SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
งานนำเสนอ นางสาวจรัสศรี  คำปลิว 53010910559  G12
สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดชัยภูมิ ,[object Object],[object Object]
ประวัติจังหวัดชัยภูมิ , ข้อมูลทั่วไปจังหวัดชัยภูมิ , สัญญลักษณ์  ,[object Object]
          สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิ ปรากฏในทำเนียบแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมาแต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่ง ทำมาหากินที่อื่น และ พ . ศ . 2360 " นายแล " ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทร์ได้อพยพครอบครัวและบริวาร เดินทางข้ามลำน้ำโขง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านหนองน้ำขุ่น  ( หนองอีจาน )  ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบัน ปี พ . ศ .  2362  เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มาก นายแลก็ได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ  6  กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ จนได้รับบำเหน็จความชอบแต่งตั้ง
ขุนภักดีชุมพล "  ในปี พ . ศ .  2365  นายแลได้ย้ายชุมชนอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวง ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากันหนองหลอด เขตอำเภอเมืองชัยภูมิ ปัจจุบัน และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์อีกต่อไปจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้าน หลวงเป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล  ( แล )  เป็น   " พระยาภักดีชุมพล "  เจ้าเมืองคนแรกต่อมาเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพฯ โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพฯ รบกับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ . ศ .  2369  ซึ่งตรงกับรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งต่อมา เมื่อความแตกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมา เพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทร์ เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพลเจ้าเมืองชัยภูมิพร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไป สมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์จนแตกพ่ายไปฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่งล่า ถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้ และเกลี้ยกล่อมให้พระยาภักดีชุมพล  ( แล )  เข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอมเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์เกิดความแค้น จึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลา เฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดีที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละ ต่อแผ่นดิน จึงได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้น ปัจจุบันทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า   " ศาลาพระยาภักดีชุมพล  ( แล )"  มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไว้และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัด ตั้งอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ  3  กิโลเมตร
สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดชัยภูมิ ,[object Object]
อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล  ( แล )  ชาวบ้านเรียกว่า อนุสาวรีย์เจ้าพ่อพญาแล  ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการ ในตัวเมือง ชาวชัยภูมิได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าเมืองคนแรกของชัยภูมิ ตามประวัติเล่าว่า ในปี  2360  ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่  2  นายแล ซึ่งเป็นข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ได้อพยพครอบครัวและบริวารข้ามลำน้ำโขง มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านน้ำขุ่น บริเวณอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน ต่อมาจึงได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่โนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ  6  กิโลเมตร ได้ส่งส่วยต่อเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ต่อมาจึงย้ายชุมชนมาอยู่ที่บ้านหลวง ในเขตอำเภอเมืองปัจจุบัน และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา ส่งส่วยแก่รัชกาลที่  3  ไม่ขึ้นแก่เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์อีกต่อไป จึงโปรดเกล้าฯ ยกบ้านหลวงเป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้ง ขุนภักดีชุมพล  ( แล )  เป็นเจ้าเมืองคนแรกของชัยภูมิ
ครั้น พ . ศ .  2369  เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ก่อการกบฎ ยกทัพเข้าตีเมืองนครราชสีมา ขุนภักดีชุมพลพร้อมเจ้าเมืองใกล้เคียง ยกทัพไปสมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์จนแตกพ่าย เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงย้อนกลับมาจับขุนภักดีชุมพลประหารชีวิต ที่บริเวณใต้ต้นมะขามริมหนองปลาเฒ่า ด้วยความดีที่ขุนภักดีชุมพลมีต่อแผ่นดินไทย จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาภักดีชุมพล  ( แล )   จังหวัดชัยภูมิจัดงานประจำปีเจ้าพ่อพญาแลในราวเดือนมกราคมของทุกปี
ปรางค์กู่
ปรางค์ กู่ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองบัว ตำบลในเมือง จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข  202 ( ชัยภูมิ - บัวใหญ่ )  ประมาณ  1  กิโลเมตร มีทางแยกขวาเข้าปรางค์กู่ตามทางหลวง   2158  เป็นระยะทางอีก  2  กิโลเมตร ปรางค์กู่เป็นปราสาทหินสมัยขอม ที่มีแผนผังและลักษณะเช่นเดียวกับปราสาทอื่นที่เป็น อโรคยาศาล หรือสถานพยาบาลที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่  18  นั่นคือ มีปรางค์ประธานอยู่ตรงกลาง  1  องค์ วิหารหรือบรรณาลัยด้านหน้า  1  หลัง ล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง นอกกำแพงตรงมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีสระน้ำ  1  สระ ปรางค์ประธานมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด  5  เมตร ย่อมุมไม้สิบสอง ด้านหน้ามีประตูเข้าออกทำเป็นมุขยื่นออกมา ผนังปรางค์อีก  3  ด้านเป็นประตูหลอก เหนือประตูหลอกด้านทิศเหนือยังคงมีทับหลังติดอยู่ จำหลักภาพตรงกลางเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งปางสมาธิเหนือหน้ากาล ซึ่งจับท่อนพวงมาลัยไว้ด้วยมือทั้งสองข้าง ด้านหน้ามีทับหลังเช่นกันแต่ลบเลือนไปมาก ที่ช่องประตูหลอกด้านทิศเหนือ มีพระพุทธรูปศิลาปางสมาธิ ศิลปะแบบทวารวดี สูง  1.75  เมตร ประดิษฐานอยู่ โดยเคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น ชาวชัยภูมิให้การเคารพสักการะ มีการจัดงานประจำปีในช่วงกลางเดือน  5  ของทุกปี
พระ ธาตุหนองสามหมื่น เป็นโบราณสถานที่มีความสำคัญและน่าสนใจมากแห่งหนึ่งของชัยภูมิ ตั้งอยู่ที่บ้านแก้ง จากตัวเมืองชัยภูมิเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข  201  ผ่านอำเภอภูเขียวไปจนถึงบ้านหนองสองห้องระยะทางประมาณ  80  กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข  2055  อีก  9  กิโลเมตรถึงบ้านแก้งและแยกซ้าย ไปวัดพระธาตุหนองสามหมื่นอีกประมาณ  5  กิโลเมตร พระธาตุหนองสามหมื่น เรียกชื่อตามหนองน้ำ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัด เป็นพระธาตุที่มีลักษณะสวยงาม และสมบูรณ์ที่สุดองค์หนึ่ง ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่จากลักษณะทางด้านสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมที่ปรากฏเกิดจากการผสมผสานกันระหว่างศิลปล้านนา ล้านช้าง และอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่  21-22  ในสมัยพระไชยเชษฐาธิราชแห่งราชอาณาจักร
พระธาตุหนองสามหมื่น
ลาว ,[object Object]
การเดินทาง จากตัวเมืองชัยภูมิเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข  201  ผ่านอำเภอภูเขียวไปจนถึงบ้านหนองสองห้องระยะทางประมาณ  80  กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข  2055  อีก  9  กิโลเมตรถึงบ้านแก้งและแยกซ้ายไปวัดพระธาตุหนองสามหมื่นอีกประมาณ  5  กิโลเมตร
ใบเสมาบ้านกุดโง้ง
ใบ เสมาบ้านกุดโง้ง เก็บรักษาอยู่ภายในบริเวณโรงเรียนวัดกุดโง้ง ตำบลกุดตุ้ม จากตัวเมืองชัยภูมิไปตามทางหลวงหมายเลข  202  ประมาณ  12  กิโลเมตร มีทางแยกขวาไปอีก  3  กิโลเมตรถึงบ้านกุดตุ้ม แล้วแยกขวาเข้าเส้นทางสาย กุดตุ้ม - บุ่งคล้า อีก  4  กิโลเมตร ใบเสมาหินทรายศิลปทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษที่  12-15  ที่พบเป็นจำนวนมากในบริเวณรอบๆ หมู่บ้านได้ถูกนำมารวบรวมไว้ในอาคารอย่างเป็นระเบียบ ส่วนมากมีลักษณะเป็นแผ่นใหญ่ ด้านหน้าจำหลักลายและบางแผ่นมีจารึกอยู่ที่ด้านหลังด้วย ลวดลายที่ปรากฏเป็นเรื่องราวทางพุทธศาสนา เล่าเรื่องชาดกตอนต่างๆ หรือเป็นภาพรูปเคารพ เช่น ภาพพระโพธิสัตว์ประทับยืนบนดอกบัว ภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งบนบัลลังก์ใต้ต้นโพธิ์ นับเป็นกลุ่มเสมาที่สวยงามแห่งหนึ่งในอีสาน
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว - ทุ่งกะมัง
เขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว - ทุ่งกะมัง มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ป่าในเขตอำเภอคอนสาร เกษตรสมบูรณ์ และหนองบัวแดง ดำเนินงานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า การเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ไก่ฟ้าพญาลอ นกยูง เก้ง กวาง และเนื้อทราย เป็นต้น โดยปล่อยสัตว์ให้อาศัยอยู่ในพื้นที่ธรรมชาติ สามารถสืบพันธุ์และขยายพันธุ์ได้เอง ได้มีการจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติสำหรับผู้สนใจศึกษาธรรมชาติอย่างใกล้ชิด   ทุ่ง กระมัง เป็นทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ใจกลางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว แหล่งอาหารที่สำคัญของสัตว์กินพืช มีเนื้อที่  830  ไร่ เมื่อปี พ . ศ .  2526  และ พ . ศ .  2535  โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ปล่อยสัตว์ป่าคืนถิ่นในบริเวณนี้ เช่น เก้ง กวาง กระจง และนกต่างๆ มีการจัดทำดินโป่งในบริเวณทุ่งกะมังเพื่อให้สัตว์มากินดินโป่ง และเผาแปลงทุ่งหญ้าเพื่อให้เกิดหญ้าระบัดเป็นอาหารของเก้ง กวางในช่วงฤดูแล้ง บนยอดเนินเหนือบริเวณทุ่งกะมัง มีพระตำหนักที่ประทับอยู่เหนืออ่างน้ำ
การเดินทาง ไปเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียวใช้เส้นทางเดียวกับเขื่อนจุฬาภรณ์ ก่อนถึงเขื่อน  3  กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายจากด่านตรวจ  ( ปางม่วง )  ไปยังที่ทำการเขตฯ อีก  24  กิโลเมตร การเข้ามาทัศนศึกษาในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามีสองกรณีคือ หากเข้าชมแบบไป - กลับวันเดียว สามารถขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่บริเวณด่านตรวจปางม่วง กรณีพักค้างแรมต้องได้รับอนุญาตจากส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ กรุงเทพฯโดยตรง ทางเขตฯค่อนข้างเคร่งครัดในกฎระเบียบ เพราะสภาพพื้นที่ที่อุดมไปด้วยป่าไม้และสัตว์ป่า การเดินทางเข้ามาในพื้นที่ก็เสมือนการเข้ามารบกวนธรรมชาติ ดังนั้น จึงเหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าจริงๆ และทางเขตฯ ไม่เปิดให้เข้าทัศนศึกษาในช่วง เดือนกรกฎาคม - กันยายน

More Related Content

What's hot

ประวัติประตูเมืองเชียงราย
ประวัติประตูเมืองเชียงรายประวัติประตูเมืองเชียงราย
ประวัติประตูเมืองเชียงรายpatcharin36
 
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseจังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseBeebe Benjamast
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดรkhaek
 
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power point
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power pointแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power point
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power pointKornkanok1662
 
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตอง
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตองโครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตอง
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตองwanchaikonglun
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกFURD_RSU
 
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์crepcakes
 
9789740335726
97897403357269789740335726
9789740335726CUPress
 

What's hot (13)

ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
จังหวัดกาฬสินธิ
จังหวัดกาฬสินธิจังหวัดกาฬสินธิ
จังหวัดกาฬสินธิ
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ประวัติประตูเมืองเชียงราย
ประวัติประตูเมืองเชียงรายประวัติประตูเมืองเชียงราย
ประวัติประตูเมืองเชียงราย
 
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymoseจังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
จังหวัดศรีสะเกษ โดยกลุ่ม7 mickeymose
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
พระเวสสันดร
พระเวสสันดรพระเวสสันดร
พระเวสสันดร
 
พระราชวังต้องห้าม
พระราชวังต้องห้ามพระราชวังต้องห้าม
พระราชวังต้องห้าม
 
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power point
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power pointแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power point
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ Power point
 
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตอง
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตองโครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตอง
โครงงานการประดิษฐ์กระทงจากใบตอง
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
 
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์
อาคาร 2 โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมป์
 
9789740335726
97897403357269789740335726
9789740335726
 

Similar to งานเล็ก

เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdfทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdfssuser278017
 
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่งสุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่งSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่งสุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่งSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอsutthiprapha2011
 
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์sutthiprapha2011
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302chindekthai01
 

Similar to งานเล็ก (20)

เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
7
77
7
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdfทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
Sss
SssSss
Sss
 
2
22
2
 
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่งสุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
 
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่งสุสานจักรพรรดิฉินที่ 2  ส่ง
สุสานจักรพรรดิฉินที่ 2 ส่ง
 
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
ชื่อไสลด์ที่อยากให้คนค้นเจอ
 
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
ด.ญ ชนากานต์ พิสุทธิ์
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 

งานเล็ก

  • 2.
  • 3.
  • 4.           สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิ ปรากฏในทำเนียบแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมาแต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่ง ทำมาหากินที่อื่น และ พ . ศ . 2360 " นายแล " ข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทร์ได้อพยพครอบครัวและบริวาร เดินทางข้ามลำน้ำโขง มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านหนองน้ำขุ่น ( หนองอีจาน ) ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบัน ปี พ . ศ . 2362 เมื่อมีคนอพยพเข้ามาอยู่มาก นายแลก็ได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ จนได้รับบำเหน็จความชอบแต่งตั้ง
  • 5. ขุนภักดีชุมพล " ในปี พ . ศ . 2365 นายแลได้ย้ายชุมชนอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากที่เดิมกันดารน้ำ มาตั้งใหม่ที่บริเวณบ้านหลวง ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างหนองปลาเฒ่ากันหนองหลอด เขตอำเภอเมืองชัยภูมิ ปัจจุบัน และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยทองคำถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์อีกต่อไปจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้าน หลวงเป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้งขุนภักดีชุมพล ( แล ) เป็น " พระยาภักดีชุมพล " เจ้าเมืองคนแรกต่อมาเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ได้ก่อการกบฏ ยกทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพฯ โดยหลอกหัวเมืองต่าง ๆ ที่เดินทัพมาว่าจะมาช่วยกรุงเทพฯ รบกับอังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถยึดเมืองนครราชสีมาได้เมื่อปี พ . ศ . 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัย
  • 6. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งต่อมา เมื่อความแตกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมา เพื่อนำไปยังเมืองเวียงจันทร์ เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิงชายชาวเมืองที่ถูกจับโดยการนำของคุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุกฮือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพลเจ้าเมืองชัยภูมิพร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ยกทัพออกไป สมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์จนแตกพ่ายไปฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่งล่า ถอยจากเมืองนครราชสีมาเข้ายึดเมืองชัยภูมิไว้ และเกลี้ยกล่อมให้พระยาภักดีชุมพล ( แล ) เข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอมเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์เกิดความแค้น จึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิตที่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลา เฒ่า ซึ่งต่อมาชาวชัยภูมิได้ระลึกถึงคุณความดีที่ท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละ ต่อแผ่นดิน จึงได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้น ปัจจุบันทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า " ศาลาพระยาภักดีชุมพล ( แล )" มีรูปหล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นที่เคารพกราบไว้และถือเป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของจังหวัด ตั้งอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดชัยภูมิประมาณ 3 กิโลเมตร
  • 7.
  • 8. อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล ( แล ) ชาวบ้านเรียกว่า อนุสาวรีย์เจ้าพ่อพญาแล ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการ ในตัวเมือง ชาวชัยภูมิได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าเมืองคนแรกของชัยภูมิ ตามประวัติเล่าว่า ในปี 2360 ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 2 นายแล ซึ่งเป็นข้าราชการสำนักเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ได้อพยพครอบครัวและบริวารข้ามลำน้ำโขง มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านน้ำขุ่น บริเวณอำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน ต่อมาจึงได้ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่โนนน้ำอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร ได้ส่งส่วยต่อเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ ต่อมาจึงย้ายชุมชนมาอยู่ที่บ้านหลวง ในเขตอำเภอเมืองปัจจุบัน และได้หันมาขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา ส่งส่วยแก่รัชกาลที่ 3 ไม่ขึ้นแก่เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์อีกต่อไป จึงโปรดเกล้าฯ ยกบ้านหลวงเป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตั้ง ขุนภักดีชุมพล ( แล ) เป็นเจ้าเมืองคนแรกของชัยภูมิ
  • 9. ครั้น พ . ศ . 2369 เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ก่อการกบฎ ยกทัพเข้าตีเมืองนครราชสีมา ขุนภักดีชุมพลพร้อมเจ้าเมืองใกล้เคียง ยกทัพไปสมทบกับคุณหญิงโม ตีกระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์จนแตกพ่าย เจ้าอนุวงศ์เกิดความแค้นจึงย้อนกลับมาจับขุนภักดีชุมพลประหารชีวิต ที่บริเวณใต้ต้นมะขามริมหนองปลาเฒ่า ด้วยความดีที่ขุนภักดีชุมพลมีต่อแผ่นดินไทย จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาภักดีชุมพล ( แล ) จังหวัดชัยภูมิจัดงานประจำปีเจ้าพ่อพญาแลในราวเดือนมกราคมของทุกปี
  • 11. ปรางค์ กู่ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองบัว ตำบลในเมือง จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 202 ( ชัยภูมิ - บัวใหญ่ ) ประมาณ 1 กิโลเมตร มีทางแยกขวาเข้าปรางค์กู่ตามทางหลวง 2158 เป็นระยะทางอีก 2 กิโลเมตร ปรางค์กู่เป็นปราสาทหินสมัยขอม ที่มีแผนผังและลักษณะเช่นเดียวกับปราสาทอื่นที่เป็น อโรคยาศาล หรือสถานพยาบาลที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18 นั่นคือ มีปรางค์ประธานอยู่ตรงกลาง 1 องค์ วิหารหรือบรรณาลัยด้านหน้า 1 หลัง ล้อมรอบด้วยกำแพงศิลาแลง นอกกำแพงตรงมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีสระน้ำ 1 สระ ปรางค์ประธานมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 5 เมตร ย่อมุมไม้สิบสอง ด้านหน้ามีประตูเข้าออกทำเป็นมุขยื่นออกมา ผนังปรางค์อีก 3 ด้านเป็นประตูหลอก เหนือประตูหลอกด้านทิศเหนือยังคงมีทับหลังติดอยู่ จำหลักภาพตรงกลางเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งปางสมาธิเหนือหน้ากาล ซึ่งจับท่อนพวงมาลัยไว้ด้วยมือทั้งสองข้าง ด้านหน้ามีทับหลังเช่นกันแต่ลบเลือนไปมาก ที่ช่องประตูหลอกด้านทิศเหนือ มีพระพุทธรูปศิลาปางสมาธิ ศิลปะแบบทวารวดี สูง 1.75 เมตร ประดิษฐานอยู่ โดยเคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น ชาวชัยภูมิให้การเคารพสักการะ มีการจัดงานประจำปีในช่วงกลางเดือน 5 ของทุกปี
  • 12. พระ ธาตุหนองสามหมื่น เป็นโบราณสถานที่มีความสำคัญและน่าสนใจมากแห่งหนึ่งของชัยภูมิ ตั้งอยู่ที่บ้านแก้ง จากตัวเมืองชัยภูมิเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 201 ผ่านอำเภอภูเขียวไปจนถึงบ้านหนองสองห้องระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 2055 อีก 9 กิโลเมตรถึงบ้านแก้งและแยกซ้าย ไปวัดพระธาตุหนองสามหมื่นอีกประมาณ 5 กิโลเมตร พระธาตุหนองสามหมื่น เรียกชื่อตามหนองน้ำ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัด เป็นพระธาตุที่มีลักษณะสวยงาม และสมบูรณ์ที่สุดองค์หนึ่ง ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่จากลักษณะทางด้านสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมที่ปรากฏเกิดจากการผสมผสานกันระหว่างศิลปล้านนา ล้านช้าง และอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 21-22 ในสมัยพระไชยเชษฐาธิราชแห่งราชอาณาจักร
  • 14.
  • 15. การเดินทาง จากตัวเมืองชัยภูมิเดินทางไปตามทางหลวงหมายเลข 201 ผ่านอำเภอภูเขียวไปจนถึงบ้านหนองสองห้องระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 2055 อีก 9 กิโลเมตรถึงบ้านแก้งและแยกซ้ายไปวัดพระธาตุหนองสามหมื่นอีกประมาณ 5 กิโลเมตร
  • 17. ใบ เสมาบ้านกุดโง้ง เก็บรักษาอยู่ภายในบริเวณโรงเรียนวัดกุดโง้ง ตำบลกุดตุ้ม จากตัวเมืองชัยภูมิไปตามทางหลวงหมายเลข 202 ประมาณ 12 กิโลเมตร มีทางแยกขวาไปอีก 3 กิโลเมตรถึงบ้านกุดตุ้ม แล้วแยกขวาเข้าเส้นทางสาย กุดตุ้ม - บุ่งคล้า อีก 4 กิโลเมตร ใบเสมาหินทรายศิลปทวารวดีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-15 ที่พบเป็นจำนวนมากในบริเวณรอบๆ หมู่บ้านได้ถูกนำมารวบรวมไว้ในอาคารอย่างเป็นระเบียบ ส่วนมากมีลักษณะเป็นแผ่นใหญ่ ด้านหน้าจำหลักลายและบางแผ่นมีจารึกอยู่ที่ด้านหลังด้วย ลวดลายที่ปรากฏเป็นเรื่องราวทางพุทธศาสนา เล่าเรื่องชาดกตอนต่างๆ หรือเป็นภาพรูปเคารพ เช่น ภาพพระโพธิสัตว์ประทับยืนบนดอกบัว ภาพพระพุทธเจ้าประทับนั่งบนบัลลังก์ใต้ต้นโพธิ์ นับเป็นกลุ่มเสมาที่สวยงามแห่งหนึ่งในอีสาน
  • 19. เขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว - ทุ่งกะมัง มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ป่าในเขตอำเภอคอนสาร เกษตรสมบูรณ์ และหนองบัวแดง ดำเนินงานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า การเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ไก่ฟ้าพญาลอ นกยูง เก้ง กวาง และเนื้อทราย เป็นต้น โดยปล่อยสัตว์ให้อาศัยอยู่ในพื้นที่ธรรมชาติ สามารถสืบพันธุ์และขยายพันธุ์ได้เอง ได้มีการจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติสำหรับผู้สนใจศึกษาธรรมชาติอย่างใกล้ชิด ทุ่ง กระมัง เป็นทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ใจกลางเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว แหล่งอาหารที่สำคัญของสัตว์กินพืช มีเนื้อที่ 830 ไร่ เมื่อปี พ . ศ . 2526 และ พ . ศ . 2535 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ได้ปล่อยสัตว์ป่าคืนถิ่นในบริเวณนี้ เช่น เก้ง กวาง กระจง และนกต่างๆ มีการจัดทำดินโป่งในบริเวณทุ่งกะมังเพื่อให้สัตว์มากินดินโป่ง และเผาแปลงทุ่งหญ้าเพื่อให้เกิดหญ้าระบัดเป็นอาหารของเก้ง กวางในช่วงฤดูแล้ง บนยอดเนินเหนือบริเวณทุ่งกะมัง มีพระตำหนักที่ประทับอยู่เหนืออ่างน้ำ
  • 20. การเดินทาง ไปเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียวใช้เส้นทางเดียวกับเขื่อนจุฬาภรณ์ ก่อนถึงเขื่อน 3 กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายจากด่านตรวจ ( ปางม่วง ) ไปยังที่ทำการเขตฯ อีก 24 กิโลเมตร การเข้ามาทัศนศึกษาในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ามีสองกรณีคือ หากเข้าชมแบบไป - กลับวันเดียว สามารถขออนุญาตจากเจ้าหน้าที่บริเวณด่านตรวจปางม่วง กรณีพักค้างแรมต้องได้รับอนุญาตจากส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ กรุงเทพฯโดยตรง ทางเขตฯค่อนข้างเคร่งครัดในกฎระเบียบ เพราะสภาพพื้นที่ที่อุดมไปด้วยป่าไม้และสัตว์ป่า การเดินทางเข้ามาในพื้นที่ก็เสมือนการเข้ามารบกวนธรรมชาติ ดังนั้น จึงเหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าจริงๆ และทางเขตฯ ไม่เปิดให้เข้าทัศนศึกษาในช่วง เดือนกรกฎาคม - กันยายน