SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
s
คำนำ



      หนังสืออ่านเพิมเติม เรื่อง เส้นสายลายศิลป์ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ
                    ่
เป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลปะ สาระทัศนศิลป์ ศ 14101 ชั้น
                                              ิ
ประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบแผนการสอนซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง ทั้ง
ในเวลาเรียน และนอกเวลาเรียน ช่วยให้นักเรียนมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการวาดภาพ
                                                   ้
ระบายสีในเบื้องต้น ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ต่อไป

      เนื้อหาสาระการเรียนรู้ในหนังสือเล่มนี้ ผู้จัดทาได้เรียบเรียงเนื้อหาตามหลักสูตร
แกนกลาง พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของกลุ่ม
สาระการเรียนรูศิลปะ โดยแต่งเป็นความเรียงมีภาพประกอบ แบบทดสอบก่อนเรียน
              ้
- หลังเรียน มีแบบฝึกทักษะเพือให้ผู้เรียนได้พฒนาและเรียนรูอย่างมีความสุข หนังสือ
                            ่               ั            ้
อ่านเพิมเติมมีจานวนทังหมด 5 เล่ม สาหรับ เล่มที่ 1 เรื่อง เส้นสายลายศิลป์
       ่             ้
ประกอบด้วยความรูเ้ รื่อง เส้น ลักษณะของเส้นประเภทต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการ
เรียนรูทัศนศิลป์ในระดับสูงขึ้นไป
       ้

      ขอขอบคุณ นายอานาจ สว่างภพ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านตะเคียนช่างเหล็ก
คณะครู นักเรียน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือจนทา
ให้งานสาเร็จลุล่วงโดยดี


                                                             อานนท์ นามแสง
สำรบัญ

เรื่อง                                                                                                                   หน้า

คานา..................................................................................................................    ก

สารบัญ..............................................................................................................      ข

           คาชี้แจงในการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม....................................................                       ค

           มาตรฐานการเรียนรู้...............................................................................              ง
           ตัวชี้วัดชั้นปี............................................................................................    ง

           สาระสาคัญ............................................................................................          ง

           จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................              ง

           ข้อควรปฏิบัติสาหรับนักเรียน.................................................................                   จ
           เนื้อเรืองของหนังสืออ่านเพิ่มเติม...........................................................
                   ่                                                                                                      1

บรรณานุกรม                                                                                                               16
คำชี้แจงในกำรใช้หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม



      หนังสืออ่านเพิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป์
                    ่                        ้                              ชั้น
ประถมศึกษา ปีที่ 4 เรื่อง เส้นสายลายศิลป์ เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนมี
ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ความหมาย และลักษณะของเส้นประเภทต่าง ๆ โดย
นาเอาหนังสืออ่านเพิ่มเติมมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเล่มที่ 1 เรื่อง เส้น
สายลายศิลป์ ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรูที่ 1 แผนที่ 1 - 2 โดย
                                                        ้
ให้นักเรียนได้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน การทาแบบฝึกทักษะ และการทาแบบทดสอบ
หลังเรียน เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปฏิบัติตนดังนี้

      1. นักเรียนอ่านคาชี้แจงให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอน

      2. นักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ

      3. นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ในหนังสืออ่านเพิมเติม
                                                           ่
      4. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน

      5. นักเรียนศึกษาเนื้อหาความรู้จากหนังสืออ่านเพิ่มเติม

      6. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ และตรวจคาตอบ

      7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน

      8. นักเรียนและครูช่วยกันตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียน แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึก เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียน
มำตรฐำนกำรเรียนรู้


มำตรฐำน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน


                                 ตัวชี้วัดชั้นปี



ป.4/3 จาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดย
เน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วาง
                                                     ่

ป. 4/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี



                                  สำระสำคัญ


       เส้นเป็นพื้นฐานสาคัญของงานศิลปะ เส้นเกิดจากการเรียงตัวของจุดเล็ก ๆ
ต่อเนื่องกัน และเคลื่อนที่ไปยังทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เส้นมีมิติเดียว คือความยาว เรา
จะพบเส้นโดยทั่วไปในธรรมชาติการนาเส้นมาประกอบเป็นภาพทาให้เกิดความรูสึกต่างๆ
                                                                  ้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้


1. อธิบายความหมายและลักษณะของเส้นในประเภทต่าง ๆ ได้ (K)
2. จาแนกเส้นในธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมและในงานทัศนศิลป์ได้ (P)
3. นาเส้นตรงและเส้นโค้งลักษณะต่าง ๆ ที่เห็นจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาสร้าง
ผลงานศิลปะ ตามความคิดและจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ (K,P)
4. พึงพอใจผลงานที่เกิดจากเส้นลักษณะต่าง ๆ ของตนเองและเพื่อน ๆ (A)
5. ใช้ และเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม ถูกต้อง และปลอดภัย (P)


                          ข้อควรปฏิบัติสำหรับนักเรียน




1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพือสารวจพื้นฐานความรู้ของนักเรียน
                               ่
3. ศึกษาเนื้อหาในหนังสืออ่านเพิมเติมเล่มนี้จนเข้าใจ
                                 ่
4. หากนักเรียนไม่เข้าใจให้สอบถามหรือปรึกษาครูผู้สอนทันที
5. ทาแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน
6. เมื่อศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติมจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วยความตั้งใจ
7. ไม่ควรดูเฉลยก่อนทีจะทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
                       ่
8. ไม่ทาเครื่องหมาย หรือขีดเขียนเครืองหมายใด ๆ ในหนังสืออ่านเพิมเติม
                                      ่                         ่
                                                     เพื่อน ๆ ควรมี
                                                     ความซื่อสัตย์ใน
                                                     ตนเองนะคะ
วันนีเป็นวันปิดภาคเรียนวันแรก ใบเตยรีบตื่นนอนแต่เช้า อาบน้าแปรงฟัน พับที่
           ้
นอนอย่างเรียบร้อย ใบเตยตื่นเต้นมากจะได้ไปรับต้น ผู้เป็นพี่ชายที่กาลังจะกลับจาก
ต่างจังหวัด เพราะโรงเรียนของต้นก็ปิดภาคเรียนเหมือนกัน
ระหว่างการเดินทางไปรับต้น พ่อขับรถมีใบเตยนั่งไปด้วย อากาศในชนบทในตอนเช้าสด
ชื่นมาก ใบเตยนั่งอยู่ในรถมองไปข้างทางเห็นท้องทุ่งนาเขียวขจี มีภูเขารายล้อมอยูรอบ
                                                                             ่
ๆ ชาวนากาลังต้อนฝูงวัวควายไปหากินกลางทุงนา
                                       ่
เมื่อมำถึงตัวจังหวัด พ่อพำใบเตยแวะที่ตลำดก่อน ที่ตลำดมีของขำยมำกมำย
พ่อซื้อน้ำเต้ำหู้กับปำท่องโก๋ให้ใบเตยกินรองท้องก่อนช่วงที่รอต้นมำถึง
พอถึงสถานีขนส่งผู้โดยสารต้นนั่งรออยู่ก่อนแล้ว ใบเตยวิ่งไปกอดต้น      ด้วย
ความดีใจ “สวัสดีครับพ่อ” ต้นสวัสดีพอด้วยใบหน้าที่เต็มไปด้วยรอยยิ้ม “สวัสดี....ลูก
                                   ่
มำถึงนำนหรือยัง” “เมือสักครู่เองครับพ่อ เป็นอย่ำงไรบ้ำง...ใบเตยคิดถึงพี่ไหมจ๊ะ”
                     ่
ต้นทักทายใบเตยพร้อมใช้มือลูบหัวของใบเตยด้วยความเอ็นดู
“คิดถึงซิคะ ปิดเรียนครำวนี้พี้พี่ต้นอยู่บ้ำนนำนไหมคะ” “ก็คงจะประมำณ
เกือบเดือนนั่นแหละจ้ะ” “ ไชโย ! ดีใจจังเลย..... พี่ต้นจะได้มเวลำสอนใบเตยวำดรูป
                                                            ี
อีก” ใบเตยร้องด้วยความดีใจ “ได้เลยจ้ะ” ต้นตอบน้องด้วยความรัก
“เด็กๆ พ่อว่ำพวกเรำรีบกลับบ้ำนกันเลยดีกว่ำ เดี๋ยวแม่จะรอนำน” เสียงพ่อร้อง
เตือนมา
เมื่อกลับถึงบ้านแม่ได้เตรียมอาหารที่เด็กๆชอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว พ่อ แม่ ต้น
และใบเตย รับประทานอาหารกันอย่างเอร็ดอร่อย หลังจากรับประทานอาหารเสร็จแล้ว
ต้นบอกน้องว่าจะไปรอที่สวนหลังบ้าน ใบเตยจึงช่วยแม่เก็บกวาดโต๊ะอาหาร ล้างจาน
อย่างเรียบร้อย แล้วรีบไปหาพี่อย่างรวดเร็ว

      ที่สวนหลังบ้าน ต้นกาลังวาดรูปอยูอย่างขะมักเขม้น “โอ้โฮ! พีต้นวำดรูปสวยจัง
                                      ่                         ่
เลย สอนใบเตยวำดรูปด้วยซิคะ” “ได้สิ..น้องรัก พี่กำลังวำดรูปทิวทัศน์ทะเลจ้ะ พี่
เคยลองลองวำดแล้วเอำไปฝำกไว้ที่ร้ำนแล้วขำยได้เจ้ำของร้ำนก็เลยติดต่อมำให้พี่
วำดให้อีกช่วงปิดเทอม” “ดีจังเลยค่ะพีต้น ใบเตยอยำกวำดรูปเก่งเหมือนพี่บ้ำง โต
                                    ่
ขึ้นเผื่อจะได้เป็นศิลปินกับเขำบ้ำง”
      “อยำกเก่งเหมือนพี่ต้องฝึกวำดบ่อยๆ นะ ไม่มีอะไรทีเป็นไปไม่ได้ ถ้ำเรำมี
                                                      ่
ควำมพยำยำมฝึกฝน แต่ก่อนอื่นเรำจะต้องเรียนรู้พื้นฐำนในกำรวำดรูปกันเสียก่อน
ว่ำแต่....ใบเตยพร้อมหรือยังจ๊ะ” “พร้อมแล้วค่ะ” ใบเตยตอบ
ต้นจึงเริ่มต้นอธิบายให้ใบเตยฟังว่า “กำรทีเ่ รำจะวำดภำพให้สวยงำมได้นั้น เรำ
ก็จะต้องรู้จักส่วนประกอบของภำพ หรือในทำงศิลปะเรำเรียกกันว่ำ ทัศนธำตุ อย่ำง
แรกเรำต้องเริ่มที่จด จุด คือ ทัศนธำตุที่เล็กที่สุด มีมติเป็นศูนย์ มีควำมกว้ำง ยำว
                   ุ                                  ิ
และหนำน้อยมำก เรำมำลองใช้ปลำยพู่กัน หรือสีเมจิกสร้ำงจุด ให้ใหญ่ได้ เช่น จุด
ของดวงดำวบนท้องฟ้ำ จุดที่เป็นลำยบนตัวสัตว์ แมลง ใบเตยลองบอกพี่ซิว่ำ.... มี
สัตว์ชนิดใดบ้ำงที่มีลำยจุด”
“เสือดำว ผีเสื้อ ปลำปักเป้ำ แมลงเต่ำทอง ค่ะ” ใบเตยตอบด้วยความมั่นใจ      “ใช่
แล้วจ้ะ และเมือเรำนำจุดมำต่อกัน จุดเล็กๆเหล่ำนั้นจะกลำยเป็นเส้น และเส้นนี่
              ่
แหละคือจุดกำเนิดของศิลปะ ภำพต่ำงๆนั้นจะเป็นรูปร่ำงได้ก็ตอเมือเรำนำเส้นต่ำงๆ
                                                        ่ ่
มำประกอบกันนั่นเอง ” “แสดงว่ำ เส้นก็คือ เริ่มจำกจุดหนึ่งแล้วลำกไปตำมทิศทำง
ที่ต้องกำรใช่ไหมคะ” “เก่งมำกน้องพี” ต้นชม “ควำมหมำยอีกอย่ำงหนึ่งของเส้น
                                  ่
ให้รวมถึง ขนำด ควำมยำว ทิศทำง รวมทั้งช่วยแสดงออกถึงอำรมณ์และ
ควำมรู้สึกของผู้วำดด้วยนะ”
“แล้ว เส้น แบ่งออกได้กี่ลักษณะคะ ” ใบเตยถาม ต้นตอบใบเตยว่า        “
เส้นเป็นส่วน ทีสำคัญที่สุดในกำรวำดภำพ เส้นที่เรำใช้ในกำรวำดภำพ แสดง
               ่
ควำมหมำย ของภำพ แทนอำรมณ์ควำมรูสึกได้ดังนี้ ”
                               ้



1.



     เส้นตรง แนวตั้ง ให้ควำมรู้สึกแข็งแรง   มันคง
                                              ่      สง่ำ ทะเยอ ทะยำน
     น่ำศรัทธำ ไม่ประนีประนอม
2.




     เส้นตรงแนวนอน ให้ควำมรู้สึก กว้ำงขวำง สงบ พักผ่อน เงียบและผ่อน
     คลำย



3.



     เส้นตรงแนวเฉียงหรือทแยง ให้ควำมรู้สึกเคลื่อนไหว ไม่มั่นคง        ไม่
     สมบูรณ์ และน่ำตื่นเต้น
4.




     เส้นโค้ง ให้ควำมรู้สึกในกำรเคลื่อนไหวอย่ำงช้ำ ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด นุ่มนวลอ่อน
     ช้อย เฉือยชำ และไร้จุดหมำย
             ่



5.




     เส้นหยัก หรือฟันปลำ เป็นเส้นทีเปลี่ยนทิศทำงและหักเหอย่ำงกะทันหัน ให้
                                   ่
     ควำมรู้สึกเคลือนไหว รุนแรง ไม่แน่นอน และขัดแย้ง น่ำกลัว
                   ่



6.




     เส้นประ ให้ควำมรูสึกคลุมเครือ ไม่ชัดเจน
                      ้
7.




     เส้นขด ให้ควำมรูสึกเคลื่อนที่ หมุนเวียนอย่ำงไม่มีจุดหมำย ขยำยตัวอย่ำง
                     ้
     ไม่มีจุดจบ




8.




     เส้นคลื่น หรือลูกคลื่น ให้ควำมรู้สึกเคลื่อนไหว สบำย และนุ่มนวล




9.



     เส้นไร้ทิศทำง ให้ควำมรู้สึกสับสน วุ่นวำย และยุ่งเหยิง
“ ไหน....ใบเตยลองยกตัวอย่ำงบอกพี่ซิว่ำ มีอะไรบ้ำงที่มส่วนประกอบของ
                                                           ี
เส้นตรง” “หน้ำต่ำง ประตู โทรทัศน์ ตูเย็น ชั้นวำงของ ตู้ใส่เสือผ้ำ .....โอ้ย!
                                    ้                        ้
เยอะแยะไปหมดเลยค่ะ” “ แล้วส่วนประกอบของเส้นโค้งล่ะจ๊ะ” ต้นถามต่อ “
รถยนต์ ลูกโป่ง ภูเขำ ดอกไม้ แล้วก็รุ้งกินน้ำค่ะ” ใบเตยตอบอย่างมั่นใจ
“ใช่แล้วจ้ะ แสดงว่ำใบเตยเข้ำใจ ถูกแล้ว ทีนี้พี่ลองถำมกลับกันนะ
สมมุติว่ำ พี่วำดภำพ โลกใต้ท้องทะเล ใบเตยลองบอกพี่ซิว่ำ ภำพนี้มีส่วนประกอบ
ของเส้นชนิดไหนบ้ำง ” ต้นถามใบเตย “ ก็มีส่วนของเส้นหลำย ๆ เส้นมำประกอบ
กัน เช่น เส้นโค้งของตัวปลำและจำกคลื่นของทะเล เส้นหยักจำกฟันของปลำ
ฉลำม เส้นขดจำกปะกำรัง ใบเตยตอบถูกใช่ไหมคะ”
“ ใช่แล้ว ก่อนที่จะเรำจะวำดภำพอะไร เรำควรรู้จักส่วนประกอบของภำพ นั้น
ๆ ก่อน โดยเริ่มต้นที่จด และ เส้นก่อน ไว้วันหลังพี่จะบอกส่วนประกอบของภำพ
                      ุ
ว่ำ ส่วนต่อไปคืออะไร เพรำะว่ำวันนี้ ท้องพี่ร้องจ๊อก ๆ แล้ว.....เรำไปกินข้ำว
เที่ยงกันดีกว่ำ พี่ว่ำป่ำนนี้แม่คงทำอะไร ๆ ที่พวกเรำชอบรอแล้ว ” สองพี่นอง
                                                                       ้
ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดภาพ แล้วพากันไปช่วยแม่เตรียมอาหารกห้องครัว
บรรณำนุกรม

กมล เวียสุวรรณ และคณะ. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน ทัศนศิลป์
      ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำง
       กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท พัฒนา
       วิชาการ (2535) จากัด, ม.ป.ป.
จินตนา ใบกาซูยี. เทคนิคกำรเขียนหนังสือสำหรับเด็ก. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
        2545.
ฉัตร์ชัย อรรถปักษ์. องค์ประกอบศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สมุทรสาคร :
        บริษัทพิมพ์ดีจากัด, 2554
ถวัลย์ มาศจรัส. กำรเขียนหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำนและหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม.
         กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มิติใหม่, 2538.
ถวัลย์ มาศจรัส และจงกล กิจสุภา. คู่มือกำรจัดกำรเรียนรู้ศิลปะโดยใช้แบบฝึก
        ชุดวำดภำพระบำยสี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธารอักษร จากัด, 2548.
ธวัชชานนท์ ตาไธสง. หลักกำรศิลปะ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วาดเขียน, 2546
พิษณุ ประเสริฐผล. วำดภำพระบำยสี. กรุงเทพฯ : เฟิสท์ ออฟเซ็ท, 2553.
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สานัก. ตัวชี้วดและสำระเรียนรู้แกนกลำง กลุ่ม
                                        ั
         สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
         พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
          แห่งประเทศไทย จากัด, 2553.
สุรยุทธ พันธ์เผือก. ฝึกระบำยสีด้วยสีน้ำ. สมุทรสาคร : บริษัทแอ๊ปป้า พริ้นติ้ง
         กรุ๊ปจากัด, 2552.
องอาจ มากสิน. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4
         กลุมสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
            ่
         พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, 2553.
อนันต์ ประภาโส. วำดเส้นพื้นฐำน. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2553
อรวรรณ ขมวัฒนา และคณะ. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนศิลปะ
         ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4
         กลุมสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
            ่
         พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพ
        วิชาการ, 2554.
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลายศิลป์

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนKanlayaratKotaboot
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารniralai
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา Wee Angela
 
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2Kansinee Kosirojhiran
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนcharinruarn
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf newแบบฝึกทักษะ 4.pdf new
แบบฝึกทักษะ 4.pdf new
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
บทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหารบทพิจารณาอาหาร
บทพิจารณาอาหาร
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
 
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
โจทย์ปัญหาซ้อน ป. 4
 
โจทย์ปัญหาระคนป.1 2
โจทย์ปัญหาระคนป.1 2โจทย์ปัญหาระคนป.1 2
โจทย์ปัญหาระคนป.1 2
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ การหาร ป.2
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 

Similar to หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลายศิลป์

เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านmaipoom
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
90483613 preposition 2
90483613 preposition 290483613 preposition 2
90483613 preposition 2kunkrukularb
 
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานเล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานSikarinDatcharern
 

Similar to หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลายศิลป์ (20)

เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่านเล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
เล่มหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 3 ภาค1 ปี55
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Articles
ArticlesArticles
Articles
 
90483613 preposition 2
90483613 preposition 290483613 preposition 2
90483613 preposition 2
 
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานเล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
 

หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลายศิลป์

  • 1. s
  • 2. คำนำ หนังสืออ่านเพิมเติม เรื่อง เส้นสายลายศิลป์ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ ่ เป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลปะ สาระทัศนศิลป์ ศ 14101 ชั้น ิ ประถมศึกษาปีที่ 4 ประกอบแผนการสอนซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเอง ทั้ง ในเวลาเรียน และนอกเวลาเรียน ช่วยให้นักเรียนมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการวาดภาพ ้ ระบายสีในเบื้องต้น ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ต่อไป เนื้อหาสาระการเรียนรู้ในหนังสือเล่มนี้ ผู้จัดทาได้เรียบเรียงเนื้อหาตามหลักสูตร แกนกลาง พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของกลุ่ม สาระการเรียนรูศิลปะ โดยแต่งเป็นความเรียงมีภาพประกอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ้ - หลังเรียน มีแบบฝึกทักษะเพือให้ผู้เรียนได้พฒนาและเรียนรูอย่างมีความสุข หนังสือ ่ ั ้ อ่านเพิมเติมมีจานวนทังหมด 5 เล่ม สาหรับ เล่มที่ 1 เรื่อง เส้นสายลายศิลป์ ่ ้ ประกอบด้วยความรูเ้ รื่อง เส้น ลักษณะของเส้นประเภทต่าง ๆ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการ เรียนรูทัศนศิลป์ในระดับสูงขึ้นไป ้ ขอขอบคุณ นายอานาจ สว่างภพ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านตะเคียนช่างเหล็ก คณะครู นักเรียน และผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือจนทา ให้งานสาเร็จลุล่วงโดยดี อานนท์ นามแสง
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้า คานา.................................................................................................................. ก สารบัญ.............................................................................................................. ข คาชี้แจงในการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม.................................................... ค มาตรฐานการเรียนรู้............................................................................... ง ตัวชี้วัดชั้นปี............................................................................................ ง สาระสาคัญ............................................................................................ ง จุดประสงค์การเรียนรู้............................................................................ ง ข้อควรปฏิบัติสาหรับนักเรียน................................................................. จ เนื้อเรืองของหนังสืออ่านเพิ่มเติม........................................................... ่ 1 บรรณานุกรม 16
  • 4. คำชี้แจงในกำรใช้หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม หนังสืออ่านเพิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรูศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ่ ้ ชั้น ประถมศึกษา ปีที่ 4 เรื่อง เส้นสายลายศิลป์ เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนมี ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ความหมาย และลักษณะของเส้นประเภทต่าง ๆ โดย นาเอาหนังสืออ่านเพิ่มเติมมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งเล่มที่ 1 เรื่อง เส้น สายลายศิลป์ ใช้คู่กับแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรูที่ 1 แผนที่ 1 - 2 โดย ้ ให้นักเรียนได้ทาแบบทดสอบก่อนเรียน การทาแบบฝึกทักษะ และการทาแบบทดสอบ หลังเรียน เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปฏิบัติตนดังนี้ 1. นักเรียนอ่านคาชี้แจงให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอน 2. นักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ 3. นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ในหนังสืออ่านเพิมเติม ่ 4. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 5. นักเรียนศึกษาเนื้อหาความรู้จากหนังสืออ่านเพิ่มเติม 6. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ และตรวจคาตอบ 7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 8. นักเรียนและครูช่วยกันตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน แล้วบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึก เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียน
  • 5. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัดชั้นปี ป.4/3 จาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดย เน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่วาง ่ ป. 4/5 มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี สำระสำคัญ เส้นเป็นพื้นฐานสาคัญของงานศิลปะ เส้นเกิดจากการเรียงตัวของจุดเล็ก ๆ ต่อเนื่องกัน และเคลื่อนที่ไปยังทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เส้นมีมิติเดียว คือความยาว เรา จะพบเส้นโดยทั่วไปในธรรมชาติการนาเส้นมาประกอบเป็นภาพทาให้เกิดความรูสึกต่างๆ ้
  • 6. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและลักษณะของเส้นในประเภทต่าง ๆ ได้ (K) 2. จาแนกเส้นในธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมและในงานทัศนศิลป์ได้ (P) 3. นาเส้นตรงและเส้นโค้งลักษณะต่าง ๆ ที่เห็นจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาสร้าง ผลงานศิลปะ ตามความคิดและจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ (K,P) 4. พึงพอใจผลงานที่เกิดจากเส้นลักษณะต่าง ๆ ของตนเองและเพื่อน ๆ (A) 5. ใช้ และเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ได้เหมาะสม ถูกต้อง และปลอดภัย (P) ข้อควรปฏิบัติสำหรับนักเรียน 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพือสารวจพื้นฐานความรู้ของนักเรียน ่ 3. ศึกษาเนื้อหาในหนังสืออ่านเพิมเติมเล่มนี้จนเข้าใจ ่ 4. หากนักเรียนไม่เข้าใจให้สอบถามหรือปรึกษาครูผู้สอนทันที 5. ทาแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน 6. เมื่อศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติมจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วยความตั้งใจ 7. ไม่ควรดูเฉลยก่อนทีจะทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ่ 8. ไม่ทาเครื่องหมาย หรือขีดเขียนเครืองหมายใด ๆ ในหนังสืออ่านเพิมเติม ่ ่ เพื่อน ๆ ควรมี ความซื่อสัตย์ใน ตนเองนะคะ
  • 7. วันนีเป็นวันปิดภาคเรียนวันแรก ใบเตยรีบตื่นนอนแต่เช้า อาบน้าแปรงฟัน พับที่ ้ นอนอย่างเรียบร้อย ใบเตยตื่นเต้นมากจะได้ไปรับต้น ผู้เป็นพี่ชายที่กาลังจะกลับจาก ต่างจังหวัด เพราะโรงเรียนของต้นก็ปิดภาคเรียนเหมือนกัน
  • 8. ระหว่างการเดินทางไปรับต้น พ่อขับรถมีใบเตยนั่งไปด้วย อากาศในชนบทในตอนเช้าสด ชื่นมาก ใบเตยนั่งอยู่ในรถมองไปข้างทางเห็นท้องทุ่งนาเขียวขจี มีภูเขารายล้อมอยูรอบ ่ ๆ ชาวนากาลังต้อนฝูงวัวควายไปหากินกลางทุงนา ่
  • 10. พอถึงสถานีขนส่งผู้โดยสารต้นนั่งรออยู่ก่อนแล้ว ใบเตยวิ่งไปกอดต้น ด้วย ความดีใจ “สวัสดีครับพ่อ” ต้นสวัสดีพอด้วยใบหน้าที่เต็มไปด้วยรอยยิ้ม “สวัสดี....ลูก ่ มำถึงนำนหรือยัง” “เมือสักครู่เองครับพ่อ เป็นอย่ำงไรบ้ำง...ใบเตยคิดถึงพี่ไหมจ๊ะ” ่ ต้นทักทายใบเตยพร้อมใช้มือลูบหัวของใบเตยด้วยความเอ็นดู
  • 11. “คิดถึงซิคะ ปิดเรียนครำวนี้พี้พี่ต้นอยู่บ้ำนนำนไหมคะ” “ก็คงจะประมำณ เกือบเดือนนั่นแหละจ้ะ” “ ไชโย ! ดีใจจังเลย..... พี่ต้นจะได้มเวลำสอนใบเตยวำดรูป ี อีก” ใบเตยร้องด้วยความดีใจ “ได้เลยจ้ะ” ต้นตอบน้องด้วยความรัก “เด็กๆ พ่อว่ำพวกเรำรีบกลับบ้ำนกันเลยดีกว่ำ เดี๋ยวแม่จะรอนำน” เสียงพ่อร้อง เตือนมา
  • 12.
  • 13. เมื่อกลับถึงบ้านแม่ได้เตรียมอาหารที่เด็กๆชอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว พ่อ แม่ ต้น และใบเตย รับประทานอาหารกันอย่างเอร็ดอร่อย หลังจากรับประทานอาหารเสร็จแล้ว ต้นบอกน้องว่าจะไปรอที่สวนหลังบ้าน ใบเตยจึงช่วยแม่เก็บกวาดโต๊ะอาหาร ล้างจาน อย่างเรียบร้อย แล้วรีบไปหาพี่อย่างรวดเร็ว ที่สวนหลังบ้าน ต้นกาลังวาดรูปอยูอย่างขะมักเขม้น “โอ้โฮ! พีต้นวำดรูปสวยจัง ่ ่ เลย สอนใบเตยวำดรูปด้วยซิคะ” “ได้สิ..น้องรัก พี่กำลังวำดรูปทิวทัศน์ทะเลจ้ะ พี่ เคยลองลองวำดแล้วเอำไปฝำกไว้ที่ร้ำนแล้วขำยได้เจ้ำของร้ำนก็เลยติดต่อมำให้พี่ วำดให้อีกช่วงปิดเทอม” “ดีจังเลยค่ะพีต้น ใบเตยอยำกวำดรูปเก่งเหมือนพี่บ้ำง โต ่ ขึ้นเผื่อจะได้เป็นศิลปินกับเขำบ้ำง” “อยำกเก่งเหมือนพี่ต้องฝึกวำดบ่อยๆ นะ ไม่มีอะไรทีเป็นไปไม่ได้ ถ้ำเรำมี ่ ควำมพยำยำมฝึกฝน แต่ก่อนอื่นเรำจะต้องเรียนรู้พื้นฐำนในกำรวำดรูปกันเสียก่อน ว่ำแต่....ใบเตยพร้อมหรือยังจ๊ะ” “พร้อมแล้วค่ะ” ใบเตยตอบ
  • 14. ต้นจึงเริ่มต้นอธิบายให้ใบเตยฟังว่า “กำรทีเ่ รำจะวำดภำพให้สวยงำมได้นั้น เรำ ก็จะต้องรู้จักส่วนประกอบของภำพ หรือในทำงศิลปะเรำเรียกกันว่ำ ทัศนธำตุ อย่ำง แรกเรำต้องเริ่มที่จด จุด คือ ทัศนธำตุที่เล็กที่สุด มีมติเป็นศูนย์ มีควำมกว้ำง ยำว ุ ิ และหนำน้อยมำก เรำมำลองใช้ปลำยพู่กัน หรือสีเมจิกสร้ำงจุด ให้ใหญ่ได้ เช่น จุด ของดวงดำวบนท้องฟ้ำ จุดที่เป็นลำยบนตัวสัตว์ แมลง ใบเตยลองบอกพี่ซิว่ำ.... มี สัตว์ชนิดใดบ้ำงที่มีลำยจุด”
  • 15. “เสือดำว ผีเสื้อ ปลำปักเป้ำ แมลงเต่ำทอง ค่ะ” ใบเตยตอบด้วยความมั่นใจ “ใช่ แล้วจ้ะ และเมือเรำนำจุดมำต่อกัน จุดเล็กๆเหล่ำนั้นจะกลำยเป็นเส้น และเส้นนี่ ่ แหละคือจุดกำเนิดของศิลปะ ภำพต่ำงๆนั้นจะเป็นรูปร่ำงได้ก็ตอเมือเรำนำเส้นต่ำงๆ ่ ่ มำประกอบกันนั่นเอง ” “แสดงว่ำ เส้นก็คือ เริ่มจำกจุดหนึ่งแล้วลำกไปตำมทิศทำง ที่ต้องกำรใช่ไหมคะ” “เก่งมำกน้องพี” ต้นชม “ควำมหมำยอีกอย่ำงหนึ่งของเส้น ่ ให้รวมถึง ขนำด ควำมยำว ทิศทำง รวมทั้งช่วยแสดงออกถึงอำรมณ์และ ควำมรู้สึกของผู้วำดด้วยนะ”
  • 16. “แล้ว เส้น แบ่งออกได้กี่ลักษณะคะ ” ใบเตยถาม ต้นตอบใบเตยว่า “ เส้นเป็นส่วน ทีสำคัญที่สุดในกำรวำดภำพ เส้นที่เรำใช้ในกำรวำดภำพ แสดง ่ ควำมหมำย ของภำพ แทนอำรมณ์ควำมรูสึกได้ดังนี้ ” ้ 1. เส้นตรง แนวตั้ง ให้ควำมรู้สึกแข็งแรง มันคง ่ สง่ำ ทะเยอ ทะยำน น่ำศรัทธำ ไม่ประนีประนอม 2. เส้นตรงแนวนอน ให้ควำมรู้สึก กว้ำงขวำง สงบ พักผ่อน เงียบและผ่อน คลำย 3. เส้นตรงแนวเฉียงหรือทแยง ให้ควำมรู้สึกเคลื่อนไหว ไม่มั่นคง ไม่ สมบูรณ์ และน่ำตื่นเต้น
  • 17. 4. เส้นโค้ง ให้ควำมรู้สึกในกำรเคลื่อนไหวอย่ำงช้ำ ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด นุ่มนวลอ่อน ช้อย เฉือยชำ และไร้จุดหมำย ่ 5. เส้นหยัก หรือฟันปลำ เป็นเส้นทีเปลี่ยนทิศทำงและหักเหอย่ำงกะทันหัน ให้ ่ ควำมรู้สึกเคลือนไหว รุนแรง ไม่แน่นอน และขัดแย้ง น่ำกลัว ่ 6. เส้นประ ให้ควำมรูสึกคลุมเครือ ไม่ชัดเจน ้
  • 18. 7. เส้นขด ให้ควำมรูสึกเคลื่อนที่ หมุนเวียนอย่ำงไม่มีจุดหมำย ขยำยตัวอย่ำง ้ ไม่มีจุดจบ 8. เส้นคลื่น หรือลูกคลื่น ให้ควำมรู้สึกเคลื่อนไหว สบำย และนุ่มนวล 9. เส้นไร้ทิศทำง ให้ควำมรู้สึกสับสน วุ่นวำย และยุ่งเหยิง
  • 19. “ ไหน....ใบเตยลองยกตัวอย่ำงบอกพี่ซิว่ำ มีอะไรบ้ำงที่มส่วนประกอบของ ี เส้นตรง” “หน้ำต่ำง ประตู โทรทัศน์ ตูเย็น ชั้นวำงของ ตู้ใส่เสือผ้ำ .....โอ้ย! ้ ้ เยอะแยะไปหมดเลยค่ะ” “ แล้วส่วนประกอบของเส้นโค้งล่ะจ๊ะ” ต้นถามต่อ “ รถยนต์ ลูกโป่ง ภูเขำ ดอกไม้ แล้วก็รุ้งกินน้ำค่ะ” ใบเตยตอบอย่างมั่นใจ
  • 20. “ใช่แล้วจ้ะ แสดงว่ำใบเตยเข้ำใจ ถูกแล้ว ทีนี้พี่ลองถำมกลับกันนะ สมมุติว่ำ พี่วำดภำพ โลกใต้ท้องทะเล ใบเตยลองบอกพี่ซิว่ำ ภำพนี้มีส่วนประกอบ ของเส้นชนิดไหนบ้ำง ” ต้นถามใบเตย “ ก็มีส่วนของเส้นหลำย ๆ เส้นมำประกอบ กัน เช่น เส้นโค้งของตัวปลำและจำกคลื่นของทะเล เส้นหยักจำกฟันของปลำ ฉลำม เส้นขดจำกปะกำรัง ใบเตยตอบถูกใช่ไหมคะ”
  • 21. “ ใช่แล้ว ก่อนที่จะเรำจะวำดภำพอะไร เรำควรรู้จักส่วนประกอบของภำพ นั้น ๆ ก่อน โดยเริ่มต้นที่จด และ เส้นก่อน ไว้วันหลังพี่จะบอกส่วนประกอบของภำพ ุ ว่ำ ส่วนต่อไปคืออะไร เพรำะว่ำวันนี้ ท้องพี่ร้องจ๊อก ๆ แล้ว.....เรำไปกินข้ำว เที่ยงกันดีกว่ำ พี่ว่ำป่ำนนี้แม่คงทำอะไร ๆ ที่พวกเรำชอบรอแล้ว ” สองพี่นอง ้ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาดภาพ แล้วพากันไปช่วยแม่เตรียมอาหารกห้องครัว
  • 22. บรรณำนุกรม กมล เวียสุวรรณ และคณะ. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำน ทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำง กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท พัฒนา วิชาการ (2535) จากัด, ม.ป.ป. จินตนา ใบกาซูยี. เทคนิคกำรเขียนหนังสือสำหรับเด็ก. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2545. ฉัตร์ชัย อรรถปักษ์. องค์ประกอบศิลปะ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สมุทรสาคร : บริษัทพิมพ์ดีจากัด, 2554 ถวัลย์ มาศจรัส. กำรเขียนหนังสือส่งเสริมกำรอ่ำนและหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มิติใหม่, 2538. ถวัลย์ มาศจรัส และจงกล กิจสุภา. คู่มือกำรจัดกำรเรียนรู้ศิลปะโดยใช้แบบฝึก ชุดวำดภำพระบำยสี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธารอักษร จากัด, 2548. ธวัชชานนท์ ตาไธสง. หลักกำรศิลปะ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วาดเขียน, 2546 พิษณุ ประเสริฐผล. วำดภำพระบำยสี. กรุงเทพฯ : เฟิสท์ ออฟเซ็ท, 2553. วิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สานัก. ตัวชี้วดและสำระเรียนรู้แกนกลำง กลุ่ม ั สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด, 2553. สุรยุทธ พันธ์เผือก. ฝึกระบำยสีด้วยสีน้ำ. สมุทรสาคร : บริษัทแอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ปจากัด, 2552.
  • 23. องอาจ มากสิน. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 กลุมสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ่ พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์, 2553. อนันต์ ประภาโส. วำดเส้นพื้นฐำน. กรุงเทพฯ : สิปประภา, 2553 อรวรรณ ขมวัฒนา และคณะ. หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนศิลปะ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 4 กลุมสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ่ พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพ วิชาการ, 2554.