SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
 
ประวัติความเป็นมา “ สามชุก เป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ในอดีตสามชุกคือแหล่งที่ผู้คนหลากหลายเชื้อชาติทั้งไทย จีน มอญ ฯลฯ มีสัมพันธ์ต่อกันในลักษณะของการแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้า จนพัฒนาไปสู่ การลงหลักปักฐาน สร้างเมืองที่มั่นคงขึ้นมา ประวัติของเมืองสามชุก กล่าวไว้ว่า ตั้งขึ้นเมื่อ พ . ศ . 2437  ในสมัยรัชกาลที่  5  เดิมชื่ออำเภอ  “ นางบวช ”  โดยมีขุนพรมสภา  ( บุญรอด )  เป็นนายอำเภอคนแรก ต่อมาในปี  2457  ต้นรัชกาลที่  6  ได้ย้ายอำเภอมาตั้งที่บ้าน  “ สำเพ็ง ”  ซึ่งเป็นย่านการค้าที่สำคัญในสมัยนั้น จนกระทั่งปี  2481  สมัยรัชกาลที่  8  ได้เปลี่ยนชื่อจาก  “ อำเภอนางบวช ”  มาเป็น  “ อำเภอสามชุก ”  และย้ายมาตั้ง อยู่ริมลำน้ำสุพรรณบุรี  ( ท่าจีน )  ซึ่งแยกมาจากแม่น้ำเจ้าพระยา โดยผ่านคลอง มะขามเฒ่า
ประวัติความเป็นมา ตลาดสามชุก เป็นตลาดสำคัญในการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าที่สำคัญในอดีต ตั้งแต่เมื่อ  100  กว่าปี แต่เมื่อถนนเข้ามาแทนที่การเดินทางทางน้ำ ทำให้คนหันหลังให้กับแม่น้ำท่าจีน ความสำคัญของตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าริมน้ำเริ่มลดลง การค้าขายในตลาดสามชุกเริ่มซบเซา จึงทำให้ชาวบ้านพ่อค้าที่อยู่ในตลาดสามชุก เห็นคุณค่าตลาดเก่า รวมตัวเป็นคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ์ระดมความคิด หาทางอนุรักษ์ตลาดและที่อยู่ของตนไว้ และหาทางฟื้นคืนชีวิตชีวาขึ้นมาอีกครั้ง จึงเป็นที่มาของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทำให้ตลาดสามชุกกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง และได้รับการขนานนามว่าตลาด  100  ปี พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต
กว่าจะเป็นสามชุกตลาด ๑๐๐ ปี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กว่าจะเป็นสามชุกตลาด ๑๐๐ ปี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กว่าจะเป็นสามชุกตลาด ๑๐๐ ปี ,[object Object],[object Object],[object Object]
กว่าจะเป็นสามชุกตลาด ๑๐๐ ปี ปัญหาอุปสรรค        ความไม่เข้าใจกัน ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือ ความคิดเห็นไม่ตรงกับระบบราชการ ปัญหาการเมืองบ้าง ส่วนราชการไม่ได้เข้ามาสนับสนุนบ้าง แต่ทุกปัญหาก็ผ่านไปได้ ผลที่ได้รับ       ทุกคนในชุมชนมีความสุข ลูกหลานกลับมาช่วยค้าขาย เศรษฐกิจดีถ้วนหน้า เกิดความภาคภูมิใจกับการได้เป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต วัฒนธรรมริมแม่น้ำ ผลเสียที่ตามมา       วิถีชีวิตของคนในชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลงมีเวลาให้กันน้อยลง มองหาผลประโยชน์ บางคนไม่สนใจปฏิบัติตามกติกาชุมชน เห็นแก่ตัว ไม่สามารถทำกฎหมายมาใช้ได้ รถติดที่จอดรถไม่พอในวันเทศกาลต่าง ๆ ด้วยมีพื้นที่จำกัด
แผนพัฒนาสามชุก ๑ .    แผนงานฟื้นฟูและพัฒนากิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน     ๒ .    แผนงานประชาสัมพันธ์   ๓ .     แผนงานจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน    ๔ .     แผนงานเชื่อมโยงเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่น ภายในท้องถิ่น  และชุมชนใกล้เคียง    ๕ .     แผนงานฟื้นฟูและเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างชุมชนกับภาครัฐ  และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๖ .     แผนงานบริหารจัดการการท่องเที่ยว  ( ด้านการให้บริการและเป็นเจ้า  บ้านที่ดี )  
สามชุก ลมหายใจแห่งอดีต ตลาดสามชุกเจริญเติบโตมาโดยตลอด เป็นเสมือนอวัยวะสำคัญของชุมชนชาวอำเภอสามชุก มีความเป็นอยู่ในลักษณะผสมผสานระหว่าง ชาวไทยและชาวจีน ตัวตลาดมีลักษณะเป็นอาคาร แบบห้องแถวไม้เป็นส่วนใหญ่ มีทางเดินเป็นซอยอยู่ ระหว่างแถวอาคาร มีทั้งหมด  4  ซอย หัวซอยด้านริมแม่น้ำสุพรรณจะมีห้องแถวปลูกหันหลัง ให้แม่น้ำ มีซอยคั่นและมีช่องว่างเว้นเป็นทางลงไปยังแพท่าเทียบเรือเป็นระยะๆ
การเดินทาง การเดินทางด้วยรถยนต์ การเดินทางด้วยรถยนต์ สู่ตลาดสามชุก จากกรุงเทพฯ ผ่าน อ . บางบัวทอง จ . นนทบุรี ไปจนถึงตัว อ . เมือง จ . สุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ  107  กม .  จากนั้นไปตามหลวงหมายเลข  340  ผ่าน อ . ศรีประจันต์ การเดินทางด้วยรถตู้จากกรุงเทพ ท่ารถตู้จะอยู่ตรงแยกคอกวัวฝั่งตรงข้ามกับกองสลาก ซอยที่  2 การเดินทางด้วยโดยสารประจำทาง ( รถทัวร์ ) จากกรุงเทพ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ท่านสามารถขึ้นได้ทั้งที่ สถานีปรับอากาศสายใต้ และ หมอชิต โดยที่ท่านจะต้องขึ้นรถที่เขียนว่า กรุงเทพฯ - ท่าช้าง ทั้ง 2 สถานี
แผนที่ตลาดสามชุก
ร้านค้าแนะนำ
ขุนจำนงจีนารักษ์ ท่านเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ประกอบกับท่านเป็น คนดีมีเมตตา ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก จึงได้เป็นผู้นำชุมชน คุณงามความดีของท่าน ทำให้ท่านได้รับบรรดาศักดิ์ เป็น ขุนจำนงจีนารักษ์ ตำแหน่งกรรมการพิเศษจังหวัดสุพรรณบุรี บ้านของท่านในส่วนของ คุณเคียวยี้ ซึ่งเป็นบุตรสาวของนาย โต้วซ้ง จีนารักษ์ อนุญาตให้คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ โดยใช้ชื่อ พิพิธภัณฑ์บ้านขุนจำนง จีนารักษ์ ซึ่งเป็นสถานที่เก็บของโบราณ สำหรับผู้ที่สนใจเข้า ชมเพื่อศึกษาหาความรู้มาจนถึงปัจจุบันนี้
ศาลเจ้าพ่อเมืองสามชุก ศาลแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณท่าเรือทางขึ้นตลาดซอย  2  หน้าศาลเจ้า มีโคมไฟ ประจำศาลเจ้า เรียกว่า  “ ที้ ตี่ เต็ง ”  ใช้นำทางในขบวน ที่มีพิธีการแห่ ในศาลเจ้ายังมีเครื่องเสี่ยงทายและทำนายหลายอย่าง ได้แก่ ป่วยและกระบอกเสี่ยงเซียมซี ป่วย เป็นไม้ประกบคู่ ถ้าเป็นเรื่องดีป่วยจะแสดงคู่ตรงกันข้าม คือ คว่ำอัน หงายอัน กระบอกเสี่ยงเซียมซีเป็นเครื่องทำนายดวงชะตาตามความเชื่อของคนจีน
ร้านถ่ายภาพศิลป์ธรรมชาติ เลขที่  393  หมู่  2  ซอย  3  ร้าน ถ่ายรูป ชื่อ  “ ร้านศิลป์ธรรมชาติ ”  เป็นร้านถ่ายรูป เก่าแก่แห่งที่  2  ของตลาดสามชุก เปิดบริการมาเป็นเวลา กว่า  54  ปี แล้ว ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2493  ตั้งแต่สมัยคุณพ่อ เจ้าของร้านคือคุณสุรีย์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ อายุ  54  ปี
ในสมัยก่อน แต่ละวันจะมีเรือสินค้ามาจอดเทียบท่าตลาด สามชุกจำนวนมาก การค้าคึกคักอย่างเช่น เรือสินค้าของ บริษัทสุพรรณขนส่ง จำกัด แต่สมัยนั้นยังไม่มีที่พัก จึงมีการ ดัดแปลงบ้าน ห้องแถวเปิดเป็นโรงแรม มี  “ โรงแรมสำราญรมย์ ”  ของลุงสำราญ กลิ่นหอมหวล เป็น โรงแรมแห่งแรกของตลาดสามชุก ต่อมาก็มี  “ โรงแรมอุดมโชค ”  เป็นแห่งที่สอง
กาแฟสดอุดมโชค ตำแหน่งที่ตั้ง  :  โรงแรมอุดมโชค ซอย  2            รายกาแฟสด  :  มีเครื่องดื่มหลายประเภท เช่น  Expresso, Latte, Mocha,   Americano,  ชาชัก ,  ชานม ,  โกโก้ ,  น้ำพันช์ ,  ชาดำเย็น ,  ชามะนาว และ ผิ้งซ่า ซึ่งทางร้านได้คิดสูตรขึ้นมาเอง คือ น้ำผึ่งป่าเดือน  5  ผสมน้ำมะนาวใส่โซดา และเมนูแนะนำตัวใหม่คือ  Shock! Choke!   ซึ่งเป็นกาแฟสด  " หวานน้อย - เข้มมาก "  และ  " America Honey -  กาแฟดำนใส่น้ำผึ้ง "
ร้านกาแฟท่าเรือส่ง เดิมมีร้านกาแฟอยู่ที่ท่าเรือส่ง ขายดี ต่อมาเมื่อการคมนาคมทางเรือเลิกไป จึงมาเปิดขายที่ร้านของน้องชายคนที่  3  ซึ่งเปิดร้านก่อสร้าง ชื่อศิวะนันต์พานิช ร้านนี้เปิดมาตั้งแต่ พ . ศ .2508  สมัยนายอำเภอสมพร ในเดือนเดียวกับที่มีการเปิดใช้สะพาน พรประชา ขายตั้งแต่ราคาสามสตางค์ ห้าสตางค์ ตอนนี้ราคา  7-10  บาท ร้านเปิดตั้งแต่  7  โมงเช้า ถึง  5  โมงเย็น
เรือล่องแม่น้ำสามชุก จากการที่สามชุกเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตลาดเก่าริมแม่น้ำสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคทางน้ำแหล่งแลกเปลี่ยนสินค้าที่รุ่งเรืองในอดีตทำให้ผู้มาเยือนอยากรับบรรยากาศนั่งเรือชมแม่น้ำกันบ้าง โดยขึ้นเรือที่ท่าน้ำตลาดสามชุก เรือจะพาท่านชมภูมิทัศน์ทางเหนือ พบกับบ้านเรือนริมน้ำ ที่ยังมีร่องรอย ท่าลงสินค้า  ท่าถ่าน  ท่าข้าว โรงสี จนถึงเขื่อนชลมาร์ดพิจารณ์ที่ใช้เวลาก่อสร้างถึง  20  ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จมาทำพิธีเปิดเมื่อ  20  กันยายน  2498  ประทับแรมที่นี้  1  คืน พร้อมการเยี่ยมเยียนราษฎร์ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืมของชาวสามชุก
จำหน่าย ของเล่น สังกะสี ของเล่น โบราณ แสนน่ารัก หาซื้อได้ยาก มีทั้ง หุ่นยนต์สังกะสี หุ่นยนต์ตีกลอง มอเตอร์ไซด์สังกะสี รถยนต์สังกะสีหลายแบบ เรือสังกะสี และอื่นๆ อีกมากมาย ร้าน “ไอ๊หยา” ของเล่น ซอย สอง
ภาพบรรยากาศของสมาชิกในกลุ่ม
 
 
 
 
สมาชิกในกลุ่มที่  55 นางสาวนิชาภัทร รุ่งรัตนเสถียร  05500474 นางสาวกมลนันท์ กระจาย  05500525 นายกันตพงศ์ มงคลหัตถี  09500012 นางสาวพัชชญา วิเศษสมบัติ  09500162 นางสาวกอแก้ว นิติวดีลักขณา  09500655 นางสาวกุลนิษฐ์ ตรีวาณิชย์กุล  09500661 นางสาวนิชนันท์ สงแจ้ง  09511002 นางสาวพุทธิดา วงศ์เกษมจิตต์  09511017 นางสาวสุทธิรักษ์ อยู่ไร  09511052 นายปริญญา ขำเลิศ  09510419

More Related Content

What's hot

07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 

What's hot (13)

Ebook1
Ebook1Ebook1
Ebook1
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประเทศจีน
ประเทศจีน ประเทศจีน
ประเทศจีน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
3
33
3
 
5
55
5
 

Similar to ตลาดสามชุก

การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกTony Axe
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okPatpong Lohapibool
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cake WhiteChocolate
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นtommy
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางVibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางFURD_RSU
 

Similar to ตลาดสามชุก (20)

การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 okเอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 55 ok
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
7
77
7
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
ตั้งฮั่น
ตั้งฮั่นตั้งฮั่น
ตั้งฮั่น
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
2
22
2
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางVibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
 

ตลาดสามชุก

  • 1.  
  • 2. ประวัติความเป็นมา “ สามชุก เป็นเมืองเล็กๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ในอดีตสามชุกคือแหล่งที่ผู้คนหลากหลายเชื้อชาติทั้งไทย จีน มอญ ฯลฯ มีสัมพันธ์ต่อกันในลักษณะของการแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินค้า จนพัฒนาไปสู่ การลงหลักปักฐาน สร้างเมืองที่มั่นคงขึ้นมา ประวัติของเมืองสามชุก กล่าวไว้ว่า ตั้งขึ้นเมื่อ พ . ศ . 2437 ในสมัยรัชกาลที่ 5 เดิมชื่ออำเภอ “ นางบวช ” โดยมีขุนพรมสภา ( บุญรอด ) เป็นนายอำเภอคนแรก ต่อมาในปี 2457 ต้นรัชกาลที่ 6 ได้ย้ายอำเภอมาตั้งที่บ้าน “ สำเพ็ง ” ซึ่งเป็นย่านการค้าที่สำคัญในสมัยนั้น จนกระทั่งปี 2481 สมัยรัชกาลที่ 8 ได้เปลี่ยนชื่อจาก “ อำเภอนางบวช ” มาเป็น “ อำเภอสามชุก ” และย้ายมาตั้ง อยู่ริมลำน้ำสุพรรณบุรี ( ท่าจีน ) ซึ่งแยกมาจากแม่น้ำเจ้าพระยา โดยผ่านคลอง มะขามเฒ่า
  • 3. ประวัติความเป็นมา ตลาดสามชุก เป็นตลาดสำคัญในการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าที่สำคัญในอดีต ตั้งแต่เมื่อ 100 กว่าปี แต่เมื่อถนนเข้ามาแทนที่การเดินทางทางน้ำ ทำให้คนหันหลังให้กับแม่น้ำท่าจีน ความสำคัญของตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าริมน้ำเริ่มลดลง การค้าขายในตลาดสามชุกเริ่มซบเซา จึงทำให้ชาวบ้านพ่อค้าที่อยู่ในตลาดสามชุก เห็นคุณค่าตลาดเก่า รวมตัวเป็นคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุกเชิงอนุรักษ์ระดมความคิด หาทางอนุรักษ์ตลาดและที่อยู่ของตนไว้ และหาทางฟื้นคืนชีวิตชีวาขึ้นมาอีกครั้ง จึงเป็นที่มาของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทำให้ตลาดสามชุกกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง และได้รับการขนานนามว่าตลาด 100 ปี พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. กว่าจะเป็นสามชุกตลาด ๑๐๐ ปี ปัญหาอุปสรรค       ความไม่เข้าใจกัน ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือ ความคิดเห็นไม่ตรงกับระบบราชการ ปัญหาการเมืองบ้าง ส่วนราชการไม่ได้เข้ามาสนับสนุนบ้าง แต่ทุกปัญหาก็ผ่านไปได้ ผลที่ได้รับ      ทุกคนในชุมชนมีความสุข ลูกหลานกลับมาช่วยค้าขาย เศรษฐกิจดีถ้วนหน้า เกิดความภาคภูมิใจกับการได้เป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิต วัฒนธรรมริมแม่น้ำ ผลเสียที่ตามมา      วิถีชีวิตของคนในชุมชนเริ่มเปลี่ยนแปลงมีเวลาให้กันน้อยลง มองหาผลประโยชน์ บางคนไม่สนใจปฏิบัติตามกติกาชุมชน เห็นแก่ตัว ไม่สามารถทำกฎหมายมาใช้ได้ รถติดที่จอดรถไม่พอในวันเทศกาลต่าง ๆ ด้วยมีพื้นที่จำกัด
  • 8. แผนพัฒนาสามชุก ๑ .   แผนงานฟื้นฟูและพัฒนากิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน   ๒ .   แผนงานประชาสัมพันธ์   ๓ .   แผนงานจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน   ๔ .   แผนงานเชื่อมโยงเครือข่ายแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่น ภายในท้องถิ่น และชุมชนใกล้เคียง   ๕ .   แผนงานฟื้นฟูและเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างชุมชนกับภาครัฐ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๖ .   แผนงานบริหารจัดการการท่องเที่ยว ( ด้านการให้บริการและเป็นเจ้า บ้านที่ดี )  
  • 9. สามชุก ลมหายใจแห่งอดีต ตลาดสามชุกเจริญเติบโตมาโดยตลอด เป็นเสมือนอวัยวะสำคัญของชุมชนชาวอำเภอสามชุก มีความเป็นอยู่ในลักษณะผสมผสานระหว่าง ชาวไทยและชาวจีน ตัวตลาดมีลักษณะเป็นอาคาร แบบห้องแถวไม้เป็นส่วนใหญ่ มีทางเดินเป็นซอยอยู่ ระหว่างแถวอาคาร มีทั้งหมด 4 ซอย หัวซอยด้านริมแม่น้ำสุพรรณจะมีห้องแถวปลูกหันหลัง ให้แม่น้ำ มีซอยคั่นและมีช่องว่างเว้นเป็นทางลงไปยังแพท่าเทียบเรือเป็นระยะๆ
  • 10. การเดินทาง การเดินทางด้วยรถยนต์ การเดินทางด้วยรถยนต์ สู่ตลาดสามชุก จากกรุงเทพฯ ผ่าน อ . บางบัวทอง จ . นนทบุรี ไปจนถึงตัว อ . เมือง จ . สุพรรณบุรี ระยะทางประมาณ 107 กม . จากนั้นไปตามหลวงหมายเลข 340 ผ่าน อ . ศรีประจันต์ การเดินทางด้วยรถตู้จากกรุงเทพ ท่ารถตู้จะอยู่ตรงแยกคอกวัวฝั่งตรงข้ามกับกองสลาก ซอยที่ 2 การเดินทางด้วยโดยสารประจำทาง ( รถทัวร์ ) จากกรุงเทพ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ท่านสามารถขึ้นได้ทั้งที่ สถานีปรับอากาศสายใต้ และ หมอชิต โดยที่ท่านจะต้องขึ้นรถที่เขียนว่า กรุงเทพฯ - ท่าช้าง ทั้ง 2 สถานี
  • 13. ขุนจำนงจีนารักษ์ ท่านเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ประกอบกับท่านเป็น คนดีมีเมตตา ช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก จึงได้เป็นผู้นำชุมชน คุณงามความดีของท่าน ทำให้ท่านได้รับบรรดาศักดิ์ เป็น ขุนจำนงจีนารักษ์ ตำแหน่งกรรมการพิเศษจังหวัดสุพรรณบุรี บ้านของท่านในส่วนของ คุณเคียวยี้ ซึ่งเป็นบุตรสาวของนาย โต้วซ้ง จีนารักษ์ อนุญาตให้คณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชุก ปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ โดยใช้ชื่อ พิพิธภัณฑ์บ้านขุนจำนง จีนารักษ์ ซึ่งเป็นสถานที่เก็บของโบราณ สำหรับผู้ที่สนใจเข้า ชมเพื่อศึกษาหาความรู้มาจนถึงปัจจุบันนี้
  • 14. ศาลเจ้าพ่อเมืองสามชุก ศาลแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณท่าเรือทางขึ้นตลาดซอย 2 หน้าศาลเจ้า มีโคมไฟ ประจำศาลเจ้า เรียกว่า “ ที้ ตี่ เต็ง ” ใช้นำทางในขบวน ที่มีพิธีการแห่ ในศาลเจ้ายังมีเครื่องเสี่ยงทายและทำนายหลายอย่าง ได้แก่ ป่วยและกระบอกเสี่ยงเซียมซี ป่วย เป็นไม้ประกบคู่ ถ้าเป็นเรื่องดีป่วยจะแสดงคู่ตรงกันข้าม คือ คว่ำอัน หงายอัน กระบอกเสี่ยงเซียมซีเป็นเครื่องทำนายดวงชะตาตามความเชื่อของคนจีน
  • 15. ร้านถ่ายภาพศิลป์ธรรมชาติ เลขที่ 393 หมู่ 2 ซอย 3 ร้าน ถ่ายรูป ชื่อ “ ร้านศิลป์ธรรมชาติ ” เป็นร้านถ่ายรูป เก่าแก่แห่งที่ 2 ของตลาดสามชุก เปิดบริการมาเป็นเวลา กว่า 54 ปี แล้ว ตั้งแต่ปี พ . ศ . 2493 ตั้งแต่สมัยคุณพ่อ เจ้าของร้านคือคุณสุรีย์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ อายุ 54 ปี
  • 16. ในสมัยก่อน แต่ละวันจะมีเรือสินค้ามาจอดเทียบท่าตลาด สามชุกจำนวนมาก การค้าคึกคักอย่างเช่น เรือสินค้าของ บริษัทสุพรรณขนส่ง จำกัด แต่สมัยนั้นยังไม่มีที่พัก จึงมีการ ดัดแปลงบ้าน ห้องแถวเปิดเป็นโรงแรม มี “ โรงแรมสำราญรมย์ ” ของลุงสำราญ กลิ่นหอมหวล เป็น โรงแรมแห่งแรกของตลาดสามชุก ต่อมาก็มี “ โรงแรมอุดมโชค ” เป็นแห่งที่สอง
  • 17. กาแฟสดอุดมโชค ตำแหน่งที่ตั้ง : โรงแรมอุดมโชค ซอย 2           รายกาแฟสด : มีเครื่องดื่มหลายประเภท เช่น Expresso, Latte, Mocha, Americano, ชาชัก , ชานม , โกโก้ , น้ำพันช์ , ชาดำเย็น , ชามะนาว และ ผิ้งซ่า ซึ่งทางร้านได้คิดสูตรขึ้นมาเอง คือ น้ำผึ่งป่าเดือน 5 ผสมน้ำมะนาวใส่โซดา และเมนูแนะนำตัวใหม่คือ Shock! Choke! ซึ่งเป็นกาแฟสด " หวานน้อย - เข้มมาก " และ " America Honey - กาแฟดำนใส่น้ำผึ้ง "
  • 18. ร้านกาแฟท่าเรือส่ง เดิมมีร้านกาแฟอยู่ที่ท่าเรือส่ง ขายดี ต่อมาเมื่อการคมนาคมทางเรือเลิกไป จึงมาเปิดขายที่ร้านของน้องชายคนที่ 3 ซึ่งเปิดร้านก่อสร้าง ชื่อศิวะนันต์พานิช ร้านนี้เปิดมาตั้งแต่ พ . ศ .2508 สมัยนายอำเภอสมพร ในเดือนเดียวกับที่มีการเปิดใช้สะพาน พรประชา ขายตั้งแต่ราคาสามสตางค์ ห้าสตางค์ ตอนนี้ราคา 7-10 บาท ร้านเปิดตั้งแต่ 7 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็น
  • 19. เรือล่องแม่น้ำสามชุก จากการที่สามชุกเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ตลาดเก่าริมแม่น้ำสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคทางน้ำแหล่งแลกเปลี่ยนสินค้าที่รุ่งเรืองในอดีตทำให้ผู้มาเยือนอยากรับบรรยากาศนั่งเรือชมแม่น้ำกันบ้าง โดยขึ้นเรือที่ท่าน้ำตลาดสามชุก เรือจะพาท่านชมภูมิทัศน์ทางเหนือ พบกับบ้านเรือนริมน้ำ ที่ยังมีร่องรอย ท่าลงสินค้า  ท่าถ่าน  ท่าข้าว โรงสี จนถึงเขื่อนชลมาร์ดพิจารณ์ที่ใช้เวลาก่อสร้างถึง 20 ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จมาทำพิธีเปิดเมื่อ 20 กันยายน 2498 ประทับแรมที่นี้ 1 คืน พร้อมการเยี่ยมเยียนราษฎร์ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืมของชาวสามชุก
  • 20. จำหน่าย ของเล่น สังกะสี ของเล่น โบราณ แสนน่ารัก หาซื้อได้ยาก มีทั้ง หุ่นยนต์สังกะสี หุ่นยนต์ตีกลอง มอเตอร์ไซด์สังกะสี รถยนต์สังกะสีหลายแบบ เรือสังกะสี และอื่นๆ อีกมากมาย ร้าน “ไอ๊หยา” ของเล่น ซอย สอง
  • 22.  
  • 23.  
  • 24.  
  • 25.  
  • 26. สมาชิกในกลุ่มที่ 55 นางสาวนิชาภัทร รุ่งรัตนเสถียร 05500474 นางสาวกมลนันท์ กระจาย 05500525 นายกันตพงศ์ มงคลหัตถี 09500012 นางสาวพัชชญา วิเศษสมบัติ 09500162 นางสาวกอแก้ว นิติวดีลักขณา 09500655 นางสาวกุลนิษฐ์ ตรีวาณิชย์กุล 09500661 นางสาวนิชนันท์ สงแจ้ง 09511002 นางสาวพุทธิดา วงศ์เกษมจิตต์ 09511017 นางสาวสุทธิรักษ์ อยู่ไร 09511052 นายปริญญา ขำเลิศ 09510419