SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ยอ้นรอยประวัติ 
12 ประตูเมืองเชียงราย
ประตูท่านาค 
ก่อนที่พระยามังรายจะหาแนวกา แพงในวันรุ่งขึ้นในตอน ฟ้าฮ่าม 
พระองค์ได้ตกลงกับพระสหายคนหนึ่งชื่อ นาค ว่าจะทา หมายกาแพง 
เมือง พระสหายนาคมาคอยอยู่เป็นเวลานาน เนื่องจากพระยามังราย 
ยังไม่ตื่นจากพระบรรทม นาค จึงสร้างแนวกาแพงไว้คร่าวๆแล้วจาก 
ไป พระยามังรายจึงตัง้ชื่อกาประตูนี้ว่า ประตูท่านาค
ประตูนางอิง 
ที่ได้ชื่อนี้เพราะ ขณะที่กาลังเรมิ่สร้างได้มีสตรีนางเมือง ออกมา 
ดูพวกู้ชายสร้างกาแพงเมือง บ้างก็ช่วยนาน้าท่า หมาก พลู เมี่ยง 
บุหรี่ มาให้ บ้างก็ยืนพิงกาแพง พักผ่อนอิริยาบถ โดยนางได้ยืนพิง 
ต้นไม้บ้าง กา แพงบ้าง เป็นการพักผ่อนอิริยาบถ ประตูนี้จึงได้ชื่อว่า 
ประตูนางอิง (อิง = พิง)
ประตูท่าทราย 
ในสมัยก่อนเป็นทางออกไปสู่ท่าน้าที่ชาวบ้านและสัตว์ใช้ดื่มใช้ 
อาบ เป็นท่าสา หรับข้ามไปมาระหว่างเมือง ไปแม่น้ากกฝงั่หน้า เป็น 
หาดทรายกว่างยาว เมื่อหน้าแล้งน้าจะแห้งจนเห็นทราย จึงได้ชื่อว่า 
ประตูท่าทราย
ประตูป่าแดง 
ประตูนี้เป็นทางออกสู่สันป่าแดงของตัวเมือง แนวกา แพงเดิมอยู่ 
่า่าับนเส้นขนานที่เรียกว่า ศิลาแลง บนจันคูดูหนาแน่นไปด้วยต้นไม้แดง 
ซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็งและใหญ่โตมาก ซึ่งสามารถที่จะมองเห็นปไม้สี่าแดง 
จากที่ไกลๆ ประตูนี้จึงได้ชื่อว่า ประตูปแดง ปจจุบันที่ตั้งของประตู 
ปแดงคือ สามแยกหน้าโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
ประตูสรี 
ประตูสรี หรือ ประตูศรีเกิด ชื่อประตูนี้ตัง้ขึ้นเพื่อให้เกิดสิริมงคล 
แก่เมืองและพลเมือง ตามประเพณีโบราณ มักจะปลูกต้นโพธิ ์ซึ่ง 
ภาษาท้องถนิ่เรียกว่า ต้นสรี ไว้ใกล้ประตูเมือง เพื่อให้เป็นสรีบ้าน สรี 
เมือง ที่ตั้งปัจจุบันคือ สี่แยกคริสจักร 1 เวียงเชียงราย
ประตูขะต้า 
ประตูขะต้า มีไว้หลอกล่อข้าศึกให้ติดกับดัก หรือพื้นที่สังหาร ซึ่ง 
เมืองข้าศึกได้เข้ามาในพื้นที่บริเวณนั้นแล้ว จะไม่มีทางที่จะรอด 
กลับไปได้เลย เพราะพื้นที่บริเวณประตูขะต้านั้นมีกับดักมากมาย
ประตูหวาย 
ประตูหวาย ประตูเป็นป่าหวายที่หนาทึบ เนื่องจากอยู่ปากหลอง 
คือ หนองเขียว และในตอนนั้นลา เสาก็ได้ใช้หวายเป็นวัตถุแทนเชือก 
ปัจจุบันประตูหวายตั้งอยู่ บริเวณหอนาฬิกาใหม่ ศิลปะชิ้นเอกของ 
อาจารย์เฉลิมชัย
ประตูเชียงใหม่ 
ประตูเชียงใหม่ หรือประตูใหม่ สมบูรณ์แบบกว่าประตูอื่นๆ คือ 
เป็นประตูโขง (ประตูที่เป็นซุ้มก่อเป็นช่องด้านบนก่ออิฐโค้งมาจบกัน) 
การเดินทางออกไปติดต่อกับเมืองเชียงใหม่ ออกไปประตูนี้ ช่วงหลัง 
ต่อมาจึงเรียกว่า ประตูเชียงใหม่ (สร้างเสร็จหลังสุด)
ประตูผี 
ประตูผี มาจากการย้ายสุสาน ในอดีตการย้ายสุสานไปทางทิศ 
่าตะวัน่น 
ออกเฉียงใต้มาไว้ทิศตะวันตกเวียง มีบันทึกไว้ว่า สกราช 1211 
ราชครูเกสร วัดพระนมดี เมืองนครเชียงใหม่เป็นสังฆะ 100 คนนั้น 
ย้ายสุสานเดือน 6 ขึ้น 5 ค่า เอาศพจ้าวบุรีภูเกียงไปเผา ประเดิมศพ 
แรกที่ทา การฌาปนกิจ ณ ที่สุสานเด่นห้า คือ ศพจ้าวบุรีภูเกียง จ้าว 
บุรีรัตน์เมืองเชียงราย บุตรของจ้าวพญาคาฝัจ้าวผู้ครองนคร 
เชียงใหม่องค์ที่ 3 สาเหตุที่ต้องย้ายปช้าเพราะเกณฑ์กา หนดทักษะ 
ตามโบราณศาสตร์ว่า “ในเวลานั้นเราสสดอนก็สิบหาย ตายกันนัก “
ประตูท่อ 
เป็นปากเหมืองทางระบายน้าออกจากเวียงเชียงราย เพราะใน 
เวียงมีแต่แหล่งน้าที่เป็น สระเกษมเมือง หรือหนองสี่แจ่ง และหนอง 
เมืองลวง รับน้าแม่กกจากหนองอู่วังคา ด้านหัวน้าทางตะวันตกเฉียง 
เหนือของเวียง ชักน้าเข้ามาเลี้ยงในเมือง แล้วระบายน้าออกทางท่อ 
ใกล้ประตูเมืองด้านตะวันออก ลงที่ร่องปลาค้าว ซึ่งติดกับแม่น้ากก 
ทางวังดินและแควหวาย ปัจจุบันนี้หาซากประตูไม่ได้ สถานที่ไปอยู่ใน 
ที่ของเอกชน ส่วนท่อระบายน้าก็ถูกถมจนไม่ทราบว่า จุดไหนเป็น 
ปลายท่อหรือหัวท่อ จึงได้ชื่อว่า ประตูท่อ
ประตูเจ้าชาย 
แต่เดิมเรียกว่าประตูจ้าว เป็นชื่อยศทางการทหารและเจ้าชายที่ 
เป็นญาติกับเจ้าหลวง เรียกว่า เจ้าชาย มีค้มุอยู่ใกล้กับกา แพงเมือง 
ได้บงการให้ชาวบ้านช่วยกันเจาะแต่งกาแพงเมืองให้เป็นช่องพอให้ 
ช้างผ่านได้ ประตูเจ้าชายเป็น 1 ใน 6 ของประตูเมืองที่ได้รับการ 
บูรณปฏิสังขรณ์
ประตูยางเสิ้ง 
ประตูยางเสิ้ง หรือประตูยางเทิง , ประตูยางเนิ้ง ประตูนี้เป็นประตูที่ 
เจาะใหม่ เนื่องจากประตูด้านนี้อยู่ใกล้ขอบหนองสี่แจ่งด้านตะวันออก ซึ่ง 
ด้านนี้มีต้นยางและต้นตะเคียนสูงใหญ่ที่ขึ้นเรียงรายอยู่มาก ต้นยางขนาด 
ใหญ่ได้โค่นล้มทับกา แพงเวียงอยู่ ชาวบ้านจึงอาศัยปีนขึ้นไปบนลา ต้นยาง 
ที่ล้มนี้ ออกสู่ด้านนอกกา แพงเวียง ตอนหลังได้ช่วยกันเจาะเป็นช่องพอเข้า 
– ออก ได้สะดวก ทางการบ้านเมืองเห็นว่าทาเป็นทางเข้า – ออกเวียงได้ 
จึงเกณฑ์ชาวบ้านมาเจาะแต่งและสร้างเป็นประตูเมืองขึ้นมา และเรียก 
ประตูนี้ว่า ประตูยางเสิ้ง บางที่ก็เรียกว่า ยางเนิ้ง (เสิ้ง , เนิ้ง = เอน) และ 
ยางเทิง เพราะประตูนี้สามารถเป็นทางผ่านไปเมืองเทิงได้ด้วย
ประตูเมืองและกาแพงเมืองในปัจ 
จุบันถูกสร้างขึ้นมา 
ใหม่ในปี พ.ศ. 2386 โดยพระยาพุทธวงศ์ เจ้าหลวง 
เชียงใหม่ได้ฟื้นฟูเมืองขึ้นหลังจากที่เป็นเมืองร้างเพราะ 
สงครามในปี พ.ศ. 2347
คณะผูจั้ดทา 
นางสาว นวพรรษ จิตต์ชื้น เลขที่ 24 
นางสาว ฮัสมูนา ตานี เลขที่ 28 
นางสาว พัชรินทร์ มะโนวรรณ เลขที่ 36 
นางสาว อมราพร สีริ เลขที่ 38 
นักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 5.3 
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS

More Related Content

What's hot

07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
JulPcc CR
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
chickyshare
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรม
Tongsamut vorasan
 
ทักษะการทำงานเป็นทีม
ทักษะการทำงานเป็นทีมทักษะการทำงานเป็นทีม
ทักษะการทำงานเป็นทีม
guest0ca794
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี
Sutthida0802
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
Tongsamut vorasan
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 

What's hot (20)

07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว2.ตลาดท่องเที่ยว
2.ตลาดท่องเที่ยว
 
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรม
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
ทักษะการทำงานเป็นทีม
ทักษะการทำงานเป็นทีมทักษะการทำงานเป็นทีม
ทักษะการทำงานเป็นทีม
 
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรีอาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 

ประวัติประตูเมืองเชียงราย

  • 2. ประตูท่านาค ก่อนที่พระยามังรายจะหาแนวกา แพงในวันรุ่งขึ้นในตอน ฟ้าฮ่าม พระองค์ได้ตกลงกับพระสหายคนหนึ่งชื่อ นาค ว่าจะทา หมายกาแพง เมือง พระสหายนาคมาคอยอยู่เป็นเวลานาน เนื่องจากพระยามังราย ยังไม่ตื่นจากพระบรรทม นาค จึงสร้างแนวกาแพงไว้คร่าวๆแล้วจาก ไป พระยามังรายจึงตัง้ชื่อกาประตูนี้ว่า ประตูท่านาค
  • 3. ประตูนางอิง ที่ได้ชื่อนี้เพราะ ขณะที่กาลังเรมิ่สร้างได้มีสตรีนางเมือง ออกมา ดูพวกู้ชายสร้างกาแพงเมือง บ้างก็ช่วยนาน้าท่า หมาก พลู เมี่ยง บุหรี่ มาให้ บ้างก็ยืนพิงกาแพง พักผ่อนอิริยาบถ โดยนางได้ยืนพิง ต้นไม้บ้าง กา แพงบ้าง เป็นการพักผ่อนอิริยาบถ ประตูนี้จึงได้ชื่อว่า ประตูนางอิง (อิง = พิง)
  • 4. ประตูท่าทราย ในสมัยก่อนเป็นทางออกไปสู่ท่าน้าที่ชาวบ้านและสัตว์ใช้ดื่มใช้ อาบ เป็นท่าสา หรับข้ามไปมาระหว่างเมือง ไปแม่น้ากกฝงั่หน้า เป็น หาดทรายกว่างยาว เมื่อหน้าแล้งน้าจะแห้งจนเห็นทราย จึงได้ชื่อว่า ประตูท่าทราย
  • 5. ประตูป่าแดง ประตูนี้เป็นทางออกสู่สันป่าแดงของตัวเมือง แนวกา แพงเดิมอยู่ ่า่าับนเส้นขนานที่เรียกว่า ศิลาแลง บนจันคูดูหนาแน่นไปด้วยต้นไม้แดง ซึ่งเป็นไม้เนื้อแข็งและใหญ่โตมาก ซึ่งสามารถที่จะมองเห็นปไม้สี่าแดง จากที่ไกลๆ ประตูนี้จึงได้ชื่อว่า ประตูปแดง ปจจุบันที่ตั้งของประตู ปแดงคือ สามแยกหน้าโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
  • 6. ประตูสรี ประตูสรี หรือ ประตูศรีเกิด ชื่อประตูนี้ตัง้ขึ้นเพื่อให้เกิดสิริมงคล แก่เมืองและพลเมือง ตามประเพณีโบราณ มักจะปลูกต้นโพธิ ์ซึ่ง ภาษาท้องถนิ่เรียกว่า ต้นสรี ไว้ใกล้ประตูเมือง เพื่อให้เป็นสรีบ้าน สรี เมือง ที่ตั้งปัจจุบันคือ สี่แยกคริสจักร 1 เวียงเชียงราย
  • 7. ประตูขะต้า ประตูขะต้า มีไว้หลอกล่อข้าศึกให้ติดกับดัก หรือพื้นที่สังหาร ซึ่ง เมืองข้าศึกได้เข้ามาในพื้นที่บริเวณนั้นแล้ว จะไม่มีทางที่จะรอด กลับไปได้เลย เพราะพื้นที่บริเวณประตูขะต้านั้นมีกับดักมากมาย
  • 8. ประตูหวาย ประตูหวาย ประตูเป็นป่าหวายที่หนาทึบ เนื่องจากอยู่ปากหลอง คือ หนองเขียว และในตอนนั้นลา เสาก็ได้ใช้หวายเป็นวัตถุแทนเชือก ปัจจุบันประตูหวายตั้งอยู่ บริเวณหอนาฬิกาใหม่ ศิลปะชิ้นเอกของ อาจารย์เฉลิมชัย
  • 9. ประตูเชียงใหม่ ประตูเชียงใหม่ หรือประตูใหม่ สมบูรณ์แบบกว่าประตูอื่นๆ คือ เป็นประตูโขง (ประตูที่เป็นซุ้มก่อเป็นช่องด้านบนก่ออิฐโค้งมาจบกัน) การเดินทางออกไปติดต่อกับเมืองเชียงใหม่ ออกไปประตูนี้ ช่วงหลัง ต่อมาจึงเรียกว่า ประตูเชียงใหม่ (สร้างเสร็จหลังสุด)
  • 10. ประตูผี ประตูผี มาจากการย้ายสุสาน ในอดีตการย้ายสุสานไปทางทิศ ่าตะวัน่น ออกเฉียงใต้มาไว้ทิศตะวันตกเวียง มีบันทึกไว้ว่า สกราช 1211 ราชครูเกสร วัดพระนมดี เมืองนครเชียงใหม่เป็นสังฆะ 100 คนนั้น ย้ายสุสานเดือน 6 ขึ้น 5 ค่า เอาศพจ้าวบุรีภูเกียงไปเผา ประเดิมศพ แรกที่ทา การฌาปนกิจ ณ ที่สุสานเด่นห้า คือ ศพจ้าวบุรีภูเกียง จ้าว บุรีรัตน์เมืองเชียงราย บุตรของจ้าวพญาคาฝัจ้าวผู้ครองนคร เชียงใหม่องค์ที่ 3 สาเหตุที่ต้องย้ายปช้าเพราะเกณฑ์กา หนดทักษะ ตามโบราณศาสตร์ว่า “ในเวลานั้นเราสสดอนก็สิบหาย ตายกันนัก “
  • 11. ประตูท่อ เป็นปากเหมืองทางระบายน้าออกจากเวียงเชียงราย เพราะใน เวียงมีแต่แหล่งน้าที่เป็น สระเกษมเมือง หรือหนองสี่แจ่ง และหนอง เมืองลวง รับน้าแม่กกจากหนองอู่วังคา ด้านหัวน้าทางตะวันตกเฉียง เหนือของเวียง ชักน้าเข้ามาเลี้ยงในเมือง แล้วระบายน้าออกทางท่อ ใกล้ประตูเมืองด้านตะวันออก ลงที่ร่องปลาค้าว ซึ่งติดกับแม่น้ากก ทางวังดินและแควหวาย ปัจจุบันนี้หาซากประตูไม่ได้ สถานที่ไปอยู่ใน ที่ของเอกชน ส่วนท่อระบายน้าก็ถูกถมจนไม่ทราบว่า จุดไหนเป็น ปลายท่อหรือหัวท่อ จึงได้ชื่อว่า ประตูท่อ
  • 12. ประตูเจ้าชาย แต่เดิมเรียกว่าประตูจ้าว เป็นชื่อยศทางการทหารและเจ้าชายที่ เป็นญาติกับเจ้าหลวง เรียกว่า เจ้าชาย มีค้มุอยู่ใกล้กับกา แพงเมือง ได้บงการให้ชาวบ้านช่วยกันเจาะแต่งกาแพงเมืองให้เป็นช่องพอให้ ช้างผ่านได้ ประตูเจ้าชายเป็น 1 ใน 6 ของประตูเมืองที่ได้รับการ บูรณปฏิสังขรณ์
  • 13. ประตูยางเสิ้ง ประตูยางเสิ้ง หรือประตูยางเทิง , ประตูยางเนิ้ง ประตูนี้เป็นประตูที่ เจาะใหม่ เนื่องจากประตูด้านนี้อยู่ใกล้ขอบหนองสี่แจ่งด้านตะวันออก ซึ่ง ด้านนี้มีต้นยางและต้นตะเคียนสูงใหญ่ที่ขึ้นเรียงรายอยู่มาก ต้นยางขนาด ใหญ่ได้โค่นล้มทับกา แพงเวียงอยู่ ชาวบ้านจึงอาศัยปีนขึ้นไปบนลา ต้นยาง ที่ล้มนี้ ออกสู่ด้านนอกกา แพงเวียง ตอนหลังได้ช่วยกันเจาะเป็นช่องพอเข้า – ออก ได้สะดวก ทางการบ้านเมืองเห็นว่าทาเป็นทางเข้า – ออกเวียงได้ จึงเกณฑ์ชาวบ้านมาเจาะแต่งและสร้างเป็นประตูเมืองขึ้นมา และเรียก ประตูนี้ว่า ประตูยางเสิ้ง บางที่ก็เรียกว่า ยางเนิ้ง (เสิ้ง , เนิ้ง = เอน) และ ยางเทิง เพราะประตูนี้สามารถเป็นทางผ่านไปเมืองเทิงได้ด้วย
  • 14. ประตูเมืองและกาแพงเมืองในปัจ จุบันถูกสร้างขึ้นมา ใหม่ในปี พ.ศ. 2386 โดยพระยาพุทธวงศ์ เจ้าหลวง เชียงใหม่ได้ฟื้นฟูเมืองขึ้นหลังจากที่เป็นเมืองร้างเพราะ สงครามในปี พ.ศ. 2347
  • 15. คณะผูจั้ดทา นางสาว นวพรรษ จิตต์ชื้น เลขที่ 24 นางสาว ฮัสมูนา ตานี เลขที่ 28 นางสาว พัชรินทร์ มะโนวรรณ เลขที่ 36 นางสาว อมราพร สีริ เลขที่ 38 นักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 5.3 งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS