SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
Download to read offline
0
Comprehensive Examination
เตรียมความพรอมสูการสอบประมวลความรู
ชั้นปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
ระหวาวันที่ 18-20 กุมภาพันธ 2557 เวลา 17.00-21.00 น.
ณ มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยาบริการเฉลิมพระเกียรติ
นายระดมพล ชวยชูชาติ
เรียบเรียง
1
2
การสอบประมวลความรู
คะแนน 200 คะแนน
(นักศึกษาตองสอบใหผาน 70 % ( 140 คะแนน ) ถึงจะผานการสอบประมวลความรู )
หนา
วิชาพื้นฐาน
EDF6003 ปรัชญาการศึกษา
MER6903 ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา
EDA7096 การศึกษาอิสระ
วิชาเอกเลือก
EDA6116 การพัฒนาองคการทางการศึกษา
และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
EDA6133 การบริหารงานบุคคลและการนิเทศการศึกษา
EDA6134 การบริหารสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
EDA6136 การบริหารงบประมาณการเงินและการบริหารทั่วไป
วิชาเอกเลือกบังคับ
EDA6113 หลักและกระบวนการบริการการศึกษา
EDA6123 ภาวะผูนําและจริยธรรมสําหรับผูบริหารการศึกษา
EDA6124 การบริหารการประชาสัมพันธและความสัมพันธชุมชน
EDA6145 นโยบายและการวางแผนการศึกษา
EDA6173 สัมมนาการบริหารการศึกษา
3
===================================================================================
4
กลุมวิชาพื้นฐาน
EDF6003
MER6903
EDA7096
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
วิชาพื้นฐาน
EDF6003 ปรัชญาการศึกษา ใชเวลาสอบ 90 นาที 25 คะแนน
MER6903 ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา
และ
EDA7096 การศึกษาอิสระ ใชเวลาสอบ 90 นาที 25 คะแนน
รวม 50 คะแนน
ปรัชญาการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับปรัชญา
การศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ยึดปรัชญาการศึกษา
ปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ปรัชญานี้มีความเชื่อวาการศึกษาควรจะเปนเครื่องมือ
ในการเปลี่ยนแปลงสังคมโดยตรง เนนการจัดการศึกษาเพื่อสรางสังคมใหดี รูจักการอยู
รวมกันในสังคม ชวยแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม สงเสริมความเปนประชาธิปไตย
ดังนั้นผูเรียนตองหาประสบการณดวยตนเองใหมาก การจัดหลักสูตรยึดผูเรียนเปน
ศูนยกลาง มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติที่จะออกไปปฏิรูปสังคม
ใหดีขึ้น เนื้อหาวิชาเนนดานพฤติกรรมศาสตร อิทธิพลของชุมชน การจัดการเรียนรู สงเสริม
ใหผูเรียนสํารวจความสนใจและความตองการของตนเอง ใชวิธีสอนแบบใหผูเรียนคนควาหา
ความรูดวยตนเอง เนนการอภิปราย การแสดงความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ โดยเฉพาะเรื่อง
ปญหาของสังคม พรอมใหขอเสนอแนะในการปฏิรูปสังคมดวย ตารางสอนจัดแบบยืดหยุน
(flexible schedule) การประเมินผลวัดพัฒนาการทุกดานของผูเรียนและทัศนคติเกี่ยวกับ
สังคมจากลักษณะของปรัชญาการศึกษาที่กลาวมา
พื้นฐานทางดานปรัชญามีความสําคัญตอการพัฒนาหลักสูตรมาก ดังนั้นการจะ
พัฒนาหลักสูตรไปในทิศทางใดยอมขึ้นอยูกับปรัชญาที่ยึดถือ เพราะแนวคิดทางปรัชญาเปน
เครื่องชวยกําหนดจุดหมาย หลักการ โครงสราง และแนวปฏิบัติของหลักสูตรใหชัดเจนขึ้น
ดังนั้นนักพัฒนาหลักสูตรจะตองมีความรูความเขาใจในปรัชญาการศึกษาอยางลึกซึ้ง และ
สามารถนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับความตองการ ในปจจุบันนี้การพัฒนาหลักสูตรมัก
เปนการผสมผสาน ลักษณะของปรัชญาหลาย ๆ ปรัชญาเขาดวยกันมิไดรางหลักสูตรขึ้นมา
ตามแนวปรัชญาใดปรัชญาหนึ่ง เนื่องจากแนวคิดของแตละปรัชญามีจุดเดนที่แตกตางกัน
5
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ซึ่งไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายของ
คุณภาพผูเรียนครอบคลุมการจัดการศึกษาทุกรูปแบบทั้งการศึกษาในระบบการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อเปนหลักประกันวาผูเรียนในระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานทุกคน มีโอกาสในการไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพเทาเทียมกัน เพื่อใหสอดคลอง
กับเจตนารมณของการปฏิรูปการศึกษาในความเปนเอกภาพดานนโยบายที่มุงเนนการ
พัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใหมีความหลากหลายในทางปฏิบัติที่ใชในการพัฒนาคุณภาพให
เหมาะสมกับบริบทและความพรอมของสถานศึกษาแตละแหง
แนวคิด เนนการศึกษาเพื่อสังคมเปนสําคัญ คือผูเรียนไมไดมุงพัฒนาตนเองอยาง
เดียว แตเพื่อนําความรูพัฒนาสังคมใหดีขึ้น ไดชื่อวา “แนวทางแหงการปฏิรูปเพื่อสราง
วัฒนธรรมใหมขึ้นมา”
จุดมุงหมายของการศึกษา การศึกษาคือการจัดประสบการณ ที่สงเสริมใหนํา
ความรู มาชวยแกปญหาสังคมและสรางสรรคสังคมใหม เชื่อวา การศึกษามีความสัมพันธ
กับสังคมอยางแยกไมออก
หลักสูตร จะเนนการพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถ และทัศนคติที่จะ
ออกไปปฏิรูปสังคมใหดีขึ้น เนื้อหาวิชาและประสบการณที่เลือกมาบรรจุในหลักสูตรจะ
เกี่ยวกับสภาพและปญหาของสังคมเปนสวนใหญ เนื้อหาวิชาเหลานี้จะเนนหนักในหมวด
สังคมศึกษา เพราะเชื่อวา การปฏิรูปสังคมหรือการพัฒนาสังคมใหดีขึ้น ทําไดโดยใช
กระบวนการชวยกันแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม การจัดระเบียบของสังคม การอยู
รวมกันของคนในสังคมและการสงเสริมประชาธิปไตยจึงเปนหนาที่ของสมาชิกในสังคม
ตัวอยางหลักสูตรตามแนวปรัชญานี้ไดแก หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (Social Process
and life Function Curriculum) และ หลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum)
วิธีการเรียนการสอน เนนผูเรียนใหเล็งเห็นแนวทางสําหรับประยุกตความรูและ
ประสบการณที่ไดรับไปใชในชีวิตประจําวัน และเพื่อเปนประโยชนของสังคมโดยรวม ให
ผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง ผูสอนตองเชื่อมั่นในหลักการประชาธิปไตยและนําไปสอนผูเรียน
เปนนักบุกเบิกนักแกปญหาสนใจในเรื่องของสังคม และปญหาสังคมอยางกวางขวาง
โดยสรุป ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ใชในสวนของการ
นําใหผูเรียนคนพบสังคมใหม ผูบริหาร ตองมีความคิดกวางไกล เปนนักประชาธิปไตย รับ
ความแนวคิดของชุมชน มีโครงการใหมๆ เขามา ชอบการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ บางครั้ง
ลงมือปฏิบัติ ดําเนินงานในฐานะผูนํา สรางระเบียบสังคมใหมที่ดีใหเกิดขึ้นเพื่อแกไข และ
สงเสริมคานิยม วัฒนธรรม ตามที่สังคมเปลี่ยนแปลง ครูผูสอนสอนโดยเนนการสราง
บรรยากาศของการมีอิสระ ครูคือบรรยากาศของนักเรียน การวัดประเมินผล เนน
พัฒนาการ
6
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ปรัชญากับการศึกษายุคปฏิรูปการเรียนรู
การศึกษา คือ ความเจริญงอกงามและปณิธาน “มุงมั่นในการผลิตและพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลใหมีความรูประดุจ นักปราชญ และมีความประพฤติประดุจผูทรงศีล
ปรัชญาการศึกษา คือ การตั้งคําถาม กระตุนใหเกิดคําถามใหม ไมตองสรุป ไมตองฟนธง
เพื่อที่คนเรียนจะไดไปตอยอด
ปรัชญาการศึกษา หมายถึง แนวคิด ความเชื่อปรัชญาการศึกษา : หมายถึง ทัศนะทาง
การศึกษาที่บุคคลใชเปนหลักในการดําเนินงานเกี่ยวกับการศึกษา หรือใชเปนแนวทางใน
การพิจารณาแกปญหาตาง ๆ
ยุคปฏิรูปการเรียนรู : เรียนแลว ตองไดผล เรียนใหเขาใจ สอนใหมีความรู อยูฝกให
ชํานาญ สานทักษะใหมั่นใจ เพื่อใชตลอดชีวิตรัฐบาลดําเนินนโยบายปฏิรูปการศึกษาอยาง
ตอเนื่องและจริงจัง เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบ ของการเรียนการสอนและพฤติกรรมของ
ผูศึกษา ตลอดจนเปาหมายของประเทศที่ตองการใหเด็ก เยาวชน และประชาชนทุกคน ไม
วาจะอยูในระดับใด ฐานะใด หรืออยูในพื้นที่ใดก็ตามมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้น และมีมาตรฐาน
ดานการศึกษาที่เทาเทียมกันทั้ง ประเทศ หากจะพิจารณาถึงเปาหมายดังกลาว จะเห็นไดวา
รัฐบาลพยายามจะเปลี่ยนสังคมของคนไทย จากสังคมของคน "โง จน เจ็บ" ใหเปนสังคม
ของคน "ฉลาด ร่ํารวย และมีสุขภาพสมบูรณ" มีความสุขทั้งกายและใจ ซื่อสัตย สุจริต
รับผิดชอบ รัก ความเสมอภาคและความเปนธรรม" โดยมุงเนนการพัฒนาใน 3 ดานหลัก
คือ ดานเศรษฐกิจพื้นฐาน หรือความเปนอยูและฐานะ ทางครอบครัว ดานสุขภาพและ
สาธารณสุข และดานการศึกษาของประชาชนควบคูกันไป
การสอนในยุคปฏิรูปการเรียนรู คือความมุงเนนใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะและ
กระบวนการคิด ดวยการเปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงพลังความคิด และจินตนาการอยาง
สรางสรรค ในเรื่องของการคิดแกไขปญหาและการบูรณาการความรูจากวิชาตางๆ
ความจําเปนตองปฏิรูปการศึกษา
การศึกษาในปจจุบันไมสามารถพัฒนาคนไทยใหเปนคนไทยยุคใหมไดทั้งนี้เพราะ
1. คุณภาพการศึกษาตกต่ําไมทันโลก แขงขันไมได, กลาวคือ ความสามารถในการ
แขงขันสูประเทศเพื่อนบานไมได (ประเทศไทยอยูอันดับที่ ๓๓ จาก ๔๗ ประเทศ),
คุณภาพผูเรียนไทยเปนที่พอใจ มีสัมฤทธิ์ผลต่ําในทุกวิชา เชน สังคมศึกษา (รอยละ ๕๕)
ภาษาไทย (รอย ๔๗) ภาษาอังกฤษ (รอยละ ๓๔) และคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (รอย
ละ ๓๐). ผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพต่ํา คิดไมเปน ทําไมได แกปญหาไมได ไมรักการ
เรียนรู เปนแรงงานที่มีคุณภาพต่ํา. การเรียนการสอนไมไดเนนความสามารถสากล
เทาที่ควร, ขาดการอบรมบมนิสัย ไมไดปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมและภูมิปญญาไทยอยาง
เพียงพอ.
7
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ทั้งนี้เพราะคุณภาพครูสวนใหญไมไดมาตรฐาน และหลักสูตรการเรียนการสอน
และการประเมินผลผูเรียน เนนวิชาและครูเปนตัวตั้ง ไมไดใหึความสําคัญแกผูเรียน, การ
เรียนการสอนไมเชื่อมโยงกับชีวิตจริง เนนการทองจํา แตไมเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห
และการคิดริเริ่มสรางสรรค.
2 .การเขารับการศึกษาไมกวางขวาง ไมทั่วถึง และไมเปนธรรม, เกิดความเหลื่อมล้ํา
ในโอกาสการเขารับการศึกษา และคุณภาพการศึกษาที่ไดรับ, กลาวคือ คนไยมี
การศึกษาเฉลี่ยเพียง 7.1 ป, แรงงานอายุ 13 ปขึ้นไป(48 ลานคน) รอยละ 68 มีการศึกษา
ระดับประถมศึกษาหรือต่ํากวา, มีประชาชนอายุ 13-24 ป ซึ่งเปนคนในวัยเรียน ถึง 7.1
ลานคน ที่ยังอยูนอกระบบการศึกษา. นอกจากนี้ ยังมีคนที่พลาดโอกาสและดอยโอกาสที่จะ
เขารับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจํานวนมาก เชน เด็กพิการอายุ 6-17 ป มีถึงรอยละ 80 พลาด
โอกาสเขารับการศึกษา.
3. การศึกษาแปลกแยกจากสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม, กลาวคือ การศึกษาที่จัดอยู
ในปจจุบันเปนการศึกษาแบบแยกสวน ไมสอดคลองกับการดํารงชีวิตในสังคม, อีกทั้ง
การศึกษาขาดการบูรณาการเชื่อมโยงกับดานศาสนา ศิลป และวัฒนธรรมเขาไวใน
กระบวนการเรียนรูอยางเหมาะสม, ทําใหผูสําเร็จการศึกษาออนดอยทางคุณภาพ และ
จริยธรรม และขาดความภูมิใจในศิลปะ และภูมิปญญาไทย ซึ่งเปนอันตรายอยางยิ่งก็การ
ดํารงอยู และความมั่นคงสถาพรของชาติไทย.
4. การบริหารจัดการศึกษาขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล, กลาวคือ ในปจจุบันมี
การบริหารรวมศูนยอํานาจสูสวนกลาง, มีการจัดองคกรซ้ําซอน สายบังคับบัญชายาว, ไมมี
เอกภาพดานนโยบาย และมาตรฐานประสิทธิภาพการใชทรัพยากรต่ํา, ขาดการเปดโอกาส
ใหทุกฝายมีสวนรวม, วิชาชีพครูตกต่ํา จึงไมไดคนดีคนเกงมาเปนครู, สังคมขาดศรัทธาและ
ความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู, ขาดการพัฒนานโยบายอยางตอเนื่อง, ขาดแคลนโครงสราง
พื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเขาถึงแหลงเรียนรู และขาดความเชื่อมโยงกับ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และชุมชน.
การศึกษาในปจจุบันมีปญหา จึงทําใหเกิดวิกฤตทางปญญา แลวพาใหเกิดวิกฤตชาติ. การ
แกวิกฤตตองทําหลายอยาง รวมทั้งการรักษาสมุฏฐานดวยยุทธศาสตรทางปญญา และการ
ปฏิรูปการศึกษาเพื่อความเขมแข็งทางปญญาโดยรอบดานโดยเร็ว. การปฏิรูปการศึกษาจึง
เปนวาระเรงดวนของชาติ.
8
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ประเด็นเรื่องสําคัญที่ตองปฏิรูป
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 20
สิงหาคม 2542 เปนตนมา ถือไดวาเปนกฎหมายแมบท ที่เปนเสมือนธรรมนูญการศึกษา
ของประเทศ, กลาวคือ การจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ทุกรูปแบบตองดําเนินการ
โดยยึดพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฉบับนี้เปนหลัก. พระราชบัญญัติฉบับนี้ถือเปน
กฎหมายปฏิรูปการศึกษา เพราะไดกําหนดประเด็นเรื่องสําคัญครอบคลุมการศึกษา ทั้ง
ระบบที่ตองปฏิรูปและกําหนดเงื่อนเวลาดวย เชน เรื่องสวนใหญจะตองปฏิบัติ 3 ป คือ
ภายในวันที่ 20 สิงหาคม 2545 , บางเรื่องก็ใหเวลามากกวานั้นคือ เรื่องการประกันคุณภาพ
การศึกษาจากภายนอก ซึ่งใหเวลาไวถึง 6 ป. ในการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้
ไดกําหนดหนวยงานรับผิดชอบไวดวย ไดแก กระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และองคการมหาชนเฉพาะกิจ คือสํานักงาน
ปฏิรูปการศึกษา เพื่อจัดทํากฎหมายปฏิรูปการศึกษาในหมวด 5 วาดวยโครงสรางและ
ระบบการศึกษา, หมวด 7 วาดวยระบบครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา, และ
หมวด 8 วาดวยทรัพยากรละการลงทุนทางการศึกษา
ในเรื่องสารบัญญัติที่สําคัญตองถือวาการปฏิรูปการเรียนรูในหมวด 4 เปนหัวใจการ
ปฏิรูปการศึกษา. ทั้งนี้เพราะระบบการศึกษาที่ผานมาไมเอื้ออํานวยตอการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา หรือคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนเทาที่ควร ทําใหคุณภาพของไทยไมสามารถ
แขงขันได, แตจะทําเฉพาะปฏิรูปการเรียนรู ก็จะไมบังเกิดผลเทาที่ควรจําเปนตองปฏิรูป
เรื่องอื่นๆ ที่เชื่อมโยงกันกับการปฏิรูปการเรียนรู โดยเฉพาะการปฏิรูปหลักสูตรและการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ, การประกันคุณภาพสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และปฏิรูป
ครู และบุคลากรทางการศึกษา. นอกจากนี้เพื่อใหการปฏิรูปการเรียนเปนไปไดอยาง
สมบูรณ และไดผลยั่งยืน จึงจําเปนตองปฏิรูปทรัพยากร และการลงทุนทางการศึกษา และ
การปฏิรูปโครงสรางและการบริหารการจัดการศึกษา เพื่อมุงเนนการปฏิรูปการเรียนรูที่มุง
ผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูสําเร็จการศึกษาเปนคนไทยที่มีคุณภาพและคุณธรรมเขมแข็ง
และแขงขันได
9
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) ใชในสวนของการนําให
ผูเรียนคนพบสังคมใหม ผูบริหาร ตองมีความคิดกวางไกล เปนนักประชาธิปไตย รับความ
แนวคิดของชุมชน มีโครงการใหมๆ เขามา ชอบการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ บางครั้งลงมือ
ปฏิบัติ ดําเนินงานในฐานะผูนํา สรางระเบียบสังคมใหมที่ดีใหเกิดขึ้นเพื่อแกไข และสงเสริม
คานิยม วัฒนธรรม ตามที่สังคมเปลี่ยนแปลง ครูผูสอน สอนโดยเนนการสรางบรรยากาศ
ของการมีอิสระ ครูคือบรรยากาศของนักเรียน การวัดประเมินผล เนนพัฒนาการ
ในดานการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมตามปรัชญาของโรงเรียนตาม พุทธปรัชญา
การศึกษา (Buddhism) โดยครูไดสอนนักเรียนในรูปแบบที่เปนนามธรรม (ทฤษฎี) แลว
ทําใหเห็นรูปธรรม โดยสอดแทรกไดทุกวิชา ใชหลักโยนิโสมนสิการ คือ การใชตัวอยางที่ดี
มากสอน การสอนที่เปน กัลยาณมิตร คือ การไมหวังสิ่งตอบแทน
หลักสูตร จะเนนการพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถ และทัศนคติที่จะ
ออกไปปฏิรูปสังคมใหดีขึ้น เนื้อหาวิชาและประสบการณที่เลือกมาบรรจุในหลักสูตรจะ
เกี่ยวกับสภาพและปญหาของสังคมเปนสวนใหญ เนื้อหาวิชาเหลานี้จะเนนหนักในหมวด
สังคมศึกษา เพราะเชื่อวา การปฏิรูปสังคมหรือการพัฒนาสังคมใหดีขึ้น ทําไดโดยใช
กระบวนการชวยกันแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม การจัดระเบียบของสังคม การอยู
รวมกันของคนในสังคมและการสงเสริมประชาธิปไตยจึงเปนหนาที่ของสมาชิกในสังคม
ตัวอยางหลักสูตรตามแนวปรัชญานี้ไดแก หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม (Social Process
and life Function Curriculum) และ หลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum)
การจัดการเรียนการสอน จะเนนการใหผูเรียนเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ
ทางสังคม และเนนกระบวนการประชาธิปไตยเพื่อการเปนสมาชิกที่ดี การสอนไมเนนการ
บรรยาย แตจะเนนการอภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่เปนปญหาของสังคม
การประยุกตใชปรัชญาการศึกษาในสถานศึกษา
การศึกษามีบทบาทและความสําคัญอยางยิ่งตอวิถีชีวิตของคนและสังคมไทย
ที่กําลังมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม
สิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี ทั้งในทศวรรษนี้ และทศวรรษหนา การจัดการศึกษาจึงตอง
มุงมีคุณภาพทุกดาน เพื่อเสริมสังคมไทยใหมีความเขมแข็ง มีคุณภาพ เปนสังคมแหงการ
เรียนรู และสมานฉันทเอื้ออาทร
ในฐานะที่ขาพเจาเปนผูบริหารสถานศึกษาขอนําปรัชญาการศึกษา เปนการนําเอาหลักการ
แนวคิด จากปรัชญาแมบทมาประยุกตใชในการจัดการศึกษา อาทิเชน การกําหนดทิศทาง
รูปแบบ และวิธีการทางการศึกษา โดยพิจารณาใหสอดคลองกับองคประกอบตางๆ เพื่อให
การจัดการศึกษาไดเกิดประโยชนมากที่สุด
10
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
และตรงตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 1 มาตรา 6 กลาววา การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่
สมบูรณ ทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรม ในการ
ดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข จากขอความขางตน เห็นไดวา
เปาหมายของการจัดการศึกษา คือ ผูเรียน ที่ไดรับการพัฒนาเปนองครวมในทุกๆ ดาน
เพื่อพัฒนาคนไทยเปนมนุษยที่สมบูรณ และอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุขจะเห็นไดวา
การศึกษา เปนกระบวนการเรียนรูที่เกี่ยวของกับทฤษฎีการเรียนรูและปรัชญาการศึกษา
เพราะฉะนั้น สถานศึกษาของขาพเจา นําปรัชญาการศึกษา มาประยุกตใช ในรูปแบบ
ดังตอไปนี้
1. หลักสูตร หลักสูตรแบบประสบการณ (Experience Curriculum) วิชา
วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ถือวาสําคัญ แตเปนความสําคัญในแงของวิธีการ คือ
วิธีการทางวิทยาศาสตร ตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม สวนที่เกี่ยวกับปรัชญาอัตถินิภาวะ
นิยม ไดแก หลักสูตรนาจะสงเสริมให ผูเรียนตามความสามารถ และความถนัดของแตละ
คนโดยใหมีโอกาสเลือกมากที่สุด สวนหลักสูตรตามแนวพุทธปรัชญา เปนหลักสูตรที่เนน
การฝกฝนอบรม ทางดานจิตใจ และคุณธรรมของเด็กเปนสําคัญ ใชหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดการเรียนรู ที่บูรณาการพุทธธรรม เพื่อพัฒนาผูเรียนอยางชัดเจนและตอเนื่อง
2. ผูบริหาร ยึดแนวปรัชญาการศึกษา พิพัฒนาการนิยม ปรัชญาปฏิรูปนิยม
ปรัชญาอัตถิภาวะนิยม และพุทธปญญา
- ผูบริหารตามแนวปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม คือ สนับสนุน
สงเสริม เพื่อพัฒนาผูเรียน ใหเกิดการเรียนรู โดยอาศัยประสบการณในชีวิตเปนสําคัญ
และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
- ผูบริหารตามแนวปรัชญาการศึกษา ปฏิรูปนิยม คือ สนับสนุนสงเสริม
เพื่อพัฒนา ใหคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใหทุกสวนในสังคมมีสวนรวมในการจัด
การศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมใหดีขึ้นกวาเดิม
- ผูบริหารตามแนวทางปรัชญาการศึกษา อัตถิภาวะนิยม คือ สนับสนุน
สงเสริม เพื่อพัฒนาผูเรียน เต็มตามศักยภาพ โดยผูเรียนเปนผูสรางความรู ผาน
กระบวนการคิดดวยตนเอง มีการแสดงออกอยางอิสระ สรางสรรคผลงานที่มีคุณภาพ
ควบคูคุณธรรม จริยธรรม
- ผูบริหารตามแนวพุทธปญญา คือ สนับสนุน สงเสริม เพื่อพัฒนาผูเรียน
ใหมีคุณธรรม ปราศจากความเห็นแกตัว ใหรูจักตนเอง รูจักแกปญหาในชีวิต และอยูใน
สังคมอยางมีความสุข
11
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
3. ครู ควรยึดแนวทางปรัชญาการศึกษา ของพิพัฒนาการนิยม และปฏิรูปนิยม
- ครุตามแนวของปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม คือ ครูเปน
เตรียมการแนะนําใหคําปรึกษา มีประสบการณกวางขวาง บุคลิกภาพดี เขาใจความ
แตกตางระหวางบุคคล กระตุน ใหคําปรึกษา แนะแนว ประสานงานกับผูเรียน ครู คือผู
เสียสละเพื่อเด็กและสังคมอยางแทจริง
- ครู ตามแนวปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม คือ เชื่อมั่นในหลัก
ประชาธิปไตย นักบุกเบิก นักแกปญหา สนใจเรื่องสังคม วิเคราะห สรุปปญหาใหผูเรียน
ไดเปดโอกาสใหผูเรียน แสดงความคิดเห็น และตรวจสอบความคิดเห็นของครูตามแนว
แบบประชาธิปไตย
4. นักเรียน ควรยึดแนวทางปรัชญาการศึกษา ของนิรันตรนิยม พิพัฒนาการนิยม
และปรัชญาอัตติภาวะนิยม
- ปรัชญานิรันตรนิยม ผูเรียนมีเหตุผล มีจิตใจดีมาก มีสติปญญา และมี
ศักยภาพในตัวเอง กลาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผูอื่น
- ปรัชญาการการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ผูเรียนเปนศูนยกลาง ผูเรียนมี
สวนรวมในการจัดกิจกรรม ผูเรียนมีสวนรวมในการเลือกเนื้อหาและจัดกิจกรรมที่ตนเอง
สนใจ
- ปรัชญาการศึกษาอัตติภาวะนิยม ไดแก นักเรียนรูจักและเขาใจตนเอง
คนหาตนเองคือใคร มีชีวิตอยูเพื่ออะไร จะมอบสิ่งใดแกโลก มีสิทธิเลือกแนวทางพัฒนา
ตนเอง รับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองกระทํา
5. โรงเรียน ควรยึดปรัชญาการศึกษา พิพัฒนาการนิยม เพราะเชื่อวาโรงเรียน
เปนแบบจําลองสิ่งที่ดีงามของชีวิตและสังคม โรงเรียนเปนแหลงสรางเสริมประสบการณให
สอดคลองกับการดําเนินชีวิต แตตองเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผูเรียน
ปรัชญาการศึกษาอัตติภาวะนิยม เชื่อวาโรงเรียน จะตองสรางบรรยากาศแหง
เสรีภาพทั้งในและนอกหองเรียน จัดสิ่งแวดลอมเอื้อตอการเรียน สงเสริมใหเด็กแตละคนมี
การพัฒนาการความเปนตัวของตัวเอง นั่นคือ ใหเด็กเลือกและรูจักเลือกโดยอิสระดาน
ศีลธรรม จรรยาเด็กเลือกเองโดยไมมีเงื่อนไข
6. กระบวนการเรียนการสอน ตามแนวปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
เนนการฝกการกระทํา การเรียนรูจากการฝกประสบการณจริง ใชกระบวนการแกปญหา
เนนการทดลอง ประสบการณจากการทดลองเปนกิจกรรมสําหรับวิธีการเรียนรู
ปรัชญาการศึกษาพุทธปญญา มีระบบการศึกษา 3 ประการ คือ ไตรสิกขา ไดแก
ศีล สมาธิ ปญญา ซึ่งเปนการฝกอบรมที่ครอบคลุมการดําเนินชีวิตทุกๆ ดาน และบูรณา
การพัฒนาชีวิตที่สมบูรณได
12
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ปรัชญาการศึกษา คือ แนวความคิดความเชื่อเกี่ยวกับการกําหนดแนวทางในการจัด
การศึกษา ที่แสดงออกมาในรูปของอุดมการณ หรืออุดมคติเพื่อเปนเครื่องนําทางหรือเปน
หลักยึดในการจัดการศึกษาใหบรรลุจุดมุงหมายของการศึกษา
แนวคิด นําไปปฏิบัติแลวไดผล จึงกลายเปน ปรัชญา
ปรัชญาของโรงเรียน เปนแมบท เปนตัวอยางสําคัญ ของโรงเรียน เกิดปรัชญาแลว ตอไป
เปนการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ทิศทางของโรงเรียนตองลอปรัชญา ปรัชญาเกิดจากการ
วิเคราะห SWOT
ประโยชนคุณคาของการศึกษาปรัชญา มีความจําเปนทางสังคม โรงเรียนเปนสวนหนึ่ง
ของสังคม นําปญหา ความตองการของสังคม มากําหนด
วิธีการเรียนการสอน การประเมินผล
- เอาปรัชญามากําหนดทิศทางหลักวิชาการของสังคม เพื่อความสมานฉันท
- ความรูมนุษยเพื่อการดําเนินชีวิต ตองประเมินและวิพากษวิจารณ
- อธิบายความมีอยูของความตองการ นามธรรมใหเปนรูปธรรม
- เนนกิจกรรม กระทําดวยปญญา คิดเปนตองปฏิบัติเปนดวย (Social reconstructionism)
- มนุษยมีความตองการมากกวาปจจัย 4
- แนวคิดการทํางานเปนทีม หลักการประชาธิปไตย สรางสังคมใหม
Social reconstructionism มีลักษณะ ดังนี้
1. ตองทําใหโรงเรียนเปลี่ยนสังคม
2. ตองใหความสําคัญกับปญหาของสังคม
3. เนนการเปนประชาธิปไตย
ลักษณะผูบริหารทั้ง 6 ลัทธิ
* ผูบริหารแบบสารัตถนิยม เปนแบบเผด็จการ
* ผูบริหารแบบนิรันตรนิยม ใชหลักเหตุผล (ไมฟงเสียงขางมากอยางเดียว แตใชเหตุผลประกอบ)
* ผูบริหารแบบพิพัฒนาการนิยม ใชแบบประชาธิปไตย
* ผูบริหารแบบปฏิรูปนิยม นําชุมชนสูสังคม
* ผูบริหารแบบอัตถิภาวนิยม จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอมสงเสริมใหเหมาะสมกับการเรียนของเด็ก
* ผูบริหารแบบพุทธปรัชญา ใชแบบพรหมวิหาร 4
13
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา และการศึกษาอิสระ
ความหมายการวิจัย
- คนหาความจริง
- เปนสิ่งประดิษฐคิดคน คิดสิ่งใหม / เทคโนโลยี
- คนหาวิธีการใหม / วิธีสอนใหม ที่เกิดประสิทธิผล ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน
ไดรับการพิสูจนจากการวิจัย สิ่งนี้คือ นวัตกรรมใหม
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) อาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร
๑. กําหนดปญหาในการวิจัย
๒. ตั้งสมมุติฐาน
๓. การเก็บรวบรวมขอมูล
๔. การวิเคราะหขอมูล
๕. การแปลผลและสรุปผลการวิจัย
๖. การเขียนรายงานการวิจัย
การกําหนดปญหาการวิจัย ตองมีคําถามกอน (คําถามในการทําวิจัย)
ปญหา หมายถึง สถานการณที่เกิดความขัดแยง ระหวางสถานการณที่เปนจริงกับ
สถานการณที่คาดหวัง หรือ สิ่งที่เราอยากได (ความจริง กับ ความคาดหวัง)
ปญหาการวิจัย (คําถามเพื่อตองการคําตอบ คําตอบที่ไดนั้น ตองถูกตอง เปนจริง)
คือ ประเด็นที่นักวิจัยสงสัย ตองการดําเนินการ หาคําตอบ ที่ถูกตองตรงกับความเปน
จริง พูดงายๆ คือ โจทยที่นักวิจัยตั้งไว เพื่อหาคําตอบ..
ตัวอยางที่ ๑
ปญหา - ทําไมนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา
จากปญหาที่กวาง เรามาแตกคําถามยอยๆเล็กๆ เชน
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ําจริงหรือ
- ครูใชวิธีสอนหรือสื่อการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาหรือกลุมผูเรียนหรือไม
- การบริหารงานวิชาการมีสภาพเชนไร
- เคยดูหลักสูตรหรือไม / มานิเทศกับกับติดตามบาง หรือไม
จากโจทยปญหา คือ
ครูใชวิธีสอนหรือสื่อการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาหรือกลุมผูเรียนหรือไม
๑. คิดวิธีการสอนใหม
๒. สรางสื่อใหม
แลวนําไปพิสูจนโดยวิธีการวิจัยวาสิ่งที่คิดใชไดผลหรือไม
14
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ตัวอยางที่ ๒
ปญหา - การประเมินผูเรียนตามสภาพจริงตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานใชไดหรือไม
หัวขอวิจัย..
-ความคิดเห็นเกี่ยวการประเมินผลตามสภาพจริงของครู นักเรียนและผูปกครองในโรงเรียน สังกัดกทม.
-ปญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อประเมินผลตามสภาพจริงของครู สังกัด กทม.
การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย (ขอสัญญา)
บอกเจตจํานง วาตองการดําเนินการอยางไร / มีคําถามวิจัยอะไร / ไดปริมาณเทาไหร
(ชื่อเรื่อง เปนโจทยใหญ แตวัตถุประสงคเปนโจทยยอย)
หลักการเขียนวัตถุประสงค
๑. สอดคลองกับโจทยใหญ คือดูชื่อเรื่อง แลวเอามาแตกยอยเปนวัตถุประสงคแตละขอ
๒. มีความเปนไปไดที่จะไดคําตอบทุกขอวัตถุประสงค (ทุกขอมูลคําตอบหรือไม)
๓. ผูอานสามารถเขาใจไดงายๆ
๔. นิยมใชประโยชนบอกเลา (ซึ่งอยูในลักษณะโจทย คือ มีการถามอยูในตัวเอง)
ตัวอยางเชน
ตัวอยางที่ ๑
หัวขอวิจัย เรื่อง สภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร
(๑. เปนคําถาม ๒. สิ่งที่อยากรู คือ สภาพการปฏิบัติงาน ๓. ประชากร คือ ครูสังกัด กทม.)
ตอไปการเขียนวัตถุประสงค(โจทยยอย...)
อยากรูวา ๑. การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของครูสังกัด กทม. มีสภาพอยางไร
๒. ครูผูหญิงและผูชายปฏิบัติเหมือนกันหรือไม (ครบ ๙ ขอหรือไม) (เพศ)
๓. ครูที่อยูนานกับครูใหม ปฏิบัติเหมือนกันหรือไม (อายุราชการ)
อื่นๆ ไดแก วุฒิการศึกษา
ขั้นตอไป >> เขียนเปน.....
วัตถุประสงคการวิจัย
๑. เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของครูสังกัด กทม.
๒. เพื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของครูสังกัด กทม. และอายุราชการ
(เปนเจตจํานงวา เอาเพศมาเปรียบเทียบกัน มีการตัดสินกัน / และกลุมอายุราชการ อาจจะแยกเปน ๓
กลุม ก็ได เอามาเปรียบเทียบ)
จากการเขียนวัตถุประสงค
ขอสังเกต....
ขอ ๑ ไดคําตอบ
ขอ ๒ ไดคําตอบ
ฉะนั้นมีคําตอบทุกวัตถุประสงค
15
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ตัวอยางที่ ๒
ชื่อเรื่องที่ ๑
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ................ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ที่เรียนโดย
ใชแบบเรียนสําเร็จรูปกับเรียนโดยวิธีปกติ
จากหัวขอ
๑. นักวิจัยสรางแบบเรียนสําเร็จรูป
๒. สรางแลวเอาไปใชงาน คือ การพิสูจนโดยการวิจัย
๓. ครูใชนักเรียน ๒ หอง คือ หองที่ใชแบบเรียนสําเร็จรูปกับหองที่เรียนแบบปกติ
เขียนเปน วัตถุประสงคการวิจัย
๑. เพื่อสรางแบบเรียนสําเร็จรูปวิชา....สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ใหมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ 80/80 (ขอ ๑ นี้จะเขียนหรือไมเขียนก็ได)
๒. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ................ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ที่เรียน
โดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปกับเรียนโดยวิธีปกติ (ขอ ๒ นี้บังคับ )
๓. (อาจมีการสํารวจแผงอยูดวย) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีตอแบบเรียน
สําเร็จรูป วิชา ......
ชื่อเรื่องที่๒
ผลการใชแบบเรียนสําเร็จรูปในการเรียนวิชา .......... ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖
๑. สรางแบบเรียน
๒. การพิสูจนยังไมทราบ ตองใหรายละเอียดที่วัตถุประสงค
เขียนเปน วัตถุประสงคการวิจัย
๑. เพื่อสรางแบบเรียนสําเร็จรูปในการเรียนวิชา .......... ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ใหมี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80
๒. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนกับหลังเรียนโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูป
(ผลการใช >> ถาทดลองกลุมเดียว ใชกอนเรียนกับหลังเรียน)
ชื่อเรื่องที่ ๓ (แบบสํารวจ)
ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
มหาวิทยาลัยรามคําแหง
วัตถุประสงคการวิจัย
๑. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมสาขาวิทยบริการเฉลิม
พระเกียรติมหาวิทยาลัยรามคําแหง
(** วัตถุประสงคการวิจัย ไมไมใครกําหนดวากี่ขอ เพียงตอบโจทยหัวขอวิจัยใหไดเทานั้น)
ตอไปนี้เปนการอธิบายเพิ่มเติมอีกได
๒. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีตอสภาพแวดลอมสาขาวิทย
บริการฯ จําแนกตามระดับชั้นปที่ศึกษา สาขาที่ศึกษา และสถานที่ศึกษา
16
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ตัวแปร และ สมมุติฐาน (Variable and Hypothesis)
ตัวแปร หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะแปรเปลี่ยนได ทั้งปริมาณ และคุณลักษณะ
ปริมาณ > อายุ น้ําหนัก
คุณลักษณะ > เพศ เชื้อชาติ ศาสนา
ตัวคงที่
เปนการสกัดตัวแปร เพราะตัวแปรมีเยอะมากในคน จึงทําตัวแปรใหเปนตัวคงที่ เรียกวา
ตัวแปรควบคุม (วิจัยเชิงทดลอง) เชน …
ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ ๑ ที่เรียนโดยใชชุดการเรียนกับการเรียนแบบปกติ
ตัวแปร ไดแก - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนการสอบ การประเมิน สังเกต)
- วิธีเรียน (เรียนโดยใชชุดการเรียนกับการเรียนแบบปกติ)
เมื่อดูหัวขอวิจัยนี้แลว ... วิชาสังคมศึกษา อดีตเคยเปนตัวแปรมากอน คือ วิชาเรียน
เพราะ/ดังนั้น นักวิจัยจึงควบคุมใหเปนตัวคงที่ มีอีกคือ ระดับชั้น (ชั้น ม.๑) ซึ่งเปนตัวแปรคงที่ เชนกัน
สรุป….
ตัวแปร - วิธีสอน
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตัวคงที่ - วิชาเรียน
- ระดับชั้น
ประเภทของตัวแปร
A. แบงตามประเภทขอมูล
๑. ตัวแปรตอเนื่อง คือตัวแปรที่เปนตัวเลข จํานวน ปริมาณ เขียนตอเนื่องได(ไม
ขาด เขียนเปนทศนิยมได) เชน น้ําหนัก ๔๔.๕๐ กก. , คะแนนสอบนักเรียน เชน ๑๐.๒๒
คะแนน, สวนสูง เชน ๑๕๖.๖๖ ซม.
๒. ตัวแปรไมตอเนื่อง คือ เปนตัวเลขที่เปนจํานวนนับ เขียนเปนทศนิยมไมได เชน
จํานวนคนที่เห็นดวยกับการยุบโรงเรียน ๑๒๐,๐๐๐ คน (ไมมีจุดทศนิยม)
๓. ตัวแปรเชิงคุณภาพ (คุณลักษณะ) คือ ตัวแปรที่เปนคํา ขอความ ไมเปนตัวเลข
เชน เพศ ศาสนา วิถีชีวิตของคนในชนบท การรับประทานอาหาร ทักษะชีวิต วัฒนธรรม
ของคนเมือง เปนตน
งานวิจัยเชิงคุณภาพ ตัวแปรตองเปนคุณภาพ
** ที่จริงแลว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนตัวแปรเชิงคุณภาพ แตผูวิจัย
ตองการใหเปนเชิงปริมาณ จึงใชคําวา เปรียบเทียบ จึงกลายเปนตัวแปรเชิงปริมาณ
๔. ตัวแปรเชิงปริมาณ
17
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
B. แบงตามลักษณะการเกิด
๑. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ตัวแปรอิสระ ชื่อทางการจากราชบัณฑิตฯ
(ไมใชเรียกวา ตัวแปรตน (ตนเหตุ) แตก็ยังใชตัวแปรตนอยู ก็ไมผิด) ตัวแปรอิสระนี้
๒. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ผลที่เกิดจากตัวแปรอิสระ /เปนตัวแปรที่
ผูวิจัยอยากรู เปนไฮไลทของงานวิจัย
๓. ตัวแปรเกิน (Extraneous Variable) ตัวแปรที่สงอิทธิพลตอสิ่งอื่นๆ อาจจะทําใหตัว
แปรตามรวนได จึงตองควบคุม เพราะเราไมอยากไดในการทดลอง
๔. ตัวแปรสอดแทรก
เกิดจากการทดลองนานๆ ซึ่งเปนสิ่งที่ดี แตเพราะกลุมตัวอยางมันมีความแตกตางกัน
ในการวิจัยทางการบริหารการศึกษา เปนการเก็บขอมูลภาคสนาม เปนปจจุบัน แลว
นําผลมาอธิบาย
ตัวอยาง ๑
นักเรียนหญิงและชายมีความสามารถในการเรียนคณิตศาสตรแตกตางกัน
แปลวางานวิจัยนี้ เปน วิจัยเชิงสํารวจ
ตัวแปร คือ
- ความสามารถในการเรียนคณิตศาสตร
- เพศ
เราพบวา ตัวแปร เพศ มีอิทธิพลตอการเรียนคณิตศาสตร / ตัวแปรเพศเปนการกําหนด
ความสามารถ
เราพบอีกวาตัวแปรเพศเปนตัวแปรอิสระ ความสามารถการในการเรียนคณิตศาสตร เปน
ตัวแปรตาม
ตัวอยาง ๒
ผูบริหารที่มีประสบการณมากกวา มีความสามารถในการบริหารงานสูงกวาผูบริหารที่มี
ประสบการณนอย
ตัวแปร
- ประสบการณ เปนตัวแปรอิสระ
- ความสามารถในการบริหารงาน เปนตัวแปรตาม
ตัวอยางจาก หัวขอวิจัยเรื่อง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑
ที่เรียนโดยใชชุดการเรียนกับการเรียนแบบปกติ
- วิธีสอน เปนตัวแปรอิสระ เพราะนักวิจัยเลือกมา ๒ วิธี เพราะไมไดรับ
อิทธิพลจากใดๆ
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนตัวแปรตาม ที่ไดรับอิทธิจากวิธีสอน
- วิชาเรียน เปนตัวแปรควบคุม
- ระดับชั้น เปนตัวแปรควบคุม
18
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
ม.๑/๑ เรียนโดยใชชุดการเรียน
ม๑/๒ เรียนแบบปกติ
ผลคือ ๑/๑ คะแนนดีกวา ๑/๒
แตยังมีตัวแปรที่ตองดู คือ พื้นฐานความรูเดิมของนักเรียน (ยังไมควบคุมตัวแปรนี้)
วิธีการควบคุมใหตัวแปรนี้หายไป หรือทําใหเทากัน เรียกวา ตัวแปรเกิน
ตัวแปรเกิน คือ ตัวแปรที่ไมตองการ
สมมุติฐาน (Hypothesis) หรือ สมมติฐาน
ความหมาย คือ การคาดคะเนผล สามารถทดสอบไดโดยใชขอมูลเชิงประจักษ
ประเภทของสมมุติฐาน
๑. สมมุติฐานการวิจัย
๒. สมมุติฐานทางสถิติ
๑. สมมุติฐานการวิจัย คือ การคาดคะเนผลการวิจัย
ชื่อเรื่องเปนคําถามใหญ
วัตถุประสงค เปนคําถามยอย
สมมุติฐานคือ คําตอบ
คําถามการวิจัยคือวัตถุประสงคการวิจัย การตั้งสมมุติฐานใหดูคําถามการวิจัย
วัตถุประสงค
เพื่อเปรียบเทียบสภาพการบริหารงานผูบริหารที่มีวุฒิทางการศึกษาตางกัน
สมมุติฐาน วา...
ผูบริหารที่มีวุฒิทางการศึกษาตางกัน มีสภาพการบริหารงานแตกตางกัน
จะไมตั้งวา ไมแตกตางกัน
ตัวแปร
- วุฒิทางการศึกษา
- สภาพการบริหารงาน
วัตถุประสงค
เพื่อเปรียบเทียบคานิยมดานการบริโภค ของนักเรียนที่มีสภาพความครัวตางกัน
สมมุติฐาน
ตัวแปรอิสระ สภาพครอบครัว
ตัวแปรตาม คานิยม
ลองมาดูวิจัยในชั้นเรียน
……………………….
19
Mem.?
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
………………………….
วัตถุประสงค
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยแบบเรียนโปรแกรมกับการ
เรียนแบบปกติ
สมมุติฐาน
นักเรียนที่เรียนโดยใชแบบเรียนโปรแกรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาที่เรียนโดยวิธีปกติ
สภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงคการวิจัย
๑. เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของครูสังกัด กทม.
๒. เพื่อเปรียบเทียบสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ของครูสังกัด กทม. และ
อายุราชการ
จากวัตถุประสงคขอที่ ๑ นักวิจัย จะไมตั้งสมมุติฐาน แต ขอ ๒ ตองตั้งสมมุติฐาน
เพราะมีผลเกี่ยวสถิติ สมมุติฐานตั้ง จะตั้งหางเดียว (ไมตางกัน)หรือ สองหาง (แตกตางกัน)
สมมุติฐาน เขียนดังนี้
ครูสังกัด กทม.ที่มีเพศและอายุราชการตางกัน มีสภาพการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ครูแตกตางกัน
๒. สมมุติฐานทางสถิติ เปนการคาดคะเนผล นักสถิติคาดคะเน เพราะใชผลทางสถิติ
ใช T-test / F-test มี ๒ แบบ คือ
๑. สมมุติฐานกลาง (Null Hypothesis : Ho )
Ho : u1 = u2 (u1 อานวา มิวหนึ่ง)
เชน คะแนนเฉลี่ยจริยธรรมชายและหญิง
ชาย หญิง
u1 u2
สมมุติฐาน ..
ครูชายมีจริยธรรมแตกตางกัน (แตตามสูตร คือ Ho : u1 = u2 ) นักสถิติใหตั้งสมมุติฐานวา
แตกตางกัน หรือไมเทากัน (สองหาง)
๒. สมมุติฐานเลือก
H1 : u1 ≠ u2
หรือ u1 > u2 u1 < u2 (สมมุติฐานตองสอดคลองสมมุติฐานการวิจัย)
การเขียนเคาโครงการวิจัย
๑. ชื่อเรื่อง (ตั้งชื่อเรื่อง)
๒. เนื้อหา
บทที่ ๑ บทนํา
บทที่ ๒ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย
๓. สวนประกอบอื่นๆ
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T
T

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

What's hot (20)

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

Viewers also liked

สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกChoatphan Prathiptheeranan
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาวิทวัส รัตนวิรุฬห์
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดnative
 

Viewers also liked (7)

คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหารสรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร
 
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
แนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radomponแนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radompon
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
 

Similar to T

แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1วรรณิภา ไกรสุข
 
แบบสรุปผลการประเมิน วฐ 6
แบบสรุปผลการประเมิน  วฐ 6แบบสรุปผลการประเมิน  วฐ 6
แบบสรุปผลการประเมิน วฐ 6amornluk
 
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาPanisara Phonman
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองStrisuksa Roi-Et
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนIct Krutao
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
 Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน... Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...nawaporn khamseanwong
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...sirimongkol9990
 
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...poppoppo
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552guest1cd0265
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552setthapong
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...
 Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก... Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...nawaporn khamseanwong
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 

Similar to T (20)

แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่  1
แผนการสอนเรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แบบสรุปผลการประเมิน วฐ 6
แบบสรุปผลการประเมิน  วฐ 6แบบสรุปผลการประเมิน  วฐ 6
แบบสรุปผลการประเมิน วฐ 6
 
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
T4
T4T4
T4
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
 Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน... Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน...
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
 
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
Isนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์ คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรี...
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
P7
P7P7
P7
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552
 
ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552ปวชชอ2.4ผ 2552
ปวชชอ2.4ผ 2552
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...
 Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก... Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการก...
 
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...
Loadแนวข้อสอบ ครูผู้ช่วย เอกวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการกา...
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 

T