของ 1st Tier อยางนอย 3 กลุม
กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมอยางมาก (High Impact)
• สถานประกอบการในประเทศ จะตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 2 ขึ้นไปทุกราย
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินวาสถานประกอบการ
ดังกลาวเปนไปตามเกณฑอุตสาหกรรมสีเขียวในระดับ 2 ขึ้นไปทุกราย
กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมปานกลาง (Medium Impact)
• สถานประกอบการในประเทศ จะตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 1 และมีแผนที่จะทําให
ไดอุตสาหกรรมสีเขียว อยางนอยระดับ 2 ภายใน 1 ป
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินของผูยื่นขอวาสถาน
ประกอบการดังกลาวเปนไปตามอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 1 และมีแผนที่จะทําใหได
อุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2 ภายใน 1 ป
กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมนอย (Low Impact)
• สถานประกอบการในประเทศที่เปนโรงงานจําพวก 1,2 และ3 มีแผนที่จะทําใหได
อุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2 ภายใน 3 ป
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินของผูยื่นขอวาสถาน
ประกอบการดังกลาวมีแผนที่จะทําใหไดอุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2 ภายใน 3 ป
การกําหนดระดับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การพิจารณาตองประกอบดวย
• ระดับความรุนแรง (Severity) ความรุนแรงของผลกระทบ ใน 3 ระดับ คือ นอย กลาง
มาก
• โอกาส (Opportunity) ที่จะเกิดผลกระทบ ใน 3 ระดับ คือ นอย กลาง มาก
แนวทางการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยที่เกี่ยวของ
1 ขั้นตอนที่ระบุลําดับผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการ
ประกอบการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและความเสียหาย
ตอสิ่งแวดลอมโดยรวม
2 การแบงระดับผลกระทบของ 1st tier supplier ใชหลักวิชาการในการประเมินตามแนวทาง
สากลที่เปนมาตรฐานหรือตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมใหความเห็นชอบ
แนวทางการประเมินโรงงานโดยชุมชน
การประเมินโดยชุมชน
การประเมินผลกระทบจากโรงงานโดยชุมชนทั้งทางบวกและทางลบ การ
ประเมินผลอาจนิยามไดวาเปนกระบวนการเพื่อการบงชี้ ทํานายและบรรเทา
ผลกระทบทางชีวภาพ กายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวของอื่นๆ
วัตถุประสงคของการประเมินก็เพื่อใหเปนการประกันไดวา ชุมชนและประชาชน
รอบโรงงานไดพิจารณาอยางรอบคอบถึงผลกระทบของโรงงานที่การประกอบ
กิจการจะไมมีตอสิ่งแวดลอม ชุมชน สังคม กอนที่โรงงานจะผานการรับรอง
อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว (Green Network)
แนวทางการดําเนินการ (กระบวนการและมาตรการ)
1. กายภาพ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการ
โรงงานดานกายภาพ เชน ดิน น้ํา อากาศ เสียง
2. ชีวภาพ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการ
โรงงานดานชีวภาพ เชน ปาไม สัตวปา สัตวน้ํา ประชาชน เปนตน
3. ชุมชน การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการ
โรงงานตอชุมชนทั้งทางกายภาพและชีวภาพของชุมชน
แนวทางการดําเนินการ (กระบวนการและมาตรการ)
4. เศรษฐกิจ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการ
โรงงานดานเศรษฐกิจของชุมชน
5. สังคม การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการ
โรงงานตอสังคมโดยรวม
6. สิ่งแวดลอม การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบ
กิจการโรงงานตอสิ่งแวดลอมในชุมชนและโดยภาพรวม
Tel 0 2202 3249 Fax 0 2202 3249
Email gipo.moi@gmail.com,
jutharat.ahcha@hotmail.com
www.greenindustry.go.th
By Jutharat

More Related Content

Similar to Green industry the pathway through sustainability

Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Naname001
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfSitthichaiChaikhan
 
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfkaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfaekwin1
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อนครู กัน
 
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดBenchapon Sangswai
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Sarinee Achavanuntakul
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติkasarin rodsi
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 

Similar to Green industry the pathway through sustainability (20)

Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdfการผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
การผลิตปุ๋ยไส้เดือนดินจากเศษผลไม้ผสมกากของเสียอินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสีย.pdf
 
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็กสถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
สถานการณ์ภัยสารตะกั่วเป็นพิษรอบตัวเด็ก
 
Sustainable Business
Sustainable BusinessSustainable Business
Sustainable Business
 
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdfkaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
kaarkhabekhluuen_mSMEs_aithy_hlangkaarepidpraeths.pdf
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
 
Green Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and UpdatesGreen Economy: Concepts and Updates
Green Economy: Concepts and Updates
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
Consumer Protection and Corporate Social Responsibility (CSR)
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
3p
3p3p
3p
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
Microplastic
MicroplasticMicroplastic
Microplastic
 

Green industry the pathway through sustainability