SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
เมืองน่าน: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
น่านเป็นเมืองที่เก่าแก่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18 ที่ยังคงไว้ซึ่งสถาปัตยกรรม ประเพณี และ
วัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี โบราณสถานที่สําคัญของจังหวัดน่านคือ วัดภูมินทร์ที่ตั้งสง่าอยู่กลางใจเมือง
เทศบาลเมืองน่าน มีพื้นที่ 5.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตําบลในเวียง และตําบลผาสิงห์บางส่วน
ในอําเภอเมือง จังหวัดน่าน ปัจจุบันมีประชากร 21,199 1
คน ความหนาแน่นประชากรในเมือง 3,925
คนต่อตารางกิโลเมตร
1. การขยายตัวของเมือง
เทศบาลเมืองน่านมีความยาวถนนรวมทั้งสิ้น 72.62 กิโลเมตร การประมาณค่าความหนาแน่น
แบบเคอร์เนลโดยมีความหนาแน่นของถนนเฉลี่ย 0.77 เมตรต่อตางรางเมตร ความหนาแน่นสูงสุด
13.4667 เมตรต่อตางรางเมตร บริเวณที่มีความหนาแน่นสูงสุดนั้นอยู่บริเวณใจกลางเทศบาลเทศบาล
เมืองน่าน (ตําบลในเมือง) ค่าการกระจาย (Varian) ของถนนในเขตเมืองน่านคิดเป็น 0.0033
ภาพที่ 1 แสดงแผนที่โครงข่ายถนนของเมืองน่าน
ปัจจุบันตัวเมืองน่านได้แผ่ขยายไปทางทิศตะวันตกและทิศใต้ โดยทิศวันตกเมืองแผ่ขยาย
ครอบคลุมบางส่วนของตําบลผาสิงห์ ด้วยการขยายตัวของเมืองที่ออกนอกขอบเขตเทศบาลเมืองน่าน
1
ข้อมูลประชากร 2557 กรมการปกครอง
เดิม เป็นผลให้มีราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง รวมพื้นที่บางส่วน ได้แก่ บ้านสวน
หอม บ้านดอนสวรรค์ และบ้านฟ้าใหม่ ในตําบลผาสิงห์เข้ากับเทศบาลเมืองน่าน เพื่อให้ง่ายต่อการ
บริหาร การจัดการ และการรองรับความเจริญที่ขยายตัวออกไป เหตุผลที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากทาง
ทิศตะวันตกของเมืองมีแม่นํ้าน่านที่เป็นแนวกันชนทางธรรมชาติ อีกทั้งอีกฝากตลิ่งหนึ่งของแม่นํ้าน่าน
อยู่ในเขตการปกครองของอําเภอภูเพียง
ลักษณะการขยายตัวของเมืองน่านจึงขยายตัวออกไปทางทิศตะวันตกและตามยาวเลียบเเม่นํ้า
น่านออกไปทางทิศใต้ ประกอบกับการสร้างทางหลวง 101 และทางหลวงหมายเลข 1091 ที่มีผลต่อการ
ขยายตัวของเมืองและตั้งถิ่นฐานเป็นเส้นยาวตามแนวถนน (Linear Settlement)
อนึ่งการขยายตัวของเมืองน่านเป็นการขยายตัวออกไปจากศูนย์กลางเดิมตามเนื่องตาม
เส้นถนนทางหลวงแผ่นดินโดยไม่ปรากฏศูนย์กลางความเจริญใหม่ที่แยกออกจากศูนย์กลางเดิม
(ภาพที่ 2)
ภาพที่ 2 แสดงแผนที่แสดงความหนาแน่นของถนนของเมืองน่าน
อําเภอเมืองน่านมีตําบลทั้งหมด 11 ตําบล ตําบลสะเนียนมีความยาวถนนมากที่สุด รองลงมา
คือ ตําบลผาสิงห์ และตําบลไชยสถาน ตามลําดับ ตําบลในเวียงซึ่งเป็นที่ตั้งของเทศบาลเมืองน่านมีความ
ยาวถนนเป็นลําดับที่ 7 แต่เมื่อเปรียบเทียบค่าการกระจายของถนน (Varian)2
ตําบลในเวียงมีค่าการ
กระจายของถนนน้อยที่สุด รองลงมาคือ ตําบลคู้ใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมืองน่าน
2
ค่าความแปรปรวน (Varian) เป็นสถิติที่วัดการกระจายของข้อมูล ดังนั้นในที่นี้จึงใช้คําว่า การกระจายของถนน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย
ขึ้น คือ บริเวณใดที่มีค่าค่าความแปรปรวนน้อย บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวของถนนมาก ในทางตรงข้ามกัน บริเวณใดที่มีค่าความ
แปรปรวนมาก บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวน้อย
ทิศทางการขยายตัวการขยายออกแบบ Linear Settlement
เหตุผลที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากตําบลในเวียงมีพื้นที่น้อยกว่าตําบลอื่นๆ จึงสามารถสร้างถนนในเขตเมืองได้
น้อย แต่ถนนกระจุกตัวมากกว่าตําบลอื่นๆ (ภาพที่ 3)(ภาพที่ 4)
ภาพที่ 3 แผนภูมิความยาวของถนนของถนนตําบลต่างๆในอําเภอเมืองน่าน
ภาพที่ 4 แผนภูมิค่าการกระจาย(Varian)ของถนนตําบลต่างๆในอําเภอเมืองน่าน
0
100
200
300
กองควาย
ไชยสถาน
ดู่ใต้
ถืมตอง
นาซาว
ในเวียง
บ่อ
ผาสิงห์
เรือง
สวก
สะเนียน
ความยาวถนน
Sum_R…
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1 ค่าการกระจายของถนน (Varian)
Var_Roa…
2. พื้นที่สีเขียวภายในเมืองน่าน
เมืองน่าน มีพื้นที่สีเขียวครอบคลุมพื้นที่ 3.41 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 63.20 ของพื้นที่
ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนของพื้นที่สีเขียว ต่อคน 1.61 ตารางกิโลเมตรต่อคน พื้นที่สีเขียว
กระจายอยู่ตามถนนสายต่างๆทั่วทั้งบริเวณ (ภาพที่ 5 )
ภาพที่ 5 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองน่าน

More Related Content

More from FURD_RSU

เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
FURD_RSU
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
FURD_RSU
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
 

เมืองน่าน:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว

  • 1. เมืองน่าน: การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว น่านเป็นเมืองที่เก่าแก่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18 ที่ยังคงไว้ซึ่งสถาปัตยกรรม ประเพณี และ วัฒนธรรมได้เป็นอย่างดี โบราณสถานที่สําคัญของจังหวัดน่านคือ วัดภูมินทร์ที่ตั้งสง่าอยู่กลางใจเมือง เทศบาลเมืองน่าน มีพื้นที่ 5.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ตําบลในเวียง และตําบลผาสิงห์บางส่วน ในอําเภอเมือง จังหวัดน่าน ปัจจุบันมีประชากร 21,199 1 คน ความหนาแน่นประชากรในเมือง 3,925 คนต่อตารางกิโลเมตร 1. การขยายตัวของเมือง เทศบาลเมืองน่านมีความยาวถนนรวมทั้งสิ้น 72.62 กิโลเมตร การประมาณค่าความหนาแน่น แบบเคอร์เนลโดยมีความหนาแน่นของถนนเฉลี่ย 0.77 เมตรต่อตางรางเมตร ความหนาแน่นสูงสุด 13.4667 เมตรต่อตางรางเมตร บริเวณที่มีความหนาแน่นสูงสุดนั้นอยู่บริเวณใจกลางเทศบาลเทศบาล เมืองน่าน (ตําบลในเมือง) ค่าการกระจาย (Varian) ของถนนในเขตเมืองน่านคิดเป็น 0.0033 ภาพที่ 1 แสดงแผนที่โครงข่ายถนนของเมืองน่าน ปัจจุบันตัวเมืองน่านได้แผ่ขยายไปทางทิศตะวันตกและทิศใต้ โดยทิศวันตกเมืองแผ่ขยาย ครอบคลุมบางส่วนของตําบลผาสิงห์ ด้วยการขยายตัวของเมืองที่ออกนอกขอบเขตเทศบาลเมืองน่าน 1 ข้อมูลประชากร 2557 กรมการปกครอง
  • 2. เดิม เป็นผลให้มีราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง รวมพื้นที่บางส่วน ได้แก่ บ้านสวน หอม บ้านดอนสวรรค์ และบ้านฟ้าใหม่ ในตําบลผาสิงห์เข้ากับเทศบาลเมืองน่าน เพื่อให้ง่ายต่อการ บริหาร การจัดการ และการรองรับความเจริญที่ขยายตัวออกไป เหตุผลที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากทาง ทิศตะวันตกของเมืองมีแม่นํ้าน่านที่เป็นแนวกันชนทางธรรมชาติ อีกทั้งอีกฝากตลิ่งหนึ่งของแม่นํ้าน่าน อยู่ในเขตการปกครองของอําเภอภูเพียง ลักษณะการขยายตัวของเมืองน่านจึงขยายตัวออกไปทางทิศตะวันตกและตามยาวเลียบเเม่นํ้า น่านออกไปทางทิศใต้ ประกอบกับการสร้างทางหลวง 101 และทางหลวงหมายเลข 1091 ที่มีผลต่อการ ขยายตัวของเมืองและตั้งถิ่นฐานเป็นเส้นยาวตามแนวถนน (Linear Settlement) อนึ่งการขยายตัวของเมืองน่านเป็นการขยายตัวออกไปจากศูนย์กลางเดิมตามเนื่องตาม เส้นถนนทางหลวงแผ่นดินโดยไม่ปรากฏศูนย์กลางความเจริญใหม่ที่แยกออกจากศูนย์กลางเดิม (ภาพที่ 2) ภาพที่ 2 แสดงแผนที่แสดงความหนาแน่นของถนนของเมืองน่าน อําเภอเมืองน่านมีตําบลทั้งหมด 11 ตําบล ตําบลสะเนียนมีความยาวถนนมากที่สุด รองลงมา คือ ตําบลผาสิงห์ และตําบลไชยสถาน ตามลําดับ ตําบลในเวียงซึ่งเป็นที่ตั้งของเทศบาลเมืองน่านมีความ ยาวถนนเป็นลําดับที่ 7 แต่เมื่อเปรียบเทียบค่าการกระจายของถนน (Varian)2 ตําบลในเวียงมีค่าการ กระจายของถนนน้อยที่สุด รองลงมาคือ ตําบลคู้ใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่รองรับการขยายตัวของเมืองน่าน 2 ค่าความแปรปรวน (Varian) เป็นสถิติที่วัดการกระจายของข้อมูล ดังนั้นในที่นี้จึงใช้คําว่า การกระจายของถนน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ขึ้น คือ บริเวณใดที่มีค่าค่าความแปรปรวนน้อย บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวของถนนมาก ในทางตรงข้ามกัน บริเวณใดที่มีค่าความ แปรปรวนมาก บริเวณนั้นก็จะมีการกระจุกตัวน้อย ทิศทางการขยายตัวการขยายออกแบบ Linear Settlement
  • 3. เหตุผลที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากตําบลในเวียงมีพื้นที่น้อยกว่าตําบลอื่นๆ จึงสามารถสร้างถนนในเขตเมืองได้ น้อย แต่ถนนกระจุกตัวมากกว่าตําบลอื่นๆ (ภาพที่ 3)(ภาพที่ 4) ภาพที่ 3 แผนภูมิความยาวของถนนของถนนตําบลต่างๆในอําเภอเมืองน่าน ภาพที่ 4 แผนภูมิค่าการกระจาย(Varian)ของถนนตําบลต่างๆในอําเภอเมืองน่าน 0 100 200 300 กองควาย ไชยสถาน ดู่ใต้ ถืมตอง นาซาว ในเวียง บ่อ ผาสิงห์ เรือง สวก สะเนียน ความยาวถนน Sum_R… 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 ค่าการกระจายของถนน (Varian) Var_Roa…
  • 4. 2. พื้นที่สีเขียวภายในเมืองน่าน เมืองน่าน มีพื้นที่สีเขียวครอบคลุมพื้นที่ 3.41 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 63.20 ของพื้นที่ ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนของพื้นที่สีเขียว ต่อคน 1.61 ตารางกิโลเมตรต่อคน พื้นที่สีเขียว กระจายอยู่ตามถนนสายต่างๆทั่วทั้งบริเวณ (ภาพที่ 5 ) ภาพที่ 5 แสดงพื้นที่สีเขียวภายในเมืองน่าน