SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



                             เหตุการณสําคัญในรัชกาลที่ 6




                   http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Monument_of_Rama_VI_at_Lumphini_Park_(1).jpg


                                                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




          พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต
      บรรดาเชื้อพระวงศและขาราชการชั้นสูงพรอมใจกันอัญเชิญ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
      เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ขึ้นครองราชยเปนรัชกาลที่ 6 แหงราชวงศจักรี
      พระนามวา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
        - ปรับปรุงระเบียบการปองกันพระราชอาณาจักร เมื่อ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2453
      กลาวคือ
        - ยุบเลิกกรมยุทธนาธิการ ใหไปรวมกับกระทรวงกลาโหม
        - ยกกรมทหารเรือเปนกระทรวงทหารเรือ




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



       - ตั้งยศจอมพล โดยพระราชทานให สมเด็จพระ
    ราชปตุลาบรมพงศาภิมุข เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ
    กรมพระยาภาณุพันธุวงศวรเดช (สมเด็จวังบูรพา)
    เปนองคปฐม ใหใชคําวา จอมทัพ แทนคําวา จอม
    พล ซึ่งไดใชแทนยศที่เหนือกวาพลเอก
    ตั้งสภาปองกันพระราชอาณาจักร (ตนรากแหง
    สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ)




                                                      http://1.bp.blogspot.com/_FjMzSorZY2Y/Sdh6ZNze7jI/AAAAAAAAAHM/
                                                      PCG4sT_LlVI/s400/10%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B
                                                      8%B2%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8
                                                      %B2%E0%B8%93%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8
                                                      %87%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B9
                                                      %88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%
                                                      A8%E0%B9%8C.jpg
                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6

         - ตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย) เมื่อ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453
       ยกฐานะโรงเรียนมหาดเล็ก เปนโรงเรียนขาราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระ
       จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งตอมาคือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อ 29 ธันวาคม พ.ศ.
       2453


                                                                                     http://www.chaoprayanews.com
                                                                                     /wp-
                                                                                     content/uploads/2009/03/e0b98
                                                                                     2e0b8a3e0b887e0b980e0b8a3
                                                                                     e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a7e
                                                                                     0_002.jpg


          - เกิดภาวะวิกฤติทางการเงินทีธนาคารสยามกัมมาจลทุนจํากัด จนตองปลด
                                        ่
       ผูจัดการธนาคารสยามกัลมาจล ที่เปนคนไทยออกไป ฐานกอความวุนวายทางการเงิน
       ของธนาคารโดยการปลอยกูไมรูประมาณ แลวยึดสวนสาธารณะซึ่งเปนที่ของ ผูจัดการ
       ธนาคารสยามกัลมาจลเพื่อชําระหนี้ กอนให นาย ป. ชวาซ ผูจัดการแผนกตางประเทศ
       ซึ่งเปนปรัสเซีย เขาทําหนาที่แทนโดยนํากําไรจากแผนกตางประเทศ มาแซมทุนพอ
       แกไขภาวะวิกฤตทางการเงินไปได
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6

         พ.ศ. 2454
           - 1 พฤษภาคม โปรดเกลาฯ ใหตั้งกองเสือปา ซึ่งเปนรากฐานของกรมการรักษา
         ดินแดน หรือ หนวยบัญชาการกําลังสํารองในปจจุบัน
           - 1 กรกฎาคม โปรดเกลาฯ ใหตั้งกองลูกเสือ
           - 11 พฤศจิกายน จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีการเชิญราชวงศจากยุโรป
         และญี่ปุนใหเสด็จมาทรงรวมการพระราชพิธีในกรุงสยาม นับเปนการรับพระราช
         อาคันตุกะจํานวนมาก เปนครั้งยิ่งใหญครั้งแรกของประเทศ




                       http://www.chaoprayanews.com/wp-content/uploads/2009/03/19lp8.jpg                           http://gotoknow.org/file/airscout/image0.jpg

                                                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         พ.ศ. 2454
           - 29 ธันวาคม ชาวตะวันตกนําเครื่องบิน (สมัยนั้นเรียกเครื่องเหาะ) มาบินครั้ง
         แรกที่สนามมาสระปทุม (สนามมาราชกรีฑาสโมสร หรือ สนามฝรั่ง)
           - เกิด ร.ศ. 130 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง และหากไมสามารถดําเนินการ
         ไดสําเร็จก็ตองการลอบปลงพระชนม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ. 2454 (นับ
         อยางใหม ป พ.ศ. 2455) แตสามารถจับกุมควบคุมสถานการณได
         ทรงริเริ่มการศึกษาพระปริยัติธรรมใหมขึ้นอีกหลักสูตรหนึ่ง เรียกวา "นักธรรม"
         โดยมีการสอบครั้งแรกเมื่อ เดือนตุลาคม 2454
         ตอนแรกเรียกวา "องคของสามเณรรูธรรม"
           - สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ กรมพระยา
         วชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนวิธีการสอบ
         บาลีสนามหลวงจากปากเปลามาเปน
         ขอเขียน เปนครั้งแรก
                                                                  http://www.kwc.ac.th/1Part%20K6.files/image058.jpg


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



      พ.ศ. 2455
        - โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนมาใชพุทธศักราช (พ.ศ.) ในราชการแทนรัตนโกสินทรศก
      (ร.ศ.) มีผลบังคับใชเมื่อ 1 เมษายน พ.ศ. 2456




                                                 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


      2456
        - จัดตั้งคลังออมสิน เมื่อ 1 เมษายน 2456 ตนรากแหงธนาคารออมสิน
        - ตราพระราชบัญญัตินามสกุล แตกวาจะบังคับใชไดโดยสมบูรณกับราษฎรทุกคนก็
      เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปแลว ในรัชกาลที่ 6 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
      พระราชทานนามสกุลแกผูขอพระราชทานกวา 6,000 นามสกุล




                                               http://gotoknow.org/file/ha_deaw/preview/3.jpg

                                                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


      2456
         - เกิดภาวะวิกฤตทางการเงิน ป พ.ศ. 2456 เนื่องจากแบงคจีนสยามทุนลมละลาย
      ทําใหฐานะทางการเงินของธนาคารสยามกัมมาจลและ บรรดาโรงสีขาวตกอยูในภาวะคับ
      ขัน ดวยเนื่องจาก
             1) เจาหนาที่ของแบงคจีนสยามทุนไดยักยายเอาหนี้ไปใสในบัญชีของธนาคาร
      สยามกัมมาจล และฉอโกงเอาทุนและกําไรของธนาคารธนาคารสยามกัมมาจลมาใส
      แบงคจีนสยามทุนโดยเลี่ยงภาษีดวย
             2) แบงคจีนสยามทุนจํากัด ไดปลอยกูใหโรงสีขาวเปนจํานวนมาก ถาฝนแลง
      ขาวขาดแคลน โรงสีก็เสี่ยงกับธุรกิจตกต่ํา เมื่อแบงคจีนสยามทุน ตกอยูในภาวะ
      ลมละลาย เจาของโรงสีพากันขาดแหงเงินกูเพื่อดําเนินหรือฟนฟูกิจการตอไปได




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



       2457
        - ตั้งกองบินขึ้นในกองทัพบก
        - เริ่มสรางสนามบินดอนเมือง และเปดใชงานในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2457
        - เปดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
        - ตั้ง วชิรพยาบาล
        - เริ่มใหบริการน้ําประปา เมื่อ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457
        - ตั้งโรงเรียนพยาบาลของสภากาชาดไทย
        - ตั้งเนติบัณฑิตยสภา




                                               http://www.bangkokflying.com/imagesupload/imgarticle/display/P00008.jpg


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



       2457
          - มีพระบรมราชานุมัติใหกูยืมเงินเพื่อสรางทางรถไฟสายใต จากรัฐบาลสหรัฐมลายู
       เพิ่มอีก 750,000 ปอนด ตามคํากราบบังคมทูลของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ
       นเรศวรวรฤทธิ์ เนื่องจากเงินกู 4 ลานปอนดเพียงพอสําหรับทางรถไฟสายใตที่เชื่อม
       ฝงตะวันตก ตามความตองการของพอคาจีน พอคาแขกเมืองปนังเทานั้น แตไมพอ
       สําหรับทางรถไฟผานมณฑลปตตานีไปเชื่อมทางรถไฟที่ฝงกลันตัน
          - เดือนสิงหาคม เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1




                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



             พ.ศ. 2458
                - เสด็จฯ เยือนหัวเมืองปกษใต ครั้งแรกหลังจากเสวยราชย แมทางรถไฟสายใต
             ยังไมเชื่อมตอกันสมบูรณ
                - เริ่มการสรางสะพาน 5 หอ (สะพานปางหละ) หลังจากไดรับสะพานหอสูงซึ่ง
             เปนเครื่องเหล็กจากปรัสเซีย




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6

       2459
          - 1 เมษายน เลิกหวย ก.ข.
          - 1 เมษายน เปดการเดินรถถึงลําปาง
          - 26 กุมภาพันธ ทดลองจัดตั้งสหกรณเปนแหงแรก ที่ วัดจันทร จังหวัดพิษณุโลก
          - 17 กันยายน ทางรถไฟสายใตเชื่อมกันตลอด ทีชุมพร
                                                     ่
          - 25 มิถุนายน เปด สถานีรถไฟหลวงกรุงเทพ (สถานีรถไฟกรุงเทพ) ทีหัวลําโพง
                                                                             ่
       หลังจากที่ดําเนินการขยายสถานีรถไฟกรุงเทพ
       ตั้งแตเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2453
          1 มกราคม พ.ศ. 2459 (นับอยางใหมตอง
       เขาป พ.ศ. 2460) เปดการเดินรถโดยไมตอง
       เปลี่ยนรถจากบางกอกนอยไปอูตะเภา ใชเวลา
       เดินรถ 3 วันเพราะ ตองคางคืนที่ บานพักรถไฟ
       ที่ สถานีชุมพร และ สถานีชุมทางทุงสง
                                                  http://i284.photobucket.com/albums/ll8/Mongwin/souvenir1917/019tn.jpg


                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6

       2459
         - สถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 (นับอยางใหม
       ตองเขาป พ.ศ. 2460)
         - ตั้งกรมทหารรักษาวังที่นครศรีธรรมราชซึ่งถือวาเปนการตั้งกองทหาร ในเขต
       ภาคใตซึ่งเปนเขตอิทธิพลของอังกฤษ ที่หามตั้งหนวยทหาร แตใหตั้งกองตํารวจ ที่ใช
       พลเมืองทองถิ่นทําหนาที่รักษาความสงบ โดยอางวาเปนการตั้งกองทหารรักษาที่
       ประทับ อันเปนกุศโลบายในการรักษาความมั่นคงในเวลาที่สยามยังไมพรอมที่จะ
       ปองกันพระราชอาณาจักร




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



      - แตงตั้งกรมหลวงกําแพงเพชรอัครโยธินขึ้นเปนเจากรมรถไฟหลวง เมื่อ 5
    มิถุนายน พ.ศ. 2460 แทนเจากรม หลุยส ไวเลอร ชาวปรัสเซีย เพื่อจัดการรวมกรม
    รถไฟหลวงสายเหนือ และ กรมรถไฟหลวงสายใตเขาดวยกัน และ เพื่อกําจัดอิทธิพล
    เยอรมันออกไปดวย
      - 22 กรกฎาคม ทรงประกาศเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 กับฝายสัมพันธมิตรทํา
    สงครามกับฝายมหาอํานาจกลาง คือ เยอรมัน ออสเตรีย ฮังการี มีการ ปลด
    เจาหนาที่ชาวปรัสเซียและออสเตรียออกจากตําแหนง ทั้งในกรมรถไฟและในธนาคาร
    สยามกัมมาจล พรอมสั่งพิทักษทรัพยชนชาติศัตรู ซึ่งกวาจะถอนออกไดก็ป พ.ศ.
    2471
      - เกิดเหตุน้ําทวมปมะเส็ง ทางรถไฟขาดหลายชวง ตองหยุดการเดินรถ 4-57 วัน
    เสด็จฯ เยือนหัวเมืองปกษใต ครั้งที่ 2 คราวนี้เสด็จมณฑลภูเก็ต และ เปนครั้งแรกที่
    ใชรถพระที่นั่งโบกี้ ที่สั่งเขามาใหมจากอังกฤษ ที่มาแทนรถพระที่นั่ง 4 ลอ

                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


       2460
        - เปลี่ยนธงชาติ จากธงชางเผือกมาเปนธงไตรรงค
          - ตั้งกรมมหาวิทยาลัย
          - เลิกการพนันบอนเบี้ย
          - เปลี่ยนแปลงการนับเวลาใหสอดคลองกับสากล คือใชคําวา กอนเที่ยง (ก.ท. -
       AM) และหลังเที่ยง (ล.ท. - PM)
          - แกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร
          - กําหนดคํานําหนานามสตรี จากอําแดงเปนนางและ นางสาวตามธรรมเนียมสากล
       ออกพระราชบัญญัติหามสงเงินแทงและเหรียญบาทออกนอกประเทศ เนื่องจากเนื้อเงิน
       แพงกวาหนาเหรียญทําใหมีคนหากําไรโดยการลักลอบหลอมเหรียญบาทเปนเงินแทง
       สงไปขายเมือง จนตองลดความบริสุทธิ์เนื้อเงินจาก เงิน 90 ทองแดง 10๐ เปน เงิน
       50 ทองแดง 50 แมที่สุดจะแกเปน เงิน 65 ทองแดง 35
          - 1 เมษายน รถไฟหลวงไปถึงสถานีนาประดู (สถานีสําคัญระหวางจังหวัดปตตานี
       และยะลา)
                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         2461
            - 6 เมษายน เปลี่ยนนามพระพุทธปรางคปราสาท
         เปนปราสาทพระเทพบิดร
         ตั้งดุสิตธานี ทดลองการปกครองตนเองตามระบอบ
         ประชาธิปไตย พรอมออกหนังสือพิมพดุสิตสมิต และ
         ดุสิตสมัย
            - ตราธรรมนูญลักษณะการปกครองคณะนคราภิบาล
            - ตราพระราชบัญญัตโรงเรียนราษฎร ฉบับแรก
                                 ิ
            - ตั้งกรมสาธารณสุข ในกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเปน
         ตนรากแหง กระทรวงสาธารณสุข
            - สงทหารไปรวมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป
         เมื่อไดรับชัยชนะจึงเปนเหตุใหสยามมีอํานาจเจรจา
         ตอรองขอแกไขสนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมที่ไดทําไวแต
         รัชกาลกอนๆ ได                                                http://www.su-usedbook.com/shop/s/su-
                                                                        usedbook/img-lib/spd_2009111855524_b.jpg

                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         2461
            - อุโมงคขุนตานทะลุถึงกันสําเร็จ
            - เริ่มใชธนบัตร 1 บาท ตราครุฑ แทนการใชเหรียญกษาปณเงิน 1 บาท ที่ถูก
         ยกเลิกไมใหใชเปนที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย และใหเก็บเหรียญบาทเปนทุนสํารอง
         เงินตราซึ่งตอมาในป พ.ศ. 2482 ไดขายเหรียญบาทเงินใหรัฐบาลสหรัฐอเมริกาแลว
         เอาเงินดอลลารสหรัฐ ไปซื้อทองคําแทง ในราคา 35 ดอลลาร ตอทองคําแทง 1
         ออนซ เพื่อเปนทุนสํารองธนบัตรสยาม
            - 1 กรกฎาคม รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงปาดังเบซาร โดยใหกรมรถไฟ
         สหพันธรัฐมลายูเปนผูรับผิดชอบเนื่องจากสถานีปาดังเบซารอยูในเขตแดนมลายู
         (หางจากหลักเขตกรุงสยามไปทางใตประมาณ 300 เมตร) แลวใหแบงรายไดและ
         คาใชจายกับกรมรถไฟหลวง ครึ่งหนึ่ง



                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


       2462
          - ประกาศให วันที่ 6 เมษายนเปนวันจักรี และ ใหถือวาเปนวันชาติในยุคสม
       บูรณาญาสิทธิราช
          - วางระเบียบการเรียกเก็บเงินรัชชูปการ ซึ่งเปนการเสียเงินปละ 6 บาท ในยุคที่
       ขาวสารถังละ 50 สตางค ซึ่งถาเสียรัชชูปการแลวก็จะมีการออกตั๋วสีเหลืองขนาดเทาตั๋ว
       จํานํา พิมพคําวา 6 บาท ตัวโตๆ ถาไมเสียรัชชูปการ (หรือเสียคาตั๋วสวย) ก็โดนสงไป
       ทํางานโยธา พวกที่ตองยกเวนไมตองเสียรัชชูปการคือ พวกเจานายตั้งแตระดับพระองค
       เจาขึ้นไป ทหารตํารวจ และประชาชนที่ผานการเกณฑทหารแลว
          - เริ่มการใชเวลามาตรฐาน (+7 ชั่วโมงเมื่อที่ยบกับเวลามาตรฐานกรีนิช)
          - เกิดภาวะฝนแลง ทําใหขาวตายเปนจํานวนมาก ถึงขั้นตองขุดหัวมัน หัวเผือก หัว
       กลอยและ เก็บขุยไผ (เมล็ดตนไผที่รวงมาเมื่อไผออกดอกกอนจะแหงตาย) กินประทัง
       ชีวิต จนรัฐบาลตองประกาศ พระราชกําหนดหามการสงออกขาวไปตางประเทศ ซึ่งจะ
       ยกเวนเฉพาะขาวที่ไดมีการทําสัญญาการซื้อขายไวกอนหนาการประกาศพระราชกําหนด

                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




         - ทหารไทยไดรับชัยชนะกลับจากงานพระราชสงครามในทวีปยุโรป
         - 20 ตุลาคมสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปหลวง
       เสด็จสวรรคต ณ วังพญาไท
         - โปรดเกลาฯใหพิมพคัมภีรอรรถกถาแหงพระไตรปฎกและอรรถกถาชาดก และ
       คัมภีรอื่น ๆ เชน วิสุทธิมรรค มิลินทปญหา เปนตน
         - ทรงนิพนธหนังสือแสดงหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา
       หลายเรื่อง เชน เทศนาเสือปา พระพุทธเจาตรัสรูอะไร เปนตน
       ทรงอบรมสั่งสอนธรรมะแกขาราชการ และขาราชสํานักดวย
       พระองคเอง
         - เริ่มการสรางสะพานทาชมพู


                                                                       http://www.snr.ac.th/sakyaputto/nbuddha/ram6.gif


                                                พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




       - เริ่มการสรางสะพานทาชมพู




                                          http://www.culture.go.th/culturemap/pictures/map/51140-5-1.jpg




                                                                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         พ.ศ. 2463
           - แกไขสนธิสัญญาใหมกับสหรัฐอเมริกาสําเร็จเปนประเทศแรก
           - เปดการขนสงไปรษณียภัณฑทางอากาศระหวาง กรุงเทพ - นครราชสีมา
           - สตรีในพระราชสํานัก เริ่มนุงซิ่น ไวผมยาว
           - เริ่มการสรางสะพาน 2 หอ (สะพานปางยางใต) สะพาน 3 หอ (สะพานปางยาง
         เหนือ) หลังจากที่ลาชาเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทําใหสงเครื่องเหล็กมากรุง
         สยามไมได กอนหนานั้นตองสรางสะพานไมซึ่งตองจํากัดความเร็วไวที่ 5 กม/ชม.
           - รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงตันหยงมัส (สถานีซึ่งอยูใกล เมือง นราธิวาส
         เกาที่ อําเภอ ระแงะ แตมีถนนไปที่ เมืองนราธิวาสใหมที่บางนรา)
           - เริ่มติดตั้งรถเสบียงในขบวนรถไฟ




                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         - ตั้งกระทรวงพาณิชยเพื่อแกไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ําเนื่องจากฝนแลงป พ.ศ.
       2462 โดยโปรดฯ ให พระเจาพี่ยาเธอ กรมหลวงจันทบุรีนฤนาถ (พระเจาบรมวงศ
       เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาท) เปนเสนาบดีกระทรวงพาณิชย
         - สมเด็จพระเจานองยาเธอผูทรงเปนพระรัชทายาท (สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
       เจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ) เสด็จทิวงคตจากอาการ
       ไขหวัดใหญ ขณะเสด็จไปประทับพักผอนพระวรกายทีสิงคโปร เมื่อ 13 มิถุนายน
                                                      ่
       พ.ศ. 2463 เวลา 13 นาฬิกา 50 นาที หลังออกจากเสด็จจากกรุงสยามเมื่อ 4
       มิถุนายน พ.ศ. 2463 ตอมาไดเชิญพระศพกลับกรุงสยามดวยรถไฟขบวนพิเศษ




                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




           - พระเจาพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรก
       ฤทธิ์ (พระบิดาแหงกฎหมายไทย) สิ้นพระชนม
       ดวยโรควัณโรคที่พระวักกะ ที่กรุงปารีส ประเทศ
       ฝรั่งเศส เมื่อ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463
       หลังทรงพระประชวร ทรงระบุวามีพระอาการ
       ปวดพระเศียรขั้นคิดอะไรไมออก มาตั้งแตตนป
       พ.ศ. 2453 ไดจัดการถวายพระเพลิงพระศพที่
       กรุงปารีสแลวเชิญพระอัฐิกลับกรุงสยามในเวลา
       ตอมา
                                                                          กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
                                                          http://ac.assumption.ac.th/admnews/detailpic/p04.jpg



                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


       พ.ศ. 2464
         - ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา ฉบับแรก บังคับใช 25 พฤศจิกายน พ.ศ.
       2464
         - กําหนดคํานําหนานาม เด็ก เปนเด็กชาย เด็กหญิง
         - รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงสุไหงโกลก เมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2464 โดย
       ใหกรมรถไฟหลวงเปนผูรับผิดชอบเนื่องจากสถานีสุไหงโกลกอยูในเขตแดนสยาม
       (หางจากหลักเขตกรุงสยามริมฝงแมน้ําโก-ลกประมาณ 1300 เมตร) แลวใหแบง
       รายไดและคาใชจายกับกรมรถไฟสหรัฐมลายู ครึ่งหนึ่งตามขอกําหนดในสนธิสัญญา
         - รถไฟหลวงสายเหนือ เปดเดินไดถึงเชียงใหม เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2464 (นับ
       อยางใหมตอง พ.ศ. 2465)




                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


       พ.ศ. 2464
         - เริ่มเดินรถไฟดวนสายใต (สมัยนี้เรียกวารถดวนพิเศษระหวางประเทศ) ทุกวัน
       จันทร ตั้งแต 2 มกราคม พ.ศ. 2464 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2465)
         - โปรดฯ ใหจอมพลสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ กรม
       พระยาภาณุพันธุวงศวรเดช และ กรมพระนครสวรรควรพินิจ เสด็จประกอบพิธีเริ่ม
       การกอสรางทางรถไฟ สายตะวันออก ที่สถานีแปดริ้วใหม (กม. 61) เมื่อ 5 มกราคม
       พ.ศ. 2464 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2465)
         - สภากาชาดไทยสมัครเขาเปนสมาชิกสันนิบาตสภากาชาด




                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



       พ.ศ. 2465
           - ตราขอบังคับลักษณะการปกครองหัวเมืองชั่วคราว ซึ่งมีผลทําใหยุบกระทรวงนครบาล
       เขากับกระทรวงมหาดไทย แลวแปรสภาพกระทรวงนครบาลเปน มณฑลกรุงเทพ (หรือ
       กรุงเทพมหานคร) ซึ่งประกอบดวย พระนคร ธนบุรี นนทบุรี สมุทรสาคร พระประแดง
       และ สมุทรปราการ
           - สถาปนากรมตํารวจเมื่อ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2465
           - เปดสถานเสาวภา หลังจากที่ไดพระราชทานนาม
       ใหมแทนชื่อเดิมวา "ปาสตุรสภา"
           - เริ่มเดินรถดวนเชียงใหม (สมัยนั้นเรียกวารถดวน
       สายเหนือ) เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 สัปดาหละ
       สองครั้งเพราะคนนิยมมาก เพราะใชเวลาเพียง 25
       ชั่วโมง 30 นาทีก็ถึงเชียงใหมแทนที่จะเปน 3 วัน                     http://phakhai.ayutthaya.police.go.th/wp-
                                                                           content/uploads/2009/09/กรมตํารวจ.gif
       เหมือนแตกอน
                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



          - เริ่มนํารถนอนมาใชกับขบวนรถดวนสายใต เมื่อ 1 พฤษภาคม 2465
       ตั้งกองโฮเต็ลและรถเสบียงเพื่อคุมคุณภาพการบริการอาหารและโรงแรมทีพักในกรม
                                                                        ่
       รถไฟ
          - เริ่มสรางสะพานพระรามหก เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2465 โดยบริษัทไดเดย
       จากฝรั่งเศสเปนผูรับเหมา
          - งบประมาณขาดดุลมากตองกูเงิน 2 ลานปอนด ดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป จาก
       อังกฤษ
          - ตรา พระราชบัญญัติวาดวยสมุด เอกสารและหนังสือพิมพ พุทธศักราช 2465
       เมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2465




                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


       - เกิดการกอความไมสงบทีมณฑลปตตานี
                                 ่
    เมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2465 เนื่องดวย
    ปญหาการเก็บเงินคาศึกษาพลีเพื่อสราง
    โรงเรียนประชาบาลและซื้อตําราเรียนและ
    อุปกรณการศึกษา คนละ 1 บาทตอป
    นอกเหนือจากรัชชูปการ ที่เก็บคนละ 6
    บาทตอป ทําใหเกิดการลุกฮือขึ้น ทาง
    ราชการตองนํากองทหารรักษาวังจาก
    นครศรีธรรมราช มาแกไขสถานการณ จึง
    ผานพนไปได ภายหลังจึงกําหนดให เงินคา   http://oas.psu.ac.th/pn_archive/images/stories/pnHistory/pnhistory_pic029.jpg



    ศึกษาพลีในมณฑลปตตานี ตองนําไปใช
    สงเสริมโรงเรียนสอนศาสนาดวย เรื่องการ
    กําเริบจึงสงบลงเมื่อตนป พ.ศ. 2466

                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


         พ.ศ. 2566
           - ใหกรมหลวงกําแพงเพชรอัครโยธินและพระชายาเสด็จไปวางหีบพระฤกษสราง
         สะพานพระราม 6 เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2466
           - ออกพระราชกฤษฏีกา เวนคืนที่ทําทางรถไฟจากโคราชไปขอนแกน เมื่อ 20
         พฤษภาคม พ.ศ. 2466
           - เปดสายการบิน นครราชสีมา - รอยเอ็ด - อุดรธานี - หนองคาย
         แกไขสนธิสัญญาใหมกับญี่ปุนสําเร็จเปนประเทศที่ 2




                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


           - มีพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สําหรับมณฑล
         ปตตานี เมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 ใจความดังนี้
               1. ระเบียบหรือวิธีปฏิบัติอยางใดเปนทางใหพลเมืองรูสึกหรือเห็นไปวาเปนการ
         เบียดเบียนกดขี่ศาสนาอิสลามตองยกเลิกหรือแกไขเสียทันที การใดจะจัดขึ้นใหมก็
         อยาใหขัดกับลัทธินิยมของอิสลามหรือยิ่งทําใหเห็นเปนการอุดหนุนศาสดามูฮัมหมัด
         ไดยิ่งดี
               2. การกะเกณฑอยางใดๆ ก็ดี การเก็บภาษีอากรหรือพลีอยางใดๆ ก็ดี เมื่อ
         พิจารณาโดยสวนรวมเทียบกัน ตองอยาใหยิ่งกวาพลเมืองในแวนแควนของประเทศ
         ราชของอังกฤษ ซึ่งอยูใกลเคียงติดตอกันนั้นตองเกณฑตองเสียอยูเปนธรรมดา เมื่อ
         พิจารณาเทียบกันแตเฉพาะอยางตองอยาใหยิ่งหยอนกวากันจนถึงเปนเหตุเสียหายใน
         การปกครองได



                                                         พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


               3. การกดขี่บีบคั้นแตเจาพนักงานของรัฐบาลเนื่องแตการใชอํานาจในทางที่ผิดไม
         เปนธรรมก็ดี เนื่องแตการหมิ่นลูดูแคลนพลเมืองชาติแขกโดยฐานที่เปนคนตางชาติก็
         ดี เนื่องแตการหนวงเหนี่ยวชักชาในกิจการตามหนาที่เปนเหตุใหราษฎรเสียความ
         สะดวกในทางหาเลี้ยงชีพก็ดี พึงตองแกไขระมัดระวังมิใหมีขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแลวตองให
         ผูทําผิดตองรับผลตามความผิดโดยยุติธรรม ไมใชสักแตวาจัดการกลบเกลื่อนใหเงียบ
         ไปเสียเพื่อจะไวหนาสงวนศักดิ์ของขาราชการ
               4. กิจการใดทั้งหมดอันเจาพนักงานจะตองบังคับแกราษฎร ตองระวังอยาให
         ราษฎรตองขัดของเสียเวลาเสียการในทางหาเลี้ยงชีพของเขาเกินสมควร แมจะเปน
         การจําเปนโดยระเบียบการก็ดี เจาหนาที่พึงสอดสองแกไขอยูเสมอเทาที่สุดจะทําได




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




              5. ขาราชการที่จะแตงตั้งออกไปประจําตําแหนงในมณฑลปตตานี พึงเลือกเฟน
          แตคนที่มีนิสัยซื่อสัตย สุจริตสงบเสงี่ยมเยือกเย็น ไมใชสักแตวาสงไปบรรจุใหเต็ม
          ตําแหนงหรือสงไปเปนการลงโทษเพราะเลว เมื่อจะสงไปตองสั่งสอนชี้แจงใหรู
          ลักษณะทางการอันพึงประพฤติระมัดระวังโดยหลักที่ไดกลาวในขอ 1 ขอ 3 และขอ
          4 ขางบนนั้นแลว ผูใหญในทองที่พึงสอดสองฝกฝนอบรมกันตอๆ ไปในคุณธรรม
          เหลานั้นเนืองๆ ไมใชแตคอยใหพลาดพลั้งลงไปกอนแลวจึงวากลาวลงโทษ
              6. เจากระทรวงทั้งหลายจะจัดการวางระเบียบการอยางใดขึ้นใหม หรือบังคับการ
          อยางใดในมณฑลปตตานี อันจะเปนทางพากพานถึงสุขทุกขราษฎรก็ควรพิจารณา
          เหตุผลแกไขหรือยับยั้ง ถาไมเห็นดวยวามีมูลขัดของก็ควรหารือกับกระทรวง
          มหาดไทย แมยังไมตกลงกันไดระหวางกระทรวง ก็พึงนําความขึ้นกราบบังคมทูล
          ทราบฝาละอองธุลีพระบาทขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย


                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




         - พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติ
      วงศ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สิ้นพระชนม ที่
      ตําหนัก ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร เมื่อวันที่ 19
      พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ดวยอาการไข
         - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาเทวัญอุ
      ไทยวงศ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ เสนาบดี
      กระทรวงตางประเทศ สิ้นพระชนม ณ วังเทวเวศม
      เมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466 ดวยอาการพระยอด
      ขึ้นเปนฝฝกบัว ซึ่งแพทยหลวงไดผาตัดเอาพระยอด
      และ พระบุพโพออก แต อาการ ไมคลาย เนื่องดวย               http://www.bloggang.com/data/all4u/picture/1

      พระโรคเบาหวานที่ ทรงประชวรมานานป                          167066193.jpg




                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



          - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย ผู
      บัญชาการโรงเรียนเพาะชาง (ปจจุบันคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต
      เพาะชาง วัดเลียบ) และเปนผูชํานาญการในการทรงฮารพ (พิณฝรั่ง) คนแรกในกรุง
      สยาม เสด็จทิวงคต ณ วังเพ็ชรบูรณ (ปจจุบันคือเซ็นทรัลเวิลด) ดวยพระโรควักกะพิการ
      และ โรคพระหทัยลมเหลว เมื่อ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ เนื่องจากพระองคโปรดการ
      ละคอนทําใหตองซอมละคอนในวังจนดึกดื่น บรรทมนอยเพราะตองตื่นไปทรงงานที่
      โรงเรียนเพาะชางโดยไมลาพักผอน
          - ตั้งสถานีอนามัย ซึ่งสมัยนั้นเรียก โอสถสภา แลวตอมาเรียกวา สุขศาลา โดยไดรับ
      การรับรองจากพระราชบัญญัติการแพทย พุทธศักราช 2466 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน
      พ.ศ. 2466
          - ตราพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 ลงวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2466
      เริ่มใหบริการโฮเตลรถไฟหัวหิน (ปจจุบันคือโรงแรมโซฟเทลหัวหิน) อยางเปนทางการ
      เมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2466

                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


    พ.ศ. 2467
       - เสด็จเยือนสหรัฐมลายูและสิงคโปรโดยทางรถไฟ
    พรอมดวยเจาจอมสุวัทนา (ตอมาคือพระนางเจาสุวัทนา
    พระวรราชเทวี)
         - สงคณะทูตพิเศษนําโดยพระยากัลยาณไมตรีไปเจรจา
    แกไขสนธิสัญญากับนานาชาติ
    - ตรากฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันติวงศ พ.ศ. 2467                             http://www.bloggang.com/data/merc

       - เกิดอุบัติเหตุขณะกอสรางสะพานพระราม 6 ถังเคซองทําฐานราก
                                                                                     hantdream/picture/1216799186.jpg




    ลอยออกมานอกเปาหมาย ทําใหตองกูถังเคซองที่จมผิดที่กอนจะลงถังเคซองที่ใชทํา
    ฐานรากสะพานใหม
       - พระราชทานอภัยโทษใหปลอยนักโทษคดีกบฏ ร.ศ. 130 ที่ตองคําพิพากษา
    จําคุกตลอดชีวิต เมื่อ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 แตกวาจะพนมลทินก็หลัง
    เปลี่ยนแปลงการปกครอง

                                                    พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



             - โปรดฯ ใหจอมพลสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ
         กรมพระยาภาณุพันธุวงศวรเดช เสด็จเปดทางรถไฟจาก ฉะเชิงเทรา (สถานีแปด
         ริ้วใหม - กม. ๖๑) ถึงสถานีกบินทรบุรี (เมืองระหวางทางจากโคราชไปจันทรบุร)ี
         ระยะทาง ๑๐๐ กิโลเมตร เมื่อ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ (นับอยางใหม พ.ศ.
         ๒๔๖๘)
             - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาอัษฎางคเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
         พระองคผูทรงเปนเจาของวังสวนกุหลาบเสด็จทิวงคตดวยอาการปปผาสะบวม เมื่อ
         9 กุมภาพันธ พ.ศ. 2467 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2468) —
             - ปญหางบประมาณขาดดุลยังไมบรรเทา จําเปนตองกูเงินเพิ่มอีก 3 ลานปอนด
         ดอกเบี้ยรอยละ 6 ตอป ทําใหตองเริ่มกระบวนการตัดทอนงบประมาณ และลด
         จํานวนขาราชการออกไป อยางนอยรอยละ 10
             - เสด็จพระราชดําเนินเปดตึกโรงเรียนมนุษยนาควิทยาทาน ในโรงเรียนวัดบวร
         นิเวศ เมื่อ 2 สิงหาคม 2467
                                                       พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




          พ.ศ. 2468
            - แกไขสัญญากับประเทศในภาคพื้นยุโรป โดยเฉพาะฝรั่งเศสสําเร็จแมจะมี
          อุปสรรคคือ มีการฆาตกรรมภรรยาทานทูตฝรั่งเศสประจํากรุงสยามขณะดําเนินการ
          เจรจา
            - ยุบกองทหารรักษาวัง ที่ นครศรีธรรมราช เพราะเศรษฐกิจตกต่ํามาก
            - ยุบมณฑลเพชรบูรณ เพราะเศรษฐกิจตกต่ํามาก
            - เสด็จ พระราชนิเวศนมฤคทายวัน ที่ หวยทรายเหนือ อําเภอชะอํา จังหวัด
          เพชรบุรี เปนครั้งสุดทาย ระหวางเดือนเมษายน ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2464




                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


            - มีพระราชพินัยกรรม เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2464 โดยมีรายละเอียดโดยสรุป
          ไดดังนี้
              พระราชโอรสในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย
          ถูกตัดออกจากสายการสืบราชสันตติวงศดวยมีพระบรมราชวินิจฉัยวา พระวรวงศเธอ พระองคเจาว
          รานนทธวัช มีพระมารดาผูไมเปนที่พึงเคารพเพราะเปนสามัญชน
              หากพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ซึ่งทรงพระครรภอยู ประสูติพระราชโอรส ก็ใหพระราช
          โอรสไดสืบราชสมบัติตอไป แตถาไมมีพระราชโอรสก็มีพระราชประสงคใหสมเด็จพระเจานองยาเธอ
          เจาฟาประชาธิปกศักดิเดชน กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ทรงรับเปนรัชทายาทสืบราชสันตติวงศ
          ตามกฎมณเฑียรบาล
              ถาพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี สิ้นพระชนมเมื่อไร ให พระมหากษัตริยผูครองราชสมบัติ
          เชิญพระโกศบรรจุพระอัฐิในพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ประดิษฐานคูพระโกศพระบรมอัฐิ
          ของพระองค เหตุผลหนึ่งที่ทรงพระมหากรุณายิ่ง ก็เนื่องจากพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ได
          ทรงพระอุตสาหะขึ้นเฝาถวายงานขณะที่พระองคขณะทรงพระประชวรโดยไมเห็นแกความเหนื่อย
          ยาก ทั้งๆ ที่ยังทรงพระครรภอยู


                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


        ไมโปรดใหเชิญพระโกศบรรจุพระอัฐิในสมเด็จพระนางเจา
    อินทรศักดิศจี พระวรชายา ประดิษฐานคูพระโกศพระบรมอัฐิของ
    พระองค เนื่องจากสมเด็จพระนางเจาอินทรศักดิศจีไมสามารถให
    กําเนิดโอรสธิดาได มีเหตุทําใหทรงแทงอยูเนืองๆ
        นอกเหนือจากความรําคาญอื่นๆ ที่ระคายเคืองเบื้องพระยุคล
    บาท แลวไมโปรดให สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
    ทรงดํารงตําแหนงในคณะผูสําเร็จราชการ ในกรณีที่ตองมีผูสําเร็จ
    ราชการแทนพระมหากษัตริยผูยังทรงพระเยาว เนื่องจากพระองค
    ไมพอพระทัยที่กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ปลอยใหนายเวสเตน
    การต ที่ปรึกษาราชการแผนดิน ยก 4 รัฐมลายูใหอังกฤษ แลกกับ
    เงินกูสรางทางรถไฟสายใต และความบาดหมางอื่นๆ ที่ทําให
    พระองคตองใชพระราชอํานาจบังคับใหกรมพระดํารงราชานุภาพ                      http://www.thaigoodview.com/files/u7358/
                                                                                 Lmt01.jpg


    ลาออกจากการเปนเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เมื่อ พ.ศ. 2458

                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6


            - พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจากฤดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (ตน
         ราชสกุลกฤดากร) ที่ปรึกษาราชการแผนดิน สิ้นพระชนมทวังมะลิวัลย เมื่อวันที่ 20
                                                                  ี่
         สิงหาคม พ.ศ. 2468
            - ขยายเสนทางรถรางจากยศเส ผานถนนพระราม 1 ไป ประตูน้ํา จากแยกบางรัก
         ไป ประตูน้ํา โดยผานถนนสีลมและถนนราชดําริ เพื่อรองรับงานสยามรัฐพิพิธภัณฑที่
         จะจัดขึ้นที่ทุงศาลาแดง (สวนลุมพิน) ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2468
                                             ี
            - ประกาศใชประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ครั้งแรก ตาม พระราช
         กฤษฎีกาใหใชบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 และ 2 ที่
         ไดตรวจชําระใหม เมื่อ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468
            - เกิดพายุหมุน ทําลายสิ่งกอสรางในทุงศาลาแดงที่จะเปนอาคารประกอบงาน
         สยามรัฐพิพิธภัณฑ
            - วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี
         ประสูติ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราช
         ธิดาพระองคเดียวในรัชกาลที่ 6
                                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6




         - เสด็จสวรรคต เมื่อเวลา 7 ทุม 45 นาที (1 นาฬิกา 45 นาที) ของวันที่ 26
       พฤศจิกายน ปฉลู พ.ศ. 2468 หลังจากที่ทรงพระประชวรดวยอาการพระอันตะ
       (ลําไส) ทะลุ จากแผลผาตัดพระนาภีที่เกิดอาการอักเสบขั้นทะลุบริเวณพระนาภี
       (ผิวหนังหนาทอง)
         - พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกําหนดวันที่
       ๒๕ พฤศจิกายน เปนวันคลายวันสวรรคตในรัชกาลที่ ๖ และทรงกําหนดใหวันที่ 26
       พฤศจิกายน เปนวันคลายวันเถลิงราชยของพระองค
         - พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงบรรจุพระบรมราชสรีรางคาร
       พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไวใตฐานพุทธบัลลังก พระพุทธชินสีห
       พระประธานในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร และใตฐาน พระรวงโรจนฤทธิ์ ณ
       พระวิหารดานทิศเหนือ พระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม เมื่อ 30 กรกฎาคม พ.ศ.
       2469

                                                   พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6



                 แหลงที่มาของขอมูล
                 http://1.bp.blogspot.com/
                 http://ac.assumption.ac.th/
                 http://gotoknow.org/
                 http://i284.photobucket.com/
                 http://oas.psu.ac.th/
                 http://phakhai.ayutthaya.police.go.th/
                 http://th.wikipedia.org/
                 http://www.bangkokflying.com/
                 http://www.bloggang.com/
                 http://www.chaoprayanews.com/
                 http://www.culture.go.th/
                 http://www.kwc.ac.th/
                 http://www.snr.ac.th/
                 http://www.su-usedbook.com/
                 http://www.thaigoodview.com/




                                                          พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

More Related Content

Similar to 11กรุงรัตนโกสินทร์ร6

10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 

Similar to 11กรุงรัตนโกสินทร์ร6 (20)

10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 

More from JulPcc CR

11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 

More from JulPcc CR (9)

11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 

11กรุงรัตนโกสินทร์ร6

  • 1. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 เหตุการณสําคัญในรัชกาลที่ 6 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Monument_of_Rama_VI_at_Lumphini_Park_(1).jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต บรรดาเชื้อพระวงศและขาราชการชั้นสูงพรอมใจกันอัญเชิญ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ขึ้นครองราชยเปนรัชกาลที่ 6 แหงราชวงศจักรี พระนามวา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว - ปรับปรุงระเบียบการปองกันพระราชอาณาจักร เมื่อ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2453 กลาวคือ - ยุบเลิกกรมยุทธนาธิการ ใหไปรวมกับกระทรวงกลาโหม - ยกกรมทหารเรือเปนกระทรวงทหารเรือ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - ตั้งยศจอมพล โดยพระราชทานให สมเด็จพระ ราชปตุลาบรมพงศาภิมุข เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ กรมพระยาภาณุพันธุวงศวรเดช (สมเด็จวังบูรพา) เปนองคปฐม ใหใชคําวา จอมทัพ แทนคําวา จอม พล ซึ่งไดใชแทนยศที่เหนือกวาพลเอก ตั้งสภาปองกันพระราชอาณาจักร (ตนรากแหง สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ) http://1.bp.blogspot.com/_FjMzSorZY2Y/Sdh6ZNze7jI/AAAAAAAAAHM/ PCG4sT_LlVI/s400/10%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B 8%B2%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8 %B2%E0%B8%93%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8 %87%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B9 %88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8% A8%E0%B9%8C.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - ตั้งโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย) เมื่อ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453 ยกฐานะโรงเรียนมหาดเล็ก เปนโรงเรียนขาราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งตอมาคือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453 http://www.chaoprayanews.com /wp- content/uploads/2009/03/e0b98 2e0b8a3e0b887e0b980e0b8a3 e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a7e 0_002.jpg - เกิดภาวะวิกฤติทางการเงินทีธนาคารสยามกัมมาจลทุนจํากัด จนตองปลด ่ ผูจัดการธนาคารสยามกัลมาจล ที่เปนคนไทยออกไป ฐานกอความวุนวายทางการเงิน ของธนาคารโดยการปลอยกูไมรูประมาณ แลวยึดสวนสาธารณะซึ่งเปนที่ของ ผูจัดการ ธนาคารสยามกัลมาจลเพื่อชําระหนี้ กอนให นาย ป. ชวาซ ผูจัดการแผนกตางประเทศ ซึ่งเปนปรัสเซีย เขาทําหนาที่แทนโดยนํากําไรจากแผนกตางประเทศ มาแซมทุนพอ แกไขภาวะวิกฤตทางการเงินไปได พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2454 - 1 พฤษภาคม โปรดเกลาฯ ใหตั้งกองเสือปา ซึ่งเปนรากฐานของกรมการรักษา ดินแดน หรือ หนวยบัญชาการกําลังสํารองในปจจุบัน - 1 กรกฎาคม โปรดเกลาฯ ใหตั้งกองลูกเสือ - 11 พฤศจิกายน จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีการเชิญราชวงศจากยุโรป และญี่ปุนใหเสด็จมาทรงรวมการพระราชพิธีในกรุงสยาม นับเปนการรับพระราช อาคันตุกะจํานวนมาก เปนครั้งยิ่งใหญครั้งแรกของประเทศ http://www.chaoprayanews.com/wp-content/uploads/2009/03/19lp8.jpg http://gotoknow.org/file/airscout/image0.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2454 - 29 ธันวาคม ชาวตะวันตกนําเครื่องบิน (สมัยนั้นเรียกเครื่องเหาะ) มาบินครั้ง แรกที่สนามมาสระปทุม (สนามมาราชกรีฑาสโมสร หรือ สนามฝรั่ง) - เกิด ร.ศ. 130 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง และหากไมสามารถดําเนินการ ไดสําเร็จก็ตองการลอบปลงพระชนม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ พ.ศ. 2454 (นับ อยางใหม ป พ.ศ. 2455) แตสามารถจับกุมควบคุมสถานการณได ทรงริเริ่มการศึกษาพระปริยัติธรรมใหมขึ้นอีกหลักสูตรหนึ่ง เรียกวา "นักธรรม" โดยมีการสอบครั้งแรกเมื่อ เดือนตุลาคม 2454 ตอนแรกเรียกวา "องคของสามเณรรูธรรม" - สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ทรงเปลี่ยนวิธีการสอบ บาลีสนามหลวงจากปากเปลามาเปน ขอเขียน เปนครั้งแรก http://www.kwc.ac.th/1Part%20K6.files/image058.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2455 - โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนมาใชพุทธศักราช (พ.ศ.) ในราชการแทนรัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) มีผลบังคับใชเมื่อ 1 เมษายน พ.ศ. 2456 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2456 - จัดตั้งคลังออมสิน เมื่อ 1 เมษายน 2456 ตนรากแหงธนาคารออมสิน - ตราพระราชบัญญัตินามสกุล แตกวาจะบังคับใชไดโดยสมบูรณกับราษฎรทุกคนก็ เมื่อสิ้นสงครามโลกครั้งที่ 2 ไปแลว ในรัชกาลที่ 6 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามสกุลแกผูขอพระราชทานกวา 6,000 นามสกุล http://gotoknow.org/file/ha_deaw/preview/3.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2456 - เกิดภาวะวิกฤตทางการเงิน ป พ.ศ. 2456 เนื่องจากแบงคจีนสยามทุนลมละลาย ทําใหฐานะทางการเงินของธนาคารสยามกัมมาจลและ บรรดาโรงสีขาวตกอยูในภาวะคับ ขัน ดวยเนื่องจาก 1) เจาหนาที่ของแบงคจีนสยามทุนไดยักยายเอาหนี้ไปใสในบัญชีของธนาคาร สยามกัมมาจล และฉอโกงเอาทุนและกําไรของธนาคารธนาคารสยามกัมมาจลมาใส แบงคจีนสยามทุนโดยเลี่ยงภาษีดวย 2) แบงคจีนสยามทุนจํากัด ไดปลอยกูใหโรงสีขาวเปนจํานวนมาก ถาฝนแลง ขาวขาดแคลน โรงสีก็เสี่ยงกับธุรกิจตกต่ํา เมื่อแบงคจีนสยามทุน ตกอยูในภาวะ ลมละลาย เจาของโรงสีพากันขาดแหงเงินกูเพื่อดําเนินหรือฟนฟูกิจการตอไปได พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2457 - ตั้งกองบินขึ้นในกองทัพบก - เริ่มสรางสนามบินดอนเมือง และเปดใชงานในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2457 - เปดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ - ตั้ง วชิรพยาบาล - เริ่มใหบริการน้ําประปา เมื่อ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 - ตั้งโรงเรียนพยาบาลของสภากาชาดไทย - ตั้งเนติบัณฑิตยสภา http://www.bangkokflying.com/imagesupload/imgarticle/display/P00008.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2457 - มีพระบรมราชานุมัติใหกูยืมเงินเพื่อสรางทางรถไฟสายใต จากรัฐบาลสหรัฐมลายู เพิ่มอีก 750,000 ปอนด ตามคํากราบบังคมทูลของพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ นเรศวรวรฤทธิ์ เนื่องจากเงินกู 4 ลานปอนดเพียงพอสําหรับทางรถไฟสายใตที่เชื่อม ฝงตะวันตก ตามความตองการของพอคาจีน พอคาแขกเมืองปนังเทานั้น แตไมพอ สําหรับทางรถไฟผานมณฑลปตตานีไปเชื่อมทางรถไฟที่ฝงกลันตัน - เดือนสิงหาคม เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2458 - เสด็จฯ เยือนหัวเมืองปกษใต ครั้งแรกหลังจากเสวยราชย แมทางรถไฟสายใต ยังไมเชื่อมตอกันสมบูรณ - เริ่มการสรางสะพาน 5 หอ (สะพานปางหละ) หลังจากไดรับสะพานหอสูงซึ่ง เปนเครื่องเหล็กจากปรัสเซีย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 13. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2459 - 1 เมษายน เลิกหวย ก.ข. - 1 เมษายน เปดการเดินรถถึงลําปาง - 26 กุมภาพันธ ทดลองจัดตั้งสหกรณเปนแหงแรก ที่ วัดจันทร จังหวัดพิษณุโลก - 17 กันยายน ทางรถไฟสายใตเชื่อมกันตลอด ทีชุมพร ่ - 25 มิถุนายน เปด สถานีรถไฟหลวงกรุงเทพ (สถานีรถไฟกรุงเทพ) ทีหัวลําโพง ่ หลังจากที่ดําเนินการขยายสถานีรถไฟกรุงเทพ ตั้งแตเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2453 1 มกราคม พ.ศ. 2459 (นับอยางใหมตอง เขาป พ.ศ. 2460) เปดการเดินรถโดยไมตอง เปลี่ยนรถจากบางกอกนอยไปอูตะเภา ใชเวลา เดินรถ 3 วันเพราะ ตองคางคืนที่ บานพักรถไฟ ที่ สถานีชุมพร และ สถานีชุมทางทุงสง http://i284.photobucket.com/albums/ll8/Mongwin/souvenir1917/019tn.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 14. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2459 - สถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 (นับอยางใหม ตองเขาป พ.ศ. 2460) - ตั้งกรมทหารรักษาวังที่นครศรีธรรมราชซึ่งถือวาเปนการตั้งกองทหาร ในเขต ภาคใตซึ่งเปนเขตอิทธิพลของอังกฤษ ที่หามตั้งหนวยทหาร แตใหตั้งกองตํารวจ ที่ใช พลเมืองทองถิ่นทําหนาที่รักษาความสงบ โดยอางวาเปนการตั้งกองทหารรักษาที่ ประทับ อันเปนกุศโลบายในการรักษาความมั่นคงในเวลาที่สยามยังไมพรอมที่จะ ปองกันพระราชอาณาจักร พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 15. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - แตงตั้งกรมหลวงกําแพงเพชรอัครโยธินขึ้นเปนเจากรมรถไฟหลวง เมื่อ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2460 แทนเจากรม หลุยส ไวเลอร ชาวปรัสเซีย เพื่อจัดการรวมกรม รถไฟหลวงสายเหนือ และ กรมรถไฟหลวงสายใตเขาดวยกัน และ เพื่อกําจัดอิทธิพล เยอรมันออกไปดวย - 22 กรกฎาคม ทรงประกาศเขารวมสงครามโลกครั้งที่ 1 กับฝายสัมพันธมิตรทํา สงครามกับฝายมหาอํานาจกลาง คือ เยอรมัน ออสเตรีย ฮังการี มีการ ปลด เจาหนาที่ชาวปรัสเซียและออสเตรียออกจากตําแหนง ทั้งในกรมรถไฟและในธนาคาร สยามกัมมาจล พรอมสั่งพิทักษทรัพยชนชาติศัตรู ซึ่งกวาจะถอนออกไดก็ป พ.ศ. 2471 - เกิดเหตุน้ําทวมปมะเส็ง ทางรถไฟขาดหลายชวง ตองหยุดการเดินรถ 4-57 วัน เสด็จฯ เยือนหัวเมืองปกษใต ครั้งที่ 2 คราวนี้เสด็จมณฑลภูเก็ต และ เปนครั้งแรกที่ ใชรถพระที่นั่งโบกี้ ที่สั่งเขามาใหมจากอังกฤษ ที่มาแทนรถพระที่นั่ง 4 ลอ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 16. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2460 - เปลี่ยนธงชาติ จากธงชางเผือกมาเปนธงไตรรงค - ตั้งกรมมหาวิทยาลัย - เลิกการพนันบอนเบี้ย - เปลี่ยนแปลงการนับเวลาใหสอดคลองกับสากล คือใชคําวา กอนเที่ยง (ก.ท. - AM) และหลังเที่ยง (ล.ท. - PM) - แกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติการเกณฑทหาร - กําหนดคํานําหนานามสตรี จากอําแดงเปนนางและ นางสาวตามธรรมเนียมสากล ออกพระราชบัญญัติหามสงเงินแทงและเหรียญบาทออกนอกประเทศ เนื่องจากเนื้อเงิน แพงกวาหนาเหรียญทําใหมีคนหากําไรโดยการลักลอบหลอมเหรียญบาทเปนเงินแทง สงไปขายเมือง จนตองลดความบริสุทธิ์เนื้อเงินจาก เงิน 90 ทองแดง 10๐ เปน เงิน 50 ทองแดง 50 แมที่สุดจะแกเปน เงิน 65 ทองแดง 35 - 1 เมษายน รถไฟหลวงไปถึงสถานีนาประดู (สถานีสําคัญระหวางจังหวัดปตตานี และยะลา) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 17. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2461 - 6 เมษายน เปลี่ยนนามพระพุทธปรางคปราสาท เปนปราสาทพระเทพบิดร ตั้งดุสิตธานี ทดลองการปกครองตนเองตามระบอบ ประชาธิปไตย พรอมออกหนังสือพิมพดุสิตสมิต และ ดุสิตสมัย - ตราธรรมนูญลักษณะการปกครองคณะนคราภิบาล - ตราพระราชบัญญัตโรงเรียนราษฎร ฉบับแรก ิ - ตั้งกรมสาธารณสุข ในกระทรวงมหาดไทย ซึ่งเปน ตนรากแหง กระทรวงสาธารณสุข - สงทหารไปรวมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 ในยุโรป เมื่อไดรับชัยชนะจึงเปนเหตุใหสยามมีอํานาจเจรจา ตอรองขอแกไขสนธิสัญญาที่ไมเปนธรรมที่ไดทําไวแต รัชกาลกอนๆ ได http://www.su-usedbook.com/shop/s/su- usedbook/img-lib/spd_2009111855524_b.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 18. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2461 - อุโมงคขุนตานทะลุถึงกันสําเร็จ - เริ่มใชธนบัตร 1 บาท ตราครุฑ แทนการใชเหรียญกษาปณเงิน 1 บาท ที่ถูก ยกเลิกไมใหใชเปนที่ชําระหนี้ไดตามกฎหมาย และใหเก็บเหรียญบาทเปนทุนสํารอง เงินตราซึ่งตอมาในป พ.ศ. 2482 ไดขายเหรียญบาทเงินใหรัฐบาลสหรัฐอเมริกาแลว เอาเงินดอลลารสหรัฐ ไปซื้อทองคําแทง ในราคา 35 ดอลลาร ตอทองคําแทง 1 ออนซ เพื่อเปนทุนสํารองธนบัตรสยาม - 1 กรกฎาคม รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงปาดังเบซาร โดยใหกรมรถไฟ สหพันธรัฐมลายูเปนผูรับผิดชอบเนื่องจากสถานีปาดังเบซารอยูในเขตแดนมลายู (หางจากหลักเขตกรุงสยามไปทางใตประมาณ 300 เมตร) แลวใหแบงรายไดและ คาใชจายกับกรมรถไฟหลวง ครึ่งหนึ่ง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 19. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 2462 - ประกาศให วันที่ 6 เมษายนเปนวันจักรี และ ใหถือวาเปนวันชาติในยุคสม บูรณาญาสิทธิราช - วางระเบียบการเรียกเก็บเงินรัชชูปการ ซึ่งเปนการเสียเงินปละ 6 บาท ในยุคที่ ขาวสารถังละ 50 สตางค ซึ่งถาเสียรัชชูปการแลวก็จะมีการออกตั๋วสีเหลืองขนาดเทาตั๋ว จํานํา พิมพคําวา 6 บาท ตัวโตๆ ถาไมเสียรัชชูปการ (หรือเสียคาตั๋วสวย) ก็โดนสงไป ทํางานโยธา พวกที่ตองยกเวนไมตองเสียรัชชูปการคือ พวกเจานายตั้งแตระดับพระองค เจาขึ้นไป ทหารตํารวจ และประชาชนที่ผานการเกณฑทหารแลว - เริ่มการใชเวลามาตรฐาน (+7 ชั่วโมงเมื่อที่ยบกับเวลามาตรฐานกรีนิช) - เกิดภาวะฝนแลง ทําใหขาวตายเปนจํานวนมาก ถึงขั้นตองขุดหัวมัน หัวเผือก หัว กลอยและ เก็บขุยไผ (เมล็ดตนไผที่รวงมาเมื่อไผออกดอกกอนจะแหงตาย) กินประทัง ชีวิต จนรัฐบาลตองประกาศ พระราชกําหนดหามการสงออกขาวไปตางประเทศ ซึ่งจะ ยกเวนเฉพาะขาวที่ไดมีการทําสัญญาการซื้อขายไวกอนหนาการประกาศพระราชกําหนด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 20. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - ทหารไทยไดรับชัยชนะกลับจากงานพระราชสงครามในทวีปยุโรป - 20 ตุลาคมสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปหลวง เสด็จสวรรคต ณ วังพญาไท - โปรดเกลาฯใหพิมพคัมภีรอรรถกถาแหงพระไตรปฎกและอรรถกถาชาดก และ คัมภีรอื่น ๆ เชน วิสุทธิมรรค มิลินทปญหา เปนตน - ทรงนิพนธหนังสือแสดงหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา หลายเรื่อง เชน เทศนาเสือปา พระพุทธเจาตรัสรูอะไร เปนตน ทรงอบรมสั่งสอนธรรมะแกขาราชการ และขาราชสํานักดวย พระองคเอง - เริ่มการสรางสะพานทาชมพู http://www.snr.ac.th/sakyaputto/nbuddha/ram6.gif พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 21. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - เริ่มการสรางสะพานทาชมพู http://www.culture.go.th/culturemap/pictures/map/51140-5-1.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 22. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2463 - แกไขสนธิสัญญาใหมกับสหรัฐอเมริกาสําเร็จเปนประเทศแรก - เปดการขนสงไปรษณียภัณฑทางอากาศระหวาง กรุงเทพ - นครราชสีมา - สตรีในพระราชสํานัก เริ่มนุงซิ่น ไวผมยาว - เริ่มการสรางสะพาน 2 หอ (สะพานปางยางใต) สะพาน 3 หอ (สะพานปางยาง เหนือ) หลังจากที่ลาชาเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทําใหสงเครื่องเหล็กมากรุง สยามไมได กอนหนานั้นตองสรางสะพานไมซึ่งตองจํากัดความเร็วไวที่ 5 กม/ชม. - รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงตันหยงมัส (สถานีซึ่งอยูใกล เมือง นราธิวาส เกาที่ อําเภอ ระแงะ แตมีถนนไปที่ เมืองนราธิวาสใหมที่บางนรา) - เริ่มติดตั้งรถเสบียงในขบวนรถไฟ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 23. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - ตั้งกระทรวงพาณิชยเพื่อแกไขภาวะเศรษฐกิจตกต่ําเนื่องจากฝนแลงป พ.ศ. 2462 โดยโปรดฯ ให พระเจาพี่ยาเธอ กรมหลวงจันทบุรีนฤนาถ (พระเจาบรมวงศ เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาท) เปนเสนาบดีกระทรวงพาณิชย - สมเด็จพระเจานองยาเธอผูทรงเปนพระรัชทายาท (สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจักรพงษภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ) เสด็จทิวงคตจากอาการ ไขหวัดใหญ ขณะเสด็จไปประทับพักผอนพระวรกายทีสิงคโปร เมื่อ 13 มิถุนายน ่ พ.ศ. 2463 เวลา 13 นาฬิกา 50 นาที หลังออกจากเสด็จจากกรุงสยามเมื่อ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2463 ตอมาไดเชิญพระศพกลับกรุงสยามดวยรถไฟขบวนพิเศษ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 24. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - พระเจาพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรก ฤทธิ์ (พระบิดาแหงกฎหมายไทย) สิ้นพระชนม ดวยโรควัณโรคที่พระวักกะ ที่กรุงปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส เมื่อ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463 หลังทรงพระประชวร ทรงระบุวามีพระอาการ ปวดพระเศียรขั้นคิดอะไรไมออก มาตั้งแตตนป พ.ศ. 2453 ไดจัดการถวายพระเพลิงพระศพที่ กรุงปารีสแลวเชิญพระอัฐิกลับกรุงสยามในเวลา ตอมา กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ http://ac.assumption.ac.th/admnews/detailpic/p04.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 25. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2464 - ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา ฉบับแรก บังคับใช 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464 - กําหนดคํานําหนานาม เด็ก เปนเด็กชาย เด็กหญิง - รถไฟหลวงสายใต เปดเดินไดถึงสุไหงโกลก เมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2464 โดย ใหกรมรถไฟหลวงเปนผูรับผิดชอบเนื่องจากสถานีสุไหงโกลกอยูในเขตแดนสยาม (หางจากหลักเขตกรุงสยามริมฝงแมน้ําโก-ลกประมาณ 1300 เมตร) แลวใหแบง รายไดและคาใชจายกับกรมรถไฟสหรัฐมลายู ครึ่งหนึ่งตามขอกําหนดในสนธิสัญญา - รถไฟหลวงสายเหนือ เปดเดินไดถึงเชียงใหม เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2464 (นับ อยางใหมตอง พ.ศ. 2465) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 26. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2464 - เริ่มเดินรถไฟดวนสายใต (สมัยนี้เรียกวารถดวนพิเศษระหวางประเทศ) ทุกวัน จันทร ตั้งแต 2 มกราคม พ.ศ. 2464 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2465) - โปรดฯ ใหจอมพลสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ กรม พระยาภาณุพันธุวงศวรเดช และ กรมพระนครสวรรควรพินิจ เสด็จประกอบพิธีเริ่ม การกอสรางทางรถไฟ สายตะวันออก ที่สถานีแปดริ้วใหม (กม. 61) เมื่อ 5 มกราคม พ.ศ. 2464 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2465) - สภากาชาดไทยสมัครเขาเปนสมาชิกสันนิบาตสภากาชาด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 27. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2465 - ตราขอบังคับลักษณะการปกครองหัวเมืองชั่วคราว ซึ่งมีผลทําใหยุบกระทรวงนครบาล เขากับกระทรวงมหาดไทย แลวแปรสภาพกระทรวงนครบาลเปน มณฑลกรุงเทพ (หรือ กรุงเทพมหานคร) ซึ่งประกอบดวย พระนคร ธนบุรี นนทบุรี สมุทรสาคร พระประแดง และ สมุทรปราการ - สถาปนากรมตํารวจเมื่อ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2465 - เปดสถานเสาวภา หลังจากที่ไดพระราชทานนาม ใหมแทนชื่อเดิมวา "ปาสตุรสภา" - เริ่มเดินรถดวนเชียงใหม (สมัยนั้นเรียกวารถดวน สายเหนือ) เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 สัปดาหละ สองครั้งเพราะคนนิยมมาก เพราะใชเวลาเพียง 25 ชั่วโมง 30 นาทีก็ถึงเชียงใหมแทนที่จะเปน 3 วัน http://phakhai.ayutthaya.police.go.th/wp- content/uploads/2009/09/กรมตํารวจ.gif เหมือนแตกอน พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 28. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - เริ่มนํารถนอนมาใชกับขบวนรถดวนสายใต เมื่อ 1 พฤษภาคม 2465 ตั้งกองโฮเต็ลและรถเสบียงเพื่อคุมคุณภาพการบริการอาหารและโรงแรมทีพักในกรม ่ รถไฟ - เริ่มสรางสะพานพระรามหก เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2465 โดยบริษัทไดเดย จากฝรั่งเศสเปนผูรับเหมา - งบประมาณขาดดุลมากตองกูเงิน 2 ลานปอนด ดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป จาก อังกฤษ - ตรา พระราชบัญญัติวาดวยสมุด เอกสารและหนังสือพิมพ พุทธศักราช 2465 เมื่อ 30 มกราคม พ.ศ. 2465 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 29. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - เกิดการกอความไมสงบทีมณฑลปตตานี ่ เมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2465 เนื่องดวย ปญหาการเก็บเงินคาศึกษาพลีเพื่อสราง โรงเรียนประชาบาลและซื้อตําราเรียนและ อุปกรณการศึกษา คนละ 1 บาทตอป นอกเหนือจากรัชชูปการ ที่เก็บคนละ 6 บาทตอป ทําใหเกิดการลุกฮือขึ้น ทาง ราชการตองนํากองทหารรักษาวังจาก นครศรีธรรมราช มาแกไขสถานการณ จึง ผานพนไปได ภายหลังจึงกําหนดให เงินคา http://oas.psu.ac.th/pn_archive/images/stories/pnHistory/pnhistory_pic029.jpg ศึกษาพลีในมณฑลปตตานี ตองนําไปใช สงเสริมโรงเรียนสอนศาสนาดวย เรื่องการ กําเริบจึงสงบลงเมื่อตนป พ.ศ. 2466 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 30. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2566 - ใหกรมหลวงกําแพงเพชรอัครโยธินและพระชายาเสด็จไปวางหีบพระฤกษสราง สะพานพระราม 6 เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2466 - ออกพระราชกฤษฏีกา เวนคืนที่ทําทางรถไฟจากโคราชไปขอนแกน เมื่อ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 - เปดสายการบิน นครราชสีมา - รอยเอ็ด - อุดรธานี - หนองคาย แกไขสนธิสัญญาใหมกับญี่ปุนสําเร็จเปนประเทศที่ 2 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 31. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - มีพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว สําหรับมณฑล ปตตานี เมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 ใจความดังนี้ 1. ระเบียบหรือวิธีปฏิบัติอยางใดเปนทางใหพลเมืองรูสึกหรือเห็นไปวาเปนการ เบียดเบียนกดขี่ศาสนาอิสลามตองยกเลิกหรือแกไขเสียทันที การใดจะจัดขึ้นใหมก็ อยาใหขัดกับลัทธินิยมของอิสลามหรือยิ่งทําใหเห็นเปนการอุดหนุนศาสดามูฮัมหมัด ไดยิ่งดี 2. การกะเกณฑอยางใดๆ ก็ดี การเก็บภาษีอากรหรือพลีอยางใดๆ ก็ดี เมื่อ พิจารณาโดยสวนรวมเทียบกัน ตองอยาใหยิ่งกวาพลเมืองในแวนแควนของประเทศ ราชของอังกฤษ ซึ่งอยูใกลเคียงติดตอกันนั้นตองเกณฑตองเสียอยูเปนธรรมดา เมื่อ พิจารณาเทียบกันแตเฉพาะอยางตองอยาใหยิ่งหยอนกวากันจนถึงเปนเหตุเสียหายใน การปกครองได พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 32. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 3. การกดขี่บีบคั้นแตเจาพนักงานของรัฐบาลเนื่องแตการใชอํานาจในทางที่ผิดไม เปนธรรมก็ดี เนื่องแตการหมิ่นลูดูแคลนพลเมืองชาติแขกโดยฐานที่เปนคนตางชาติก็ ดี เนื่องแตการหนวงเหนี่ยวชักชาในกิจการตามหนาที่เปนเหตุใหราษฎรเสียความ สะดวกในทางหาเลี้ยงชีพก็ดี พึงตองแกไขระมัดระวังมิใหมีขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแลวตองให ผูทําผิดตองรับผลตามความผิดโดยยุติธรรม ไมใชสักแตวาจัดการกลบเกลื่อนใหเงียบ ไปเสียเพื่อจะไวหนาสงวนศักดิ์ของขาราชการ 4. กิจการใดทั้งหมดอันเจาพนักงานจะตองบังคับแกราษฎร ตองระวังอยาให ราษฎรตองขัดของเสียเวลาเสียการในทางหาเลี้ยงชีพของเขาเกินสมควร แมจะเปน การจําเปนโดยระเบียบการก็ดี เจาหนาที่พึงสอดสองแกไขอยูเสมอเทาที่สุดจะทําได พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 33. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 5. ขาราชการที่จะแตงตั้งออกไปประจําตําแหนงในมณฑลปตตานี พึงเลือกเฟน แตคนที่มีนิสัยซื่อสัตย สุจริตสงบเสงี่ยมเยือกเย็น ไมใชสักแตวาสงไปบรรจุใหเต็ม ตําแหนงหรือสงไปเปนการลงโทษเพราะเลว เมื่อจะสงไปตองสั่งสอนชี้แจงใหรู ลักษณะทางการอันพึงประพฤติระมัดระวังโดยหลักที่ไดกลาวในขอ 1 ขอ 3 และขอ 4 ขางบนนั้นแลว ผูใหญในทองที่พึงสอดสองฝกฝนอบรมกันตอๆ ไปในคุณธรรม เหลานั้นเนืองๆ ไมใชแตคอยใหพลาดพลั้งลงไปกอนแลวจึงวากลาวลงโทษ 6. เจากระทรวงทั้งหลายจะจัดการวางระเบียบการอยางใดขึ้นใหม หรือบังคับการ อยางใดในมณฑลปตตานี อันจะเปนทางพากพานถึงสุขทุกขราษฎรก็ควรพิจารณา เหตุผลแกไขหรือยับยั้ง ถาไมเห็นดวยวามีมูลขัดของก็ควรหารือกับกระทรวง มหาดไทย แมยังไมตกลงกันไดระหวางกระทรวง ก็พึงนําความขึ้นกราบบังคมทูล ทราบฝาละอองธุลีพระบาทขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 34. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติ วงศ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ สิ้นพระชนม ที่ ตําหนัก ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ดวยอาการไข - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาเทวัญอุ ไทยวงศ กรมพระยาเทวะวงศวโรปการ เสนาบดี กระทรวงตางประเทศ สิ้นพระชนม ณ วังเทวเวศม เมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466 ดวยอาการพระยอด ขึ้นเปนฝฝกบัว ซึ่งแพทยหลวงไดผาตัดเอาพระยอด และ พระบุพโพออก แต อาการ ไมคลาย เนื่องดวย http://www.bloggang.com/data/all4u/picture/1 พระโรคเบาหวานที่ ทรงประชวรมานานป 167066193.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 35. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย ผู บัญชาการโรงเรียนเพาะชาง (ปจจุบันคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต เพาะชาง วัดเลียบ) และเปนผูชํานาญการในการทรงฮารพ (พิณฝรั่ง) คนแรกในกรุง สยาม เสด็จทิวงคต ณ วังเพ็ชรบูรณ (ปจจุบันคือเซ็นทรัลเวิลด) ดวยพระโรควักกะพิการ และ โรคพระหทัยลมเหลว เมื่อ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ เนื่องจากพระองคโปรดการ ละคอนทําใหตองซอมละคอนในวังจนดึกดื่น บรรทมนอยเพราะตองตื่นไปทรงงานที่ โรงเรียนเพาะชางโดยไมลาพักผอน - ตั้งสถานีอนามัย ซึ่งสมัยนั้นเรียก โอสถสภา แลวตอมาเรียกวา สุขศาลา โดยไดรับ การรับรองจากพระราชบัญญัติการแพทย พุทธศักราช 2466 ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 - ตราพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ. 2466 ลงวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เริ่มใหบริการโฮเตลรถไฟหัวหิน (ปจจุบันคือโรงแรมโซฟเทลหัวหิน) อยางเปนทางการ เมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2466 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 36. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2467 - เสด็จเยือนสหรัฐมลายูและสิงคโปรโดยทางรถไฟ พรอมดวยเจาจอมสุวัทนา (ตอมาคือพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี) - สงคณะทูตพิเศษนําโดยพระยากัลยาณไมตรีไปเจรจา แกไขสนธิสัญญากับนานาชาติ - ตรากฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันติวงศ พ.ศ. 2467 http://www.bloggang.com/data/merc - เกิดอุบัติเหตุขณะกอสรางสะพานพระราม 6 ถังเคซองทําฐานราก hantdream/picture/1216799186.jpg ลอยออกมานอกเปาหมาย ทําใหตองกูถังเคซองที่จมผิดที่กอนจะลงถังเคซองที่ใชทํา ฐานรากสะพานใหม - พระราชทานอภัยโทษใหปลอยนักโทษคดีกบฏ ร.ศ. 130 ที่ตองคําพิพากษา จําคุกตลอดชีวิต เมื่อ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 แตกวาจะพนมลทินก็หลัง เปลี่ยนแปลงการปกครอง พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 37. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - โปรดฯ ใหจอมพลสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ กรมพระยาภาณุพันธุวงศวรเดช เสด็จเปดทางรถไฟจาก ฉะเชิงเทรา (สถานีแปด ริ้วใหม - กม. ๖๑) ถึงสถานีกบินทรบุรี (เมืองระหวางทางจากโคราชไปจันทรบุร)ี ระยะทาง ๑๐๐ กิโลเมตร เมื่อ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ (นับอยางใหม พ.ศ. ๒๔๖๘) - สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาอัษฎางคเดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พระองคผูทรงเปนเจาของวังสวนกุหลาบเสด็จทิวงคตดวยอาการปปผาสะบวม เมื่อ 9 กุมภาพันธ พ.ศ. 2467 (นับอยางใหมตอง พ.ศ. 2468) — - ปญหางบประมาณขาดดุลยังไมบรรเทา จําเปนตองกูเงินเพิ่มอีก 3 ลานปอนด ดอกเบี้ยรอยละ 6 ตอป ทําใหตองเริ่มกระบวนการตัดทอนงบประมาณ และลด จํานวนขาราชการออกไป อยางนอยรอยละ 10 - เสด็จพระราชดําเนินเปดตึกโรงเรียนมนุษยนาควิทยาทาน ในโรงเรียนวัดบวร นิเวศ เมื่อ 2 สิงหาคม 2467 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 38. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2468 - แกไขสัญญากับประเทศในภาคพื้นยุโรป โดยเฉพาะฝรั่งเศสสําเร็จแมจะมี อุปสรรคคือ มีการฆาตกรรมภรรยาทานทูตฝรั่งเศสประจํากรุงสยามขณะดําเนินการ เจรจา - ยุบกองทหารรักษาวัง ที่ นครศรีธรรมราช เพราะเศรษฐกิจตกต่ํามาก - ยุบมณฑลเพชรบูรณ เพราะเศรษฐกิจตกต่ํามาก - เสด็จ พระราชนิเวศนมฤคทายวัน ที่ หวยทรายเหนือ อําเภอชะอํา จังหวัด เพชรบุรี เปนครั้งสุดทาย ระหวางเดือนเมษายน ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2464 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 39. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - มีพระราชพินัยกรรม เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2464 โดยมีรายละเอียดโดยสรุป ไดดังนี้ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอินทราชัย ถูกตัดออกจากสายการสืบราชสันตติวงศดวยมีพระบรมราชวินิจฉัยวา พระวรวงศเธอ พระองคเจาว รานนทธวัช มีพระมารดาผูไมเปนที่พึงเคารพเพราะเปนสามัญชน หากพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ซึ่งทรงพระครรภอยู ประสูติพระราชโอรส ก็ใหพระราช โอรสไดสืบราชสมบัติตอไป แตถาไมมีพระราชโอรสก็มีพระราชประสงคใหสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาประชาธิปกศักดิเดชน กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ทรงรับเปนรัชทายาทสืบราชสันตติวงศ ตามกฎมณเฑียรบาล ถาพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี สิ้นพระชนมเมื่อไร ให พระมหากษัตริยผูครองราชสมบัติ เชิญพระโกศบรรจุพระอัฐิในพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ประดิษฐานคูพระโกศพระบรมอัฐิ ของพระองค เหตุผลหนึ่งที่ทรงพระมหากรุณายิ่ง ก็เนื่องจากพระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ได ทรงพระอุตสาหะขึ้นเฝาถวายงานขณะที่พระองคขณะทรงพระประชวรโดยไมเห็นแกความเหนื่อย ยาก ทั้งๆ ที่ยังทรงพระครรภอยู พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 40. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 ไมโปรดใหเชิญพระโกศบรรจุพระอัฐิในสมเด็จพระนางเจา อินทรศักดิศจี พระวรชายา ประดิษฐานคูพระโกศพระบรมอัฐิของ พระองค เนื่องจากสมเด็จพระนางเจาอินทรศักดิศจีไมสามารถให กําเนิดโอรสธิดาได มีเหตุทําใหทรงแทงอยูเนืองๆ นอกเหนือจากความรําคาญอื่นๆ ที่ระคายเคืองเบื้องพระยุคล บาท แลวไมโปรดให สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงดํารงตําแหนงในคณะผูสําเร็จราชการ ในกรณีที่ตองมีผูสําเร็จ ราชการแทนพระมหากษัตริยผูยังทรงพระเยาว เนื่องจากพระองค ไมพอพระทัยที่กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ปลอยใหนายเวสเตน การต ที่ปรึกษาราชการแผนดิน ยก 4 รัฐมลายูใหอังกฤษ แลกกับ เงินกูสรางทางรถไฟสายใต และความบาดหมางอื่นๆ ที่ทําให พระองคตองใชพระราชอํานาจบังคับใหกรมพระดํารงราชานุภาพ http://www.thaigoodview.com/files/u7358/ Lmt01.jpg ลาออกจากการเปนเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เมื่อ พ.ศ. 2458 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 41. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจากฤดาภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (ตน ราชสกุลกฤดากร) ที่ปรึกษาราชการแผนดิน สิ้นพระชนมทวังมะลิวัลย เมื่อวันที่ 20 ี่ สิงหาคม พ.ศ. 2468 - ขยายเสนทางรถรางจากยศเส ผานถนนพระราม 1 ไป ประตูน้ํา จากแยกบางรัก ไป ประตูน้ํา โดยผานถนนสีลมและถนนราชดําริ เพื่อรองรับงานสยามรัฐพิพิธภัณฑที่ จะจัดขึ้นที่ทุงศาลาแดง (สวนลุมพิน) ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2468 ี - ประกาศใชประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ครั้งแรก ตาม พระราช กฤษฎีกาใหใชบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 และ 2 ที่ ไดตรวจชําระใหม เมื่อ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - เกิดพายุหมุน ทําลายสิ่งกอสรางในทุงศาลาแดงที่จะเปนอาคารประกอบงาน สยามรัฐพิพิธภัณฑ - วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระนางเจาสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราช ธิดาพระองคเดียวในรัชกาลที่ 6 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 42. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 - เสด็จสวรรคต เมื่อเวลา 7 ทุม 45 นาที (1 นาฬิกา 45 นาที) ของวันที่ 26 พฤศจิกายน ปฉลู พ.ศ. 2468 หลังจากที่ทรงพระประชวรดวยอาการพระอันตะ (ลําไส) ทะลุ จากแผลผาตัดพระนาภีที่เกิดอาการอักเสบขั้นทะลุบริเวณพระนาภี (ผิวหนังหนาทอง) - พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกําหนดวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เปนวันคลายวันสวรรคตในรัชกาลที่ ๖ และทรงกําหนดใหวันที่ 26 พฤศจิกายน เปนวันคลายวันเถลิงราชยของพระองค - พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงบรรจุพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไวใตฐานพุทธบัลลังก พระพุทธชินสีห พระประธานในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร และใตฐาน พระรวงโรจนฤทธิ์ ณ พระวิหารดานทิศเหนือ พระปฐมเจดีย จังหวัดนครปฐม เมื่อ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2469 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 43. ประวัติศาสตร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 แหลงที่มาของขอมูล http://1.bp.blogspot.com/ http://ac.assumption.ac.th/ http://gotoknow.org/ http://i284.photobucket.com/ http://oas.psu.ac.th/ http://phakhai.ayutthaya.police.go.th/ http://th.wikipedia.org/ http://www.bangkokflying.com/ http://www.bloggang.com/ http://www.chaoprayanews.com/ http://www.culture.go.th/ http://www.kwc.ac.th/ http://www.snr.ac.th/ http://www.su-usedbook.com/ http://www.thaigoodview.com/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร