SlideShare a Scribd company logo
1 of 113
Download to read offline
ต้นแบบผู้นำไทยด้ำนคุณธรรมและสันติวิธี
หลักสูตรผู้นำยุคใหม่ในระบอบประชำธิปไตย
www.elifesara.com
พลเอกเอกชัย ศรีวิลำศ
ผู้อำนวยกำรสำนักสันติวิธีและธรรมำภิบำล
ekkachais@hotmail.com
พระรำชดำรัส ที่พระรำชทำนแก่ประชำชนชำวไทย
ในโอกำสขึ้นปีใหม่ ๒๔๙๔ ดังควำมตอนหนึ่งว่ำ
“ ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป
ก็เพราะประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็น
พวก คอยเอารัดเอาเปรียบ ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก
ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่
น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้กอบกู้รักษาบ้าน
เกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจ
อยู่เนืองนิจ จึงขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละ
คนด้วยซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความ
เสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบากยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้
ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจนบัดนี้”
www.kpi.ac.th
หัวข้อบรรยาย
ความหมายของผู้นา
ภาวะผู้นา
ผู้นาต้นแบบ
ผู้นากับคุณธรรม
ผู้นาเชิงสันติวิธี
4
อริสโตเติ้ล (Aristotle 384-322 ac.)
“ คุณธรรมหมายถึงคุณลักษณะที่ทาให้
ปัจเจกบุคคลมุ่งไปสู่ความสาเร็จของชีวิต
อันเป็นจุดมุ่งหมายแห่งชีวิตของตน ทั้งที่
เป็นจุดมุ่งหมายตามธรรมชาติ ”
5
บริบทของปรัชญากรีก
นิยามว่า “คุณธรรมเป็นสิ่งที่สำคัญสูงสุด”
คุณธรรม ย่อมดาเนินไปเพื่อบรรลุหน้าที่อันเหมาะสม
ของแต่ละสิ่ง
ควำมดีหรือคุณธรรมของสิ่งต่างๆ จะแตกต่างกัน
ออกไปตามสภาพความเป็นจริงของแต่ละสิ่งนั้น เพราะ
แต่ละสิ่งย่อมมีจุดมุ่งหมายในตนเองทั้งสิ้น
6
นักปรัชญำโฮมเมอร์ (Homer)
นักปรัชญาชาวกรีกให้คานิยาม“คุณธรรม”ว่า
“คุณธรรมหมายถึงลักษณะที่ทาให้ปัจเจกบรรลุถึง
หน้าที่ของตนในสังคม”
7
กำรปลูกฝังคุณธรรมในสังคมอังกฤษ
 การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth)
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty)
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty)
๔. ความอดกลั้น (Patience)
๕. ความเป็นธรรม (Fair play)
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others)
๗. เมตตาธรรม (Kindness)
8
กำรปลูกฝังคุณธรรมในสังคมอังกฤษ
 Integrity
- การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม (ศ.ธานินทร์ กรัยวิเชียร)
- Wholeness หรือ ความเป็นคนเต็มคน
 ศาสตราจารย์สตีเฟ่น แอล. คาร์เตอร์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา
เสนอว่า การที่บุคคลจะมี “Integrity” จะต้องมีการปฏิบัติครบ 3 ขั้นตอน
 พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง
 ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งรัด
 ประกาศให้ผู้อื่นได้รับทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติเช่นนั้น
ความหมายของ“คุณธรรม (Morality/Virtue)”
 ตามที่บัญญัติไว้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
คุณธรรมแปลว่า สภาพคุณงามความดี เป็นสภาพคุณงามความดีทาง
ความประพฤติและจิตใจซึ่งสามารถแยกออกเป็น 2 ความหมาย คือ
1. ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม ซึ่งมีพื้นฐานมา
จากหลักศีลธรรมทางศาสนา คานิยมทางวัฒนธรรม ประเพณี หลัก
กฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ
2. การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทา ไม่ควรทา และอาจกล่าวได้ว่า
คุณธรรม คือ จริยธรรมแต่ละข้อที่นามาปฏิบัติจนเป็นนิสัย เช่น เป็นคน
ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีความรับผิดชอบ ฯลฯ
ความหมายของ“คุณธรรม (Morality/Virtue)”
 คุณธรรม หมายถึง คุณสมบัติฝ่ายดีโดยส่วนเดียว เป็นที่ตั้งหรือเป็น
ประโยชน์แก่สันติภาพหรือสันติสุขจึงเป็นที่ต้องการของมนุษย์
คุณสมบัติที่ดี หรือคุณสมบัติที่เป็นธรรมของบุคคลอันเกิดจากการสั่งสอง
ของบิดามารดา ครูอาจารย์หรือเกิดจากขนบธรรมเนียมประเพณีที่
ถ่ายทอดกันมา
จริยธรรม (Ethics)
 ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546 หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อ
ประพฤติ ปฏิบัติ
จริย + ธรรม ซึ่งคาว่า จริย หมายถึงจริย หมายถึง ความประพฤติ การปฏิบัติ
กิริยาที่ควรประพฤติ ส่วนคาว่า ธรรม หมายถึงคุณความดี บุญกุศล ข้อบังคับ
กฎ หลัก คาสั่งสอนทางศาสนา
จริยธรรม แปลว่า เป็นสิ่งที่พึงประพฤติ จะต้องประพฤติ ส่วนศีลธรรมนั้น
หมายถึง สิ่งที่กาลังประพฤติอยู่ หรือประพฤติแล้ว จริยธรรม หรือ
Ethics อยู่ในรูปของปรัชญา คือ สิ่งที่ต้องคิดต้องนึก ส่วน
<date/time> <footer>
กำรก่อเกิดและกำรพัฒนำจริยธรรม
โดยการหล่อหลอม และปลูกฝังผ่านกระบวนการกล่อม
เกลาทางสังคมโดย
 การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว
 กระบวนการศึกษา
 ค่านิยมที่สั่งสมมาจากสังคม
มีสมาธิเกิดสติ
ปัญญามาจากพันธุกรรม
เกิดความเชื่อ มีความรู้สึก ด้วยการกระทาเป็นพฤติกรรมในส่วนดี
หลักความเป็นธรรม
กรอบกาหนดจรรยาบรรณ ที่เป็นรูปธรรม โดยไม่เพียงแต่คาดหวัง
เฉพาะจากจิตสานึกในความมีคุณธรรมที่เป็นนามธรรมเท่านั้น
มีมาตรการกากับควบคุมให้ต้องยึดถือปฏิบัติตาม โดยไม่เพียงแต่
พึ่งพา
อาศัยเฉพาะบรรทัดฐานของข้อห้ามและความเชื่อทางศีลธรรม
 มีมาตรฐานพิสูจน์ความผิดกาหนดความผิดและการลงโทษ โดยไม่
เพียง
แต่การใช้มาตรฐานทางความรู้สึกเป็นเครื่องวัดและไม่มีบทลงโทษ
องค์ประกอบของหลักธรรมำภิบำล
หลักนิติธรรม
หลักความคุ้มค่า
หลักธรรมาภิบาล
6 ประการ
หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส่หลักความ
รับผิดชอบ
หลักความ
มีส่วนร่วม
Company Logo www.themegallery.com
เป้าหมายและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความขยันหมั่นเพียร อดทน อุทิศเวลาให้กับ
การปฏิบัติหน้าที่ แก้ไขปัญหาอุปสรรคโดยไม่ย่อท้อเพื่อให้งาน
ประสบความสาเร็จ
ส่งเสริม สนับสนุนและจัดกิจกรรมให้นักเรียนมีคุณธรรม
จริยธรรมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
สถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษา
ด้านหลักคุณธรรม
Peace Country
www.kpi.ac.th,www.thaipolitics 1
Indicator
 Internal Peace 60%
 External Peace 40%
 การรับรู้จากความผิดทางอาญาในสังคม(4)
 จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในและตารวจต่อ 100,000 คน(3)
 จานวนคดีฆาตกรรมต่อ 100,000 คน (4)
 จานวนประชากรจาคุกต่อ 100,000 คน(3)
 มีความง่ายต่อการเข้าถึงอาวุธทาลายร้ายแรง(3)
 ระดับของความขัดแย้งที่จัด (ภายใน) (5)
 โอกาสในการแสดงการใช้ความรุนแรง (3)
 ระดับของอาชญากรรมรุนแรง (4)
 ความไม่แน่นอนทางการเมือง (4)
 ระดับของการทาลายสิทธิมนุษยชน (หวาดกลัวการเมือง) (4)
 ปริมาณของการถ่ายโอนจากอาวุธธรรมดาที่สาคัญเป็นผู้รับ(นาเข้า)ต่อ 100,000 คน
1
Indicator
มีสภาพความไม่ปลอดภัยต่อการก่อการร้าย 1
จานวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้ง (ภายใน) 5
ค่าใช้จ่ายทางทหารเป็นร้อยละ 2 ของ GDP
เงินทุนสาหรับการสหประชาชาติ 2 ภารกิจรักษาสันติภาพ
จานวนรวมของอาวุธหนักต่อ 100,000 คน 3
ปริมาณการเคลื่อนย้ายอาวุธในการจัดจาหน่าย ต่อ 100,000 คน 3
ความสามารถในการทหาร / 2 ความซับซ้อน
จานวนคนพลัดถิ่นเป็นเปอร์เซ็นต์ของประชากร 4
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 5
จานวนของความขัดแย้งทั้งภายในและภายนอกต่อสู้: 2003-08 5
จานวนโดยประมาณของการเสียชีวิตจากความขัดแย้งที่จัด (ภายนอก) 5
1
Rank Country Score
1 Iceland 1.148
2 New Zealand 1.279
3 Japan 1.287
4 Denmark 1.289
5 Czech Republic 1.320
6 Austria 1.337
7 Finland 1.352
8 Canada 1.355
9 Norway 1.356
10 Slovenia 1.358
11 Ireland 1.370
12 Qatar 1.398
13 Sweden 1.401
14 Belgium 1.413
15 Germany 1.416
16 Switzerland 1.421
17 Portugal 1.453
18 Australia 1.455
19 Malaysia 1.467
20 Hungary 1.495
21 Uruguay 1.521
22 Poland 1.545
23 Slovakia 1.576
24 Singapore 1.585
25 Netherlands 1.628 1
Rank Country Score
26 United Kingdom 1.631
27 Taiwan 1.638
28 Spain 1.641
29 Kuwait 1.667
30 Vietnam 1.670
31 Costa Rica 1.681
32 Laos 1.687
33 United Arab Emirates
1.690
34 Bhutan 1.693
35 Botswana 1.695
36 France 1.697
37 Croatia 1.699
38 Chile 1.710
39 Malawi 1.740
40 Romania 1.742
41 Oman 1.743
42 Ghana 1.752
43 Lithuania 1.760
44 Tunisia 1.765
45 Italy 1.775
46 Latvia 1.793
47 Estonia 1.798
48 Mozambique 1.809
49 Panama 1.812
50 South Korea 1.829
51 Burkina Faso 1.832
52 Zambia 1.833
Rank Country Score
53 Bulgaria 1.845
54 Namibia 1.850
55 Argentina 1.852
56 Tanzania 1.858
57 Mongolia 1.880
58 Morocco 1.887
59 Moldova 1.892
60 Bosnia and Hercegovina 1.893
61 Sierra Leone 1.904
62 The Gambia 1.910
63 Albania 1.912
64 Jordan 1.918
65 Greece 1.947
66 Paraguay 1.954
67 Cuba 1.964
68 Indonesia 1.979
69 Ukraine 1.995
69 Swaziland 1.995
71 Cyprus 2.013
72 Nicaragua 2.021
73 Egypt 2.023
74 Brazil 2.040
75 Equatorial Guinea 2.041
76 Bolivia 2.045
77 Senegal 2.047
78 Macedonia 2.048
79 Trinidad and Tobago 2.051
80 China 2.054
81 Gabon 2.059
82 United States of America 2.063
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
Rank Country Score
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
Peace Country Index
2007-105
2008-118
2009-118
2010-124
2011-107-2.247
2012-126-2.303
 121-Algeria
 122-Eritrea
 123-Venezuela
 124-Guatemala
 125-Mauritania
 126-Thailand
 127-South Africa
 128-Iran
 129-Hondurus
 130-Turkey
 131-Kyrgyzstan
22
Peace Index
ประเทศ 2012 2011 2010 2009 2008 2007
มาเลเซีย 201.485 19 22 26 37 37
สิงคโปร์ 23 24 30 23 29 29
เวียดนาม 34 30 38 39 37 35
ลาว 37 32 34 45 51 -
อินโดนีเซีย 63 68 67 67 68 78
กัมพูชา 139 133 132 126 126 108
บรูไน 139 133 132 126 126 108
ฟิลิปปินส์ 133 136 130 114 113 100
ไทย 126 107 124 118 118 105
2.303 2.247 2.393 2.353 2.424 2.491
คุณธรรมในการเป็นผู้นาที่ดี
Ø มีพรหมวิหาร4 เมตตา กรุณา มุทิตา และ อุเบกขา
Ø มีความยุติธรรม ไม่ลาเอียง มีความเที่ยงตรงต่อผู้ใต้บังคับบัญชาทุกคนอย่าง
เท่าเทียมกัน เช่น แบ่งงานมอบอย่างให้เหมาะสม
Ø ปราศจาก อคติ หรือความลาเอียง ไม่ว่าจะเป็นเพราะรัก โกรธ กลัว หรือ
ความไม่รู้
Ø มีปิยวาจา ใช้ถ้อยคาที่เป็นมิตร สร้างความรู้สึกดีแก่ลูกน้อง ไม่พูดหยาบคาย
ก้าวร้าว ข่มขู่
Ø สร้างทั้งพระเดชและพระคุณ เพื่อสร้างความรัก และความศรัทธา
Ø เรียนรู้ที่จะสร้างคุณงามความดี เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่ลูกน้อง
<date/time> <footer>
พระธรรมปิฎก ได้พูดถึงคุณสมบัติของผู้นำจะต้องมีธรรม
7 ประกำร (สัปปุริสธรรม 7)
 รู้หลักการ เมื่อดารงตาแหน่ง มีฐานะ หรือจะทาอะไรก็ตาม ต้องรู้ หลักการ รู้
งาน รู้หน้าที่ รู้กฎเกณฑ์กติกาที่เกี่ยวข้อง แล้วตั้งตนอยู่ในหลักการให้ได้
 รู้จุดหมาย ผู้นาถ้าไม่รู้จุดหมายก็ไม่รู้ว่าจะนาคน และกิจการไปไหน มีความ
แน่วแน่มุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงจุดหมายด้วย แม้มีอะไรมากระทบก็จะไม่หวั่นไหว
 รู้ตน ต้องรู้ตนเองคือใคร มีภาวะเป็นอย่างไรอยู่ในสถานะใด มีคุณสมบัติ มี
ความพร้อม มีความถนัด สติปัญญา ความสามารถอย่างไร มีกาลังแค่ไหน
จุดอ่อนจุดแข็งเป็นอย่างไร
 รู้ประมาณ คือ รู้จักความพอดี รู้ขอบเขตความพอเหมาะที่จะทาในเรื่องต่าง ๆ
<date/time> <footer>
พระธรรมปิฎก ได้พูดถึงคุณสมบัติของผู้นำจะต้องมีธรรม
7 ประกำร (สัปปุริสธรรม 7)
 รู้กาล คือ รู้จักเวลาว่าเรื่องนี้จะลงชื่อตอนไหน เวลาไหนจะทาอย่างไรจึงจะ
เหมาะ แม้แต่การพูดจาก็ต้องรู้จักกาลเวลา ตลอดจนรู้จักการวางแผนงานใน
การใช้เวลาซึ่งเป็นเรื่องใหญ่
 รู้ชุมชน คือ รู้สังคมตั้งแต่ในขอบเขตที่กว้างขวาง คือ รู้สังคมโลก รู้สังคมของ
ประเทศว่าอยู่ในสถานการณ์อย่างไร มีปัญหาอะไร มีความต้องการอย่างไร
แม้แต่ชุมชนย่อย ๆ ถ้าเราจะช่วยเหลือเขาเราก็ต้องรู้ความต้องการของเขาเพื่อ
สนองความต้องการ ได้ถูกต้องหรือ แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด
 รู้บุคคล คือ รู้จักบุคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะคนที่มาร่วมงานร่วมการไป
ด้วยกัน และคนที่เราไปให้บริการตามความแตกต่างเฉพาะตัว โดยเฉพาะการใช้
คน เพื่อใช้คนให้เหมาะกับงาน และให้เขาได้ประโยชน์ด้วยการพัฒนาตนเอง
<date/time> <footer>
ลักษณะผู้นำที่ดี ในทรรศนะของคนไทย
 ทรรศนะที่ 1“3 ค” ครองตน ครองคน ครองงาน
 ทรรศนะที่ 2 “4 ภ” ภูมิรู้ ภูมิธรรม ภูมิฐาน ภูมิ
ปัญญา
 ทรรศนะที่ 3 “4 ท” ทันคน ทันงาน ทันเหตุการณ์
ทันสมัย
<date/time> <footer>
ผู้นำที่มีคุณธรรม(อำนันท์ ปันยำรชุน)
โลกมีการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้นทุกวัน และสังคมอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลง
แห่งยุคสมัย คนอยู่ภายใต้ความคาดหวัง มีเรื่องเครียดทุกวัน ผู้นาจึงควรรักษา
ไว้ซึ่งคุณธรรมที่ดี ที่เหมาะกับสังคมไทย
1. ฟังให้เป็น
2. คิดให้ถูก
3. ทาให้เป็น
4. พูดให้จริง
5. เรียนรู้ตลอดเวลา
6. ยุติธรรม และ
7. มีเมตตาเห็นอกเห็นใจ
<date/time> <footer>
ผู้นำที่มีคุณธรรม(อำนันท์ ปันยำรชุน)
การเป็นผู้นาในสังคมไทย สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ ความมีเมตตา และเห็น
อกเห็นใจ
ในสังคมไทยที่การฆ่าฟาดฟันกันจนถึงที่สุด เอาแพ้เอาชนะกันให้ราบ
ไปข้างหนึ่ง มีแต่จะสร้างความเคียดแค้นกันเป็นส่วนตัว
การมีความเห็นอกเห็นใจ ในสังคมไทยจึงยังเป็นสิ่งที่จาเป็นอยู่ ดังนั้น
ผู้นาในสังคมไทยจะต้องระมัดระวังเรื่องนี้และใช้ให้ถูกว่า เมื่อไรควรใช้
อานาจ เมื่อไรควรใช้ความเมตตา
<date/time> <footer>
ความหมายของผู้นา (Leader)
ผู้นา คือ บุคคลที่มีความสามารถในการใช้อิทธิพลให้คนอื่นทางานใน
ระดับต่าง ๆ ที่ต้องการให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(McFarland,1979:214-215)
ผู้นา คือ ผู้ที่สามารถในการชักจูงให้คนอื่นทางานให้สาเร็จตามต้องการ
(Huse,1978:227)
ผู้นา คือ บุคคลที่มีอิทธิพลสูงสุดในกลุ่ม และเป็นผู้ที่ต้องปฏิบัติภาระหน้าที่
ของตาแหน่งผู้นาที่ได้รับมอบหมายบุคคลอื่นในกลุ่มที่เหลือก็คือผู้ตาม แม้
จะเป็นหัวหน้ากลุ่มย่อย หรือผู้ช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ก็ตาม (Yukl,
1989:3-4)
ความหมายของผู้นา (Leader)
สรุป ผู้นา คือบุคคลที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งใน 5
อย่าง ต่อไปนี้
1) มีบทบาทหรืออิทธิพลต่อคนในหน่วยงานมากกว่าผู้อื่น
2) มีบทบาทเหนือบุคคลอื่นๆ
3) มีบทบาทสาคัญที่สุดที่ทาให้หน่วยงานบรรลุเป้าหมาย
4) ได้รับเลือกจากผู้อื่นให้เป็นผู้นา
5) เป็นหัวหน้าของกลุ่ม
อ้างอิงจาก แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ภาวะผู้นา
Saruthipong Bhuwatvaranon
Doctoral Program in Educational Leadership and Innovation
ภาวะผู้นา (Leadership)
 ภาวะผู้นา เป็นการใช้ศิลป์และกระบวนการของการมีอิทธิพลต่อบุคคล
หรือกลุ่มเพื่อดาเนินกิจกรรมไปสู่ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ (นภาพร
โกศลวัฒน์)
 ภาวะผู้นา คือ การกระทาที่มีอิทธิพล สามารถทาให้ผู้อื่นเกิดศรัทธา มี
ความ
นับถือ มีความเชื่อมั่นตกลงปลงใจที่จะทาตามแล้วแต่ผู้นาจะให้ทาอะไร
(ประทาน คงฤทธิศึกษากร)
 ภาวะผู้นา หมายถึง การที่ผู้นาขององค์การใช้วิธีแตกต่างกันตาม
สถานการณ์ ในการดาเนินการเพื่อก่อให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่สนับสนุน
ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมมือกันสร้างประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
ให้บรรลุถึงจุดหมายขององค์การที่กาหนด (ธิติพร ตนัยโชติ)
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
1. แบบมองวิสัยทัศน์ (Visionary) ผู้นาการมองวิสัยทัศน์ชี้จุดหมาย
ที่กลุ่มจะเดินไป แต่ไม่บอกว่าจะไปถึงจุดหมายนั้นได้ โดยวิธีใด
โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกได้คิดริเริ่ม ทดลอง และรับการเสี่ยงที่
ควบคุมได้ผู้นาแบบนี้คนมักยกย่องเหมือนวีรบุรุษ
มหาตมะคานที
ผู้กอบกู้เอกราชให้อินเดีย
มาร์ตินลูเธอร์ คิง
ผู้นาที่ต่อสู้เพื่อศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ของคนผิดดา
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
2. แบบครูฝึก (Coaching) เป็นศิลปะของการเป็นนาแบบตัวต่อตัว
ผู้นาแบบครูฝึกจะทาให้คนอื่นค้นพบจุดอ่อนและจุดแข็งของตน
และเชื่อมโยงจุดอ่อนและจุดแข็งเหล่านั้นกับความใฝ่ฝันทั้งด้าน
ส่วนตัวและอาชีพ เช่น
ประธานาธิบดีแมคไซไซ
แห่งฟิลิปปินส์
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
3. แบบส่งเสริมความร่วมมือ (Affiliate) ผู้นาประเภทนี้เป็น
ตัวอย่างของการใช้ทักษะทางฉลาดทางอารมณ์ด้วยการ
ร่วมมือ (collaboration) ในทางปฏิบัติ สิ่งที่ผู้นาประเภทนี้ให้
ความสาคัญที่สุด คือ การส่งเสริมความสมานฉันท์และการมี
ความสัมพันธ์อย่างเป็นมิตร ผู้นาจะเน้นเอาใจใส่ความ
ต้องการด้านอารมณ์ของบุคลากรด้วยการใช้ทักษะความเห็น
อกเห็นใจ เช่น องค์พระมหากษัตริย์
พระบรมราโชวาท ความสามัคคี พระราชทานแก่กลุ่มชาวไร่ หมู่บ้านตัวอย่าง โครงการไทย-อิสราเอล
จังหวัดเพชรบุรี 25 พฤษภาคม 2513
"...ความสามัคคีนี้หมายถึงว่ามีสิ่งใดที่อาจ ขัดแย้งซึ่งกัน และกันบ้าง ก็ต้องปรองดองกันเสีย
และหาทางออกโดยที่ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง กันเพราะความสามัคคีเป็นกาลังอย่างสูงสุดของ
หมู่ชน...“
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
4. แบบประชาธิปไตย (Demo-critic) ผู้นาแบบประชาธิปไตยใช้ทักษะความ
ฉลาดทางอารมณ์ 3 ประการ คือ
4.1 การทางานเป็นทีมและการร่วมมือ (teamwork and collaboration)
4.2 การบริหารความขัดแย้ง (conflict management) และ
4.3 การสร้างอิทธิพลเหนือคนอื่น (influence)
 ผู้นาประเภทนี้เป็นนักฟังที่ยอดเยี่ยมและเป็นนักให้ความร่วมมือตัวจริง
 ผู้นาจะรู้วิธีบรรเทาความขัดแย้ง และสามารถระบุตัวคนที่ทางานด้อย
ประสิทธิภาพได้อย่างรวดเร็ว
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
4. แบบประชาธิปไตย (Demo-critic)
 ผู้นาประเภทนี้ต้องการให้คนอื่นทาตัวให้ดีอย่างที่ตัวเองได้ทาให้
ดูเป็น ตัวอย่าง เช่น
นายโรนัลด์ เรแกน
ประธานาธิบดีอเมริกา
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
5. แบบออกคาสั่ง (Commanding)
 ผู้นาแบบนี้ต้องการให้มีการปฏิบัติตามคาสั่งทันที โดยไม่สนใจที่จะอธิบาย
เหตุผล
หากผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ยอมปฏิบัติตามคาสั่งจะใช้การลงโทษ
 ผู้นาแบบนี้ต้องการควบคุมอย่างเข้มงวดและติดตามตรวจสอบการทางาน
อย่างใกล้ชิด เช่น
นายซัดดัม ฮุสเซน
ผู้นาแบบอดีตประธานาธิบดีอิรัก
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
5. แบบออกคาสั่ง (Commanding)
 ในจานวนรูปแบบความเป็นผู้นาทั้งหมด รูปแบบความเป็นผู้นาแบบออก
คาสั่งนี้ได้ผลน้อยที่สุด เพราะเป็นรูปแบบความเป็นผู้นาที่ชอบข่มขู่ส่งผล
กระทบต่ออารมณ์ของบุคลากรทุกคน เป็นการบ่อนทาลายจิตวิญญาณ
ความภาคภูมิใจและความพึงพอใจที่บุคลากรได้รับจากการทางาน
 รูปแบบความเป็นผู้นาออกคาสั่งใช้ได้ผลในบางสถานการณ์เท่านั้น และต้อง
ใช้เหตุผลสมควรด้วย เช่น สถานการณ์ฉุกเฉิน การเข้าควบคุมสถานการณ์
อย่างเบ็ดเสร็จ จะนาพาทุกคนให้รอดพ้นวิกฤติการณ์ได้
รูปแบบการเป็นผู้นา 5 แบบ
5. แบบออกคาสั่ง (Commanding)
 การใช้รูปแบบความเป็นผู้นาแบบนี้อย่างได้ผล ต้องอาศัยทักษะความฉลาดทางอารมณ์
3 ประการ ได้แก่
1) การสร้างอิทธิพลเหนือคนอื่น (influence)
2) การใฝ่หาความสาเร็จ (achievement) และ
3) การเริ่มสร้างสรรค์ (initiative)
 นอกจากนี้ยังต้องการทักษะการรู้จักตนเอง (self-awareness) การควบคุมทางอารมณ์
(emotional self-control) และความเห็นอกเห็นใจด้วย (empathy)
คุณธรรมสาหรับผู้นา
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า
"บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้นา ถ้าประพฤติไม่เป็นธรรม คนทั้งหมด
ทาตามอย่าง ประเทศชาติจึงเดือดร้อน แต่ถ้าประพฤติเป็นธรรม
คนทั้งหมดจะประพฤติตามอย่างบ้าง ประเทศชาติจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง
เปรียบเสมือนกับฝูงโคที่กาลังข้ามฟาก ถ้าโคจ่าฝูงนาไปคด โคทั้งหมดเดินคด
เคี้ยวตาม หากโคจ่าฝูงนาไปตรง โคทั้งหมดก็ไปตรง ฉะนั้น"
คุณธรรมสาหรับผู้นา
ประการที่ 1 ความอดทน
ประการที่ 2 ความเป็นนักสู้
ประการที่ 3 ความเป็นผู้ตื่น
ประการที่ 4 ความขยันหมั่นเพียร
ประการที่ 5 เมตตากรุณา
ประการที่ 6 ความยุติธรรม
ประการที่ 7 การหมั่นตรวจตรากิจการงาน
ประการที่ 8 ความซื่อสัตย์สุจริต
คุณธรรมสาหรับผู้นา – ความอดทน
การห้ามจิตใจ เมื่อได้พบกับเหตุการณ์อันจะก่อให้เกิดเรื่องหรือ
แสดงกิริยาที่ไม่ดีออกมา ต้องมีความอดทน ไม่หุนหันพลันแล่น
อดทนต่อความยากลาบากในขณะที่ทาการงาน ไม่เห็นแก่ความ
หนาว ความร้อน เช้าสายบ่ายค่า
อดทนต่อความเจ็บไข้ได้ป่วย ไม่ทุรนทุรายจนเกินไป
อดทนต่อความเจ็บใจในเมื่อคนอื่นทาสิ่งที่ไม่น่าพอใจให้แก่ตน
ไม่ด่วนโกรธ
คุณธรรมสาหรับผู้นา - ความเป็นนักสู้
เป็นผู้มีความเข้มแข็ง กล้าหาญ หนักเอาเบาสู้
มุ่งความสาเร็จกิจการงานเป็นที่ตั้ง
ไม่หลงคายอ ไม่ท้อคาติ
มุ่งมั่นฝ่าฟันอุปสรรคปัญหาต่างๆปฏิบัติงานทุกอย่างให้
บรรลุเป้าหมาย
คุณธรรมสาหรับผู้นา - ความเป็นผู้ตื่น
เป็นคนตื่นตัว ว่องไวต่อปัญหาตลอดเวลา
มีความคิดก้าวหน้า ริเริ่มสร้างสรรค์
มีความคิดยืดหยุ่น
มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล สามารถที่จะนาความคิดออกมาใช้ให้ทัน
ต่อสถานการณ์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เฉพาะหน้า
คุณธรรมสาหรับผู้นา - ความขยันหมั่นเพียร
มีความวิริยะอุตสาหะ มีความจริงใจในการปฏิบัติ
หน้าที่ ไม่เป็นทาสของความเกียจคร้าน มีความ
กระตือรือร้นอยู่ตลอดเวลา
คุณธรรมสาหรับผู้นา – เมตตากรุณา
มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูล
โอบอ้อมอารีในลักษณะสงเคราะห์ อนุเคราะห์ หรือบูชาคุณ
ความดี แล้วแต่เวลา สถานที่ และบุคคล
มีความรักและความหวังดีเป็นที่ตั้ง
คุณธรรมสาหรับผู้นา – ความยุติธรรม
มีความเที่ยงธรรม เสมอภาคในคนทุกประเภท ไม่แบ่งแยกพวกเขาพวกเรา
ไม่มีอคติ ไม่ลาเอียง ซึ่งความลาเอียงนี้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้
4 อย่าง คือ
1) ลาเอียงเพราะความรัก
2) ลาเอียงเพราะความโกรธ
3) ลาเอียงเพราะความกลัว และ
4) ลาเอียงเพราะความหลง
การพิจารณาเลื่อนตาแหน่งก็พิจารณาจากความรู้ ความสามารถและ
คุณธรรมความดี ผู้นาที่ปฏิบัติได้ดังนี้ย่อมเป็นที่รักของหมู่ชน ได้คนที่มี
ความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรมความดี มาเป็นบริวารอยู่เสมอ
คุณธรรมสาหรับผู้นา – การหมั่นตรวจตรากิจการงาน
สอดส่องดูแลการงานอยู่เสมอ
เมื่อพบข้อบกพร่องก็รีบแก้ไข อย่าปล่อยไว้จะยากแก่การแก้ไข
ต้องตรวจตราดูลาดับความสาคัญของงานว่างานไหนควรทาก่อนหลัง ถ้า
งานไหนสาคัญก็ควรทางานนั้นก่อน งานไหนควรทาเอง งานไหนควรแบ่ง
มอบหมายให้คนอื่นรับผิดชอบ
ต้องรู้จักแบ่งงานให้ถูกกับคนด้วย คนที่มีความรู้ ถนัด สามารถในเรื่อง
ไหน ก็มอบหมายเรื่องนั้นให้ทา
คุณธรรมสาหรับผู้นา – ความซื่อสัตย์สุจริต
ความซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง มีความซื่อตรง มั่นคงอยู่ในศีลธรรม
มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น มีความสุจริตทางกาย ทางวาจา และ
ทางใจ
องค์กรความโปร่งใสสากลมีเครื่องมือหรือดรรชนีวัดการ
คอรัปชั่นในระดับโลก 5 ตัวด้วยกัน
ดรรชนีภาพลักษณ์คอรัปชั่น (Corruption Perceptions Index – CPI)
เครื่องชี้วัดการคอรัปชั่นทั่วโลก (Global Corruption Barometer – GCB)
ดัชนีการติดสินบน (Bribe Payers Index – BPI)ผลสารวจการคอรัปชั่น
ของโลก (Global Corruption Report – GCR )
ผลสารวจความโปร่งใสทางการเงิน (Promoting Revenue Transparency
Project)
ผลสารวจการต่อต้านคอรัปชั่น (Transparency in Reporting on Anti-
Corruption – TRAC)
51
อันดับการทุจริตคอรัปชั่น
522012:คะแนน 3.7 อันดับ 88
53
3.7
CPI Transparency Index
ประเทศ คะแนน ลาดับที่
สิงคโปร์ 8.7 5
บรูไน 5.5 46
มาเลเซีย 4.9 54
ไทย 3.7 88
ฟิลิปปินส์ 3.4 105
อินโดนีเซีย 3.2 118
เวียดนาม 3.1 123
กัมพูชา 2.2 157
ลาว 2.1 160
พม่า 1.5 172
CPI.transparency.org
STEREO
TYPE
<date/time> <footer>
ผู้นากับคุณธรรม
ความถูกต้อง
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมมาภิบาล
Good Governance
พระปฐมบรมราชโองการ
ในพิธีบรมราชาภิเษก
ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
(วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
ธรรมของ
ผู้ปกครอง
ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ)
การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา)
ความอดทน(ขันติ)
ทศพิธราชธรรม
ศีล
ความไม่โกรธ(อักโกธะ)
ความอ่อนโยน(มัททวะ)
ความซื่อตรง(อาชชวะ)
ความเพียร(ตบะ)
บริจาค
ทาน
ทศพิธรำชธรรม๑. ทำนได้แก่ การให้ทาน
๒. ศีลได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล
๓. ปริจำคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน
๔. อำชชวะได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม
๕. มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน
๖. ตบะได้แก่ ความเพียร
๗. อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ
๘. อวิหิงสำได้แก่ ความไม่เบียดเบียน
๙. ขันติ ได้แก่ ความอดทน
๑๐. อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
สอดคล้อง
สภาพธรรมชาติ
ภูมิสังคม
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
61
• เน้นการพัฒนาคน
• ระเบิดจากข้างใน
• ปลุกจิตสานึก
• พึ่งตนเองได้
• ความพอเพียง
• ขาดทุนคือกาไร
• ทางานอย่างมีความสุข
• คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน
• บริการรวมที่จุดเดียว
• ปลูกป่าในใจคน
• การให้
• รู้ รัก สามัคคี
หลักการทรงงาน  ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
 แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก
 คานึงภูมิสังคม
 พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร /
บูรณาการ
 ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับ
ขั้นตอน
 มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก
 ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ
 การมีส่วนร่วม
 ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน
34
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงพระราชทาน
คุณธรรมสาหรับผู้บริหารประเทศ ไว้ ๔ ประการ
 การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะปฎิบัติแต่สิ่งที่เป็น
ประโยชน์และเป็นธรรม
 การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองไม่ให้ประพฤติล่วงความสุจริต ไม่
ว่าจะด้วยเหตุประการใด
 การอดทนอดกลั้นและอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสุจริตไม่ว่า
จะ ด้วยเหตุประการใด
 การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อย
ของ ตนเพื่อประโยชน์ส่วนใใหญ่ของบ้านเมือง
กลักธรรมในทางพุทธศาสนา
ฆราวาสธรรมมีข้อปฎิบัติ ๔ ประการ คือ
 สัจจะ : ความซื่อสัตย์ต่อกัน
 ทมะ : การรู้จักข่มใจ
 ขันติ : ความอดทนทั้งกายและใจ
 จาคะ : ความรู้จักเสียสละและบริจาคให้แก่บุคคล
ที่ควรให้
ธรรมำภิบำลของพระองค์ถูกหลอมรวมเป็นพระจริยวัตร
และพระรำชกรณียกิจนำนัปกำร
 ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด
 ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส
 แนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง ในหลวงทรงแนะนาและปฏิบัติ
ให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร
 ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุข ไม่ใช่จะต้องเป็นสังคมที่มีเงิน
มากๆ
 ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงในชีวิต
ความเป็นอยู่
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว
 พระองค์ปรารถนาสิ่งใดก็ได้ แต่พระองค์กลับไม่ได้ใช้อภิสิทธิ์ตรงนั้น
 ทรงมีพระจริยวัตรที่เรียบง่าย สมถะ ซึ่งถือเป็นการสอนพสกนิกรของ
พระองค์อย่างดีที่สุด
 ไม่เคยมีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า เป็นพระมหากษัตริย์แล้วต้องเสียสละ
พระองค์ ถึงเพียงนี้
 เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว
สยาม” หรือการดารงพระองค์ปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมก็ตาม ใน
ฐานะพระประมุขประกาศออกมาแล้ว ถ้าไม่ทาตามสิ่งเหล่านั้น พระองค์ก็
สามารถทาได้ แต่สาหรับพระองค์ทรงเลือกที่จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อย่าง
เข้มงวดเรื่อยมา
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงเป็นแบบอย่ำงทุกๆ ด้ำน
ทรง มีพระจริยธรรม เมตตาธรรม ทรงห่วงใย พสกนิกร
แม้ต้องทรงเผชิญกับความยากลาบากในถิ่น ทุรกันดาร
จริงอยู่ที่โดยพระอิสริยยศแล้ว พระองค์ทรง มีอานาจ
มากมาย แต่สิ่งหลอมรวมให้คนไทยทุกหมู่เหล่า จงรักภักดี
เคารพเทิดทูนพระองค์ยิ่งชีวิตตัวเอง นั่นคือ พระบารมี ที่
สะท้อนถึงคุณลักษณะทางบุคคลของพระองค์ ซึ่งกอปรไป
ด้วยพระปรีชาญาณและพระจริยวัตรอันงดงาม
ผู้นาเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้หนึ่งซึ่งเป็นผู้นาเชิงสันติวิธีที่ประสบความสาเร็จ
ทรงแก้ไขวิกฤติการณ์ด้วยสันติวิธีและในกรอบของความชอบธรรม ตามครรลองของ
รัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย
 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยที่เผชิญปัญหาวิกฤติของประเทศมา
หลายครั้ง แต่ทรงแก้ไขได้ทุกครั้ง ทั้งที่พระองค์ทรงไม่มีโอกาสศึกษา อบรม เตรียมตัว
เพื่อเป็น
พระประมุขของประเทศมาก่อน เมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะวิกฤติไม่อาจอาศัย
รัฐธรรมนูญได้ ต้องอาศัยพระปรีชาญาณของพระองค์โดยแท้ ซึ่งพระบรม
ราชวินิจฉัยก็เหมาะสมกับภาวการณ์และโอกาสเสมอมา
ผู้นาเชิงสันติวิธี - พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตัวอย่างการแก้ไขวิกฤตด้วยสันติวิธีของในหลวง
เมื่อคืนวันที่ 20 พฤษภาคม 2535 (พฤษภาทมิฬ) ทรงเรียกผู้นาสองขั้วที่นา
มวลชนเข้าห้าหั่นถึงขั้นเจ็บตายคาราชดาเนิน เข้าเฝ้าฯ และขอให้ทั้งสอง
ฝ่ายหยุดสู้ นายพลทั้งคู่กราบแทบฝ่าพระบาทยินยอมกระทาตามโดยไม่มี
เงื่อนไข ความสงบคืนสู่แผ่นดินไทยอย่างเหลือเชื่อ
 คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความเป็นผู้ตื่น, ความเมตตา,
ความยุติธรรม
ผู้นาเชิงสันติวิธี - มหาตมะคานธี
มหาตมะคานธีถือว่าเป็นผู้นาคนแรกที่นาสันติวิธีล้วนๆ มาใช้แล้วได้ผล
การใช้หลักสัตยาเคราะห์ของท่านที่แอฟริกาใต้และอินเดียนั้นทาให้
อังกฤษ เจ้าอาณานิคมต้องเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในการสู้รบกับคนจานวน
มหาศาลที่บูชาท่าน
มหาตมะคานธีได้นาชาวอินเดียยาตราเป็นระยะทางกว่า 400 กิโลเมตร
เพื่อทาเกลือจากน้าทะเลด้วยตนเอง เขาถือว่าเป็นหน้าที่ทางศีลธรรมที่
จะต้องคัดค้างกฎหมายอันอยุติธรรมของอังกฤษที่ห้ามคนอินเดียทาเกลือ
แม้นั่นจะหมายถึงการถูกจับเข้าคุกก็ตาม
(คุณธรรมเด่นที่ใช้: ความอดทน, ความเป็นนักสู้, ความยุติธรรม)
มหำ ตมะ คำนธี
• อหังการย่อมทาลายมนุษย์โดยสิ้นเชิง ความจริงข้อนี้
ทุกคนตระหนักได้ทุกขณะ ตรงกันข้าม ความอ่อน
น้อมถ่อมตนช่วยให้มนุษย์เจริญเติบโตและบรรลุ
ความสมบูรณ์เสมอ
• หิงสาเป็นอาวุธของผู้อ่อนแอ อหิงสาเป็นอาวุธของผู้
เข้มแข็ง ควรเลิกละหิงสา เพราะสิ่งที่ได้จากหิงสานั้น
เป็นเรื่องลวงตา แต่โทษมีอยู่จริงและถาวร
70www.kpi.ac.th
ผู้นาเชิงสันติวิธี - ออง ซาน ซูจี
• ออง ซาน ซูจี เป็นต้นแบบแห่งสันติวิธีแนวพุทธ
• ออง ซาน ซูจี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน พ.ศ. 2534
• การต่อสู้โดยวิธีสันติเป็นหนทางเดียวที่จะรักษาชีวิตของทรัพยากรมนุษย์
อองซาน ซูจีจึงเลือกใช้วิธีอย่างสันติเพื่อจะไม่ให้เกิดการนองเลือดในพม่า และการ
ต่อสู้ของเธอก็เป็นที่ยอมรับของผู้คนทั่วโลก ยกเว้นรัฐบาลทหารพม่าที่มองว่าเธอ
เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของรัฐบาลเผด็จการ ดังนั้นการเรียกร้องของเธอจึงยัง
ไม่มีวันสิ้นสุดตราบใดที่พม่ายังคงไม่เห็นความสาคัญของระบอบประชาธิปไตย
ผู้นาเชิงสันติวิธี - ออง ซาน ซูจี
• แม้ว่าจะต้องถูกกักบริเวณให้อยู่แต่ในบ้านพักของเธอเองเป็น
เวลาถึง 6 ปี ท่ามกลางการกดดันทุกรูปแบบของรัฐบาลเผด็จ
การทหาร ออง ซาน ซูจี ยืนยัน ที่จะใช้สันติวิธีในการต่อสู้
เรียกร้องประชาธิปไตยให้ประชาชนชาวพม่า
• คุณธรรมเด่นที่ใช้ : ความอดทน, ความเป็นนักสู้, ความเป็นผู้ตื่นรู้
การใช้คุณธรรมแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี
น้าใจและไมตรีไม่เพียงสามารถชนะใจคู่กรณีในความขัดแย้งระหว่างบุคคล
เท่านั้น หากยังมีอานุภาพแม้กระทั่งในความขัดแย้งระหว่างกลุ่มชนที่
ลุกลามจนกลายเป็นสงครามระหว่างกัน
พลังของน้าใจไมตรีและความดีนั้นอยู่ที่การดึงเอาคุณธรรมและความเป็น
มนุษย์ที่ซ่อนเร้นหรืออยู่ลึกของอีกฝ่ายหนึ่งออกมา
ในทางกลับกันการใช้พละกาลังและความรุนแรงมีแต่จะดึงเอาความโกรธ
เกลียดและคุณสมบัติทางลบของคู่กรณีออกมาปะทะกัน ผลก็คือความ
ขัดแย้งลุกลามจนกลายเป็นความรุนแรง หรือทาให้ความรุนแรงไต่ระดับจน
ยากแก่การระงับ
เวรไม่อาจระงับด้วยการจองเวรก็เพราะเหตุนี้
การใช้คุณธรรมแก้ไขความขัดแย้งโดยสันติวิธี
การผดุงรักษาความชอบธรรมในสังคม เป็นหน้าที่ทางศีลธรรมอย่างหนึ่งที่
จาเป็นสาหรับความสงบสุขในสังคม
การกระทาบางครั้งอาจจะท้าทายระเบียบประเพณีหรือกฎหมายบางส่วนจน
นาไปสู่ความขัดแย้งในสังคมก็ตาม แต่หากวิธีการที่ใช้นั้นเป็นสันติวิธีหรือ
ตั้งมั่นอยู่บนหลักการที่ถูกต้องชอบธรรม คือ นอกจากจะไม่ทาร้ายร่างกาย
หรือทรัพย์สินของคู่กรณี ไม่ใส่ร้ายหรือโกหกมดเท็จ เคารพในความคิดเห็น
และสิทธิอันพึงมีพึงได้ของคู่กรณี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่าในที่สุดสันติสุข
จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
วิธีการต่อสู้ความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
การชุมนุมโดยสงบ
การบอยคอตหรือคว่าบาตร เช่น การไม่ซื้อสินค้า ไม่ใช้บริการ
การนัดหยุดงาน (วิธีนี้จะได้ผลต้องอาศัยความพร้อมเพรียงและ
ใช้เวลานานนับเดือน)
ประณามความรุนแรงที่เกิดขึ้น เพื่อต่อต้านความไม่ชอบธรรม
การไม่ให้ความร่วมมือ
การดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติ เป็นต้น
Role
 Facilitators
 Mediators
 Mentors
 Directors
www.elifesara.com 76
ปรับตัวให้เข้ำกับสภำพแวดล้อม
 เมื่อคนมีความแตกต่างกัน ต้องเข้าใจความแตกต่าง
 การทางานเป็นทีมมีความสาคัญ
 การให้กลุ่มคนที่มีความแตกต่างกันมาทางานร่วมกันให้
บรรลุเป้าหมายนั้น
 การปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นได้ เป็นสิ่งที่ควรทาอย่างยิ่ง จะ
ช่วยให้มีความเข้าใจระหว่างกัน จะส่งผลให้การปฏิบัติงาน
เป็นไปอย่างราบรื่น และเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศในที่
ทางาน
จะเห็นภาครัฐมักจะพูดอยู่เสมอว่าทาถูกต้องตามขั้นตอน ตาม
กฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทาถูกต้อง
ทุกหน่วยงานทาถูกต้อง แล้วทาไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นาไปสู่ความ
ยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่ ความถูกต้องตามกฎหมาย
สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่ ทั้ง
ที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนาไปสู่ความยุติธรรมและ
ความมีคุณธรรมจริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลก
แยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
ww.elifesara.com
หลักกำรสันติวิธี
เข้าใจจุดยืน มุมมอง และเหตุผลของคู่กรณี
เห็นส่วนดีของคู่เจรจาไม่ว่าจะเป็นทัศนคติหรือพฤติกรรม
ลดอคติทาให้คู่กรณีตระหนักว่าได้รับการเคารพ
มองคู่เจรจาเป็นผู้ที่สามารถเป็นฝ่ายเดียวกับเราได้ หรือจะตกลงกันได้โดย
ได้รับประโยชน์ร่วมกัน
เจรจากับคู่เจรจาอย่างสุภาพเปิดเผย แม้การเจรจาจะไม่ประสบผลสาเร็จ แต่
จะทาให้การเจรจาครั้งต่อไปเกิดความร่วมมือกันได้ในอนาคต
ไม่ดูถูกหรือก้าวร้าว ด้วยสาคัญตนว่าเราเป็นฝ่ายถูกตลอดเวลา
79
ควำมรุนแรง ทำให้เกิดกำรแพ้ - ชนะ
สันติวิธี ทำให้เกิด ควำมสงบ ควำมสมำนฉันท์ และเกิด
ควำมพอใจร่วมกัน
ประสบการณ์ความขัดแย้งในต่างประเทศ
Ache Indonesia:
ความขัดแย้งกลับคืนสู่ความสงบ ให้
ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยจาก
ความขัดแย้ง การเยียวยา
หน่วยงาน BRA:Reintegration And
Peace Arrangement เป็นองค์กร
เอกชน ให้คาปรึกษาและให้ความ
ยุติธรรมทุกฝ่าย จ่ายเงินให้
ผู้เสียหายทุกฝ่าย ช่วยเหลืออดีต
นักโทษการเมือง ฟื้นฟูให้ผู้ที่สูญเสีย
บ้าน จ่ายค่าตอบแทนสาหรับ
ครอบครัวของผู้ประสบภัย
ดาเนินการโดยการใช้จ่ายงบประมาณ
ของรัฐบาลและทุนจาก USAID
GAM: ในอำเจะห์
www.kpi.ac.th
North Ireland:
แก้ความขัดแย้งทางการเมืองจากการต่อสู้ด้วยกาลัง
ทหารทั้งสองฝ่าย เริ่มต้นจากประชาชนถูกฆ่า 19 คน
กลับกลายเป็นการต่อสู้ที่ทั้งสองฝ่ายต้องสูญเสียเกือบสี่
พันคน ใช้เวลาหาความจริง ๓๗ ปี
www.kpi.ac.th
South Africa
www.kpi.ac.th
“หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่าถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่
“ การใช้อานาจจะต้องควบคู่กับความรัก ”
ควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งต้องมีผู้ที่รับกรรมที่เกิด ไม่มีใครได้อะไร
จำกควำมรุนแรง
88
Nelson Mandela
เริ่มมาจากการบินช้าๆ อย่างมีกระบวนการ เป็น
การบรรลุผลช้าๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแม้ว่า
คณะทางานต่างๆ จะมีความขัดแย้งไม่ลงรอยกัน
แต่ก็สามารถร่วมทางานในเชิงสร้างสรรค์กันได้
89
กรณีศึกษำควำมขัดแย้ง
Rwanda: รวันดา เป็นประเทศที่กาลังพัฒนา มีการคอรัปชั่นเหมือน
ประเทศไทยเรา ประชาชนยากจน อัตราการศึกษาของคนในชาติต่า การ
แบ่งปันทรัพยากรไม่เป็นธรรม สังคมขาดความยุติธรรม ความขัดแย้งจึงมีขึ้น
เป็นระยะ
วิทยุ ซึ่งเป็นสื่อสาคัญของรัฐที่เป็นชาวฮูตู โหมกระพือความขัดแย้ง "ความเกลียด
ชัง" และ "ความมัวเมาอานาจ"
Africa: กำรใช้อำนำจต้องควบคู่ไปกับควำมรัก : อดัม คาเฮน
(Adam Kahane) นักสันติวิธีโด่งดังจากการนากระบวนการ
สร้างฉากทัศน์อนาคต (scenario) มาช่วยสร้างสันติภาพในประเทศ
แอฟริกาใต้
91www.kpi.ac.th
Adam Kahene
“ควำมสันติและกำรรับมือกับควำมซับซ้อนในสังคม จะเกิดขึ้นได้จำก
กำรแก้ไขอย่ำงเป็นระบบ มีส่วนร่วมจำกทุกฝ่ำย เรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง
กำรสำนเสวนำ สร้ำงสัมผัสร่วมและผนึกจิตใจ(ควำมรัก)และอำนำจเข้ำ
ด้วย”
การฟังก็ต้องใส่ใจที่จะฟังในทุกรายละเอียด ไม่ใช่ฟังเพื่อตัดสินว่าเห็นด้วยหรือไม่
เห็นด้วย แต่ต้องพยายามสร้างความเข้าใจว่าทาไมถึงคิดแบบนั้น
92
Adam Kahene
ทักษะที่ขาดหาย
www.kpi.ac.th
93
หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่าถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่
ถ้ารัฐบาลไม่สามารถจัดการสถานการณ์ได้ ก็แก้ปัญหาไม่ยั่งยืน สุดท้ายทุกอย่างก็จะ
พังทลายพินาศยับเยิน
ปัญหาที่ซับซ้อน จาเป็นต้องแก้ไขเชิงพลวัต ต้องเข้าใจว่าไม่สามารถใช้กาลังมาแก้ไขได้
นาผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม ต้องหยั่งญาน หรือรับรู้เชิงลึกซึ้ง โดยเฉพาะการฟัง
และการพูด
การพูดซ้าๆ จะไม่มีอะไรใหม่ แต่เป็นการพูดในสิ่งที่ตัวเองอยากพูดเท่านั้น และก็จะไม่ได้
สร้างสรรค์สิ่งใหม่เช่นกัน
Adam Kahene
www.kpi.ac.th
94
อำดัม คำเฮน มองปัญหำเมืองไทย
 ไม่ใช่แค่ปัญหาเสื้อเหลืองเสื้อแดง เพราะมีความ
ซับซ้อนมากกว่านั้นและมีความลึกซึ้ง ไม่ใช่ปัญหา
ที่จะแก้ด้วยนักวิชาการหรือภาครัฐ แต่ต้องสร้าง
การมีส่วนร่วม ต้องใช้ทั้งความรักและอานาจ
www.kpi.ac.th
เพราะต้องไม่ลืมว่าท่ามกลางความขัดแย้งมี
ความโกรธ การแย่งอานาจกัน เมื่อมีการแบ่ง
ขั้วกันชัดเจนต้องหาว่าสิ่งใดดีที่สุดที่จะ
นามาใช้แก้ปัญหา
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านาสันติไปเป็นเครื่งมือเพื่อปราบปราม
ผู้คนโดยอ้างว่าเพื่อความมั่นคงในชาติ
สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติ
ภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
Nelson Mandela
เริ่มมาจากการบินช้าๆ อย่างมีกระบวนการ เป็น
การบรรลุผลช้าๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแม้ว่า
คณะทางานต่างๆ จะมีความขัดแย้งไม่ลงรอยกัน
แต่ก็สามารถร่วมทางานในเชิงสร้างสรรค์กันได้
96
กรณีศึกษำควำมขัดแย้ง
Rwanda: รวันดา เป็นประเทศที่กาลังพัฒนา มีการคอรัปชั่นเหมือน
ประเทศไทยเรา ประชาชนยากจน อัตราการศึกษาของคนในชาติต่า การ
แบ่งปันทรัพยากรไม่เป็นธรรม สังคมขาดความยุติธรรม ความขัดแย้งจึงมีขึ้น
เป็นระยะ
วิทยุ ซึ่งเป็นสื่อสาคัญของรัฐที่เป็นชาวฮูตู โหมกระพือความขัดแย้ง "ความเกลียด
ชัง" และ "ความมัวเมาอานาจ"
Africa: กำรใช้อำนำจต้องควบคู่ไปกับควำมรัก : อดัม คาเฮน
(Adam Kahane) นักสันติวิธีโด่งดังจากการนากระบวนการ
สร้างฉากทัศน์อนาคต (scenario) มาช่วยสร้างสันติภาพในประเทศ
แอฟริกาใต้
98www.kpi.ac.th
Adam Kahene
“ควำมสันติและกำรรับมือกับควำมซับซ้อนในสังคม จะเกิดขึ้นได้จำก
กำรแก้ไขอย่ำงเป็นระบบ มีส่วนร่วมจำกทุกฝ่ำย เรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง
กำรสำนเสวนำ สร้ำงสัมผัสร่วมและผนึกจิตใจ(ควำมรัก)และอำนำจเข้ำ
ด้วย”
การฟังก็ต้องใส่ใจที่จะฟังในทุกรายละเอียด ไม่ใช่ฟังเพื่อตัดสินว่าเห็นด้วยหรือไม่
เห็นด้วย แต่ต้องพยายามสร้างความเข้าใจว่าทาไมถึงคิดแบบนั้น
99
Adam Kahene
ทักษะที่ขาดหาย
www.kpi.ac.th
100
หากกระบวนการเปลี่ยนผ่านเร็วเกินไปก็จะไม่ได้ผล ถามว่าถ้ามีรัฐบาลแล้วจะยั่งยืนหรือไม่
ถ้ารัฐบาลไม่สามารถจัดการสถานการณ์ได้ ก็แก้ปัญหาไม่ยั่งยืน สุดท้ายทุกอย่างก็จะ
พังทลายพินาศยับเยิน
ปัญหาที่ซับซ้อน จาเป็นต้องแก้ไขเชิงพลวัต ต้องเข้าใจว่าไม่สามารถใช้กาลังมาแก้ไขได้
นาผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วม ต้องหยั่งญาน หรือรับรู้เชิงลึกซึ้ง โดยเฉพาะการฟัง
และการพูด
การพูดซ้าๆ จะไม่มีอะไรใหม่ แต่เป็นการพูดในสิ่งที่ตัวเองอยากพูดเท่านั้น และก็จะไม่ได้
สร้างสรรค์สิ่งใหม่เช่นกัน
Adam Kahene
www.kpi.ac.th
101
อำดัม คำเฮน มองปัญหำเมืองไทย
 ไม่ใช่แค่ปัญหาเสื้อเหลืองเสื้อแดง เพราะมีความ
ซับซ้อนมากกว่านั้นและมีความลึกซึ้ง ไม่ใช่ปัญหา
ที่จะแก้ด้วยนักวิชาการหรือภาครัฐ แต่ต้องสร้าง
การมีส่วนร่วม ต้องใช้ทั้งความรักและอานาจ
www.kpi.ac.th
เพราะต้องไม่ลืมว่าท่ามกลางความขัดแย้งมี
ความโกรธ การแย่งอานาจกัน เมื่อมีการแบ่ง
ขั้วกันชัดเจนต้องหาว่าสิ่งใดดีที่สุดที่จะ
นามาใช้แก้ปัญหา
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ อย่านาสันติไปเป็นเครื่งมือเพื่อปราบปราม
ผู้คนโดยอ้างว่าเพื่อความมั่นคงในชาติ
สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติ
ภาวะขึ้นได้ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
103
Mahatma Ghandi
ทุนทางสังคมวัฒนธรรม
ww.elifesara.com
104
กำรเรียนรู้เรื่องกำรจัดกำรควำมขัดแย้งในสังคมไทย
การใช้กาลังแก้ปัญหา เกิดต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคมและ
การเมืองจะสูง
ประสบการณ์ในอดีตจะเป็นคาตอบว่าจะเกิดอะไรในอนาคต
ควรศึกษารูปแบบในการจัดการปัญหาที่ผ่านมาในอดีตของ
ต่างประเทศและของไทย
ww.elifesara.com
105
ด้วยการกรีดเลือดและดื่มนาสาบาน ว่าจะ
เลิกแล้วต่อกันร่วมสร้างเมืองไว้เป็น
อนุสรณ์
จึงเกิดอาณาจักรกุมกาม
(นครเชียงใหม่ในปัจจุบัน)
เวียงกุมกาม สัญลักษณ์แห่งความปรองดอง
กษัตริย์ 3 พระองค์ ตกลงร่วมกัน
ที่จะไม่ทาศึกสงครามระหว่างกัน
หันหน้ามาให้สัตย์บันต่อกัน
ww.elifesara.com
โครงกำรเสื้อแตงโมสมำนฉันท์
คุณจันทรา ลิมิง ประธานกลุ่มปักจักร
บ้านบอเกาะ ต.สากอ อ.สุไหงปาดี จ.
นราธิวาส เป็นผู้นาสตรีมุสลิม
ชายแดนใต้ เมื่อปี ๒๕๕๐
ด้วยความสานึกในพระมหา
กรุณาธิคุณของล้นเกล้าฯทั้งสอง
พระองค์
พัฒนาการด้านอาชีพของกลุ่มแม่บ้าน
ฯ ที่ก้าวหน้าไปอย่างมาก จากอดีตที่
กลุ่มสตรีบ้านบอเกาะแห่งนี้ จากความ
ขัดแย้งกลับกลายเป็นสันติ
<date/time> <footer>
107www.kpi.ac.th
แตงโมสมานฉันท์
ww.elifesara.com
108ww.elifesara.com
ใครได้รับควำมเชื่อถือในชุมชน
ww.elifesara.com
กรรมกำรอนุญำโตตุลำกำร
ww.elifesara.com
กำรแก้ปัญหำ
ww.elifesara.com
ww.elifesara.com
จริยธรรมของนักสันติวิธี
 ต้องไม่ทาให้ความขัดแย้งนั้นเลวร้ายหรือขัดแย้งกันมาก
ขึ้น
 การเจรจาไกล่เกลี่ยไม่อาจสาเร็จโดยเราเพียงคนเดียว แต่
ต้องร่วมกันทาเป็นทีม
 อย่าคิดว่าความรู้ความสามารถที่เรามีเพียงพอ ต้องรับ
คาแนะนา คาให้การปรึกษา
 พัฒนาความรู้ตัวเองอยู่คลอดเวลา
(รศ.ดร.มาร์ค ตามไท)
ww.elifesara.com

More Related Content

What's hot

วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
Nat Ty
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
kulrisa777_999
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
plaplaruzzi
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
B'Ben Rattanarat
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
อิ่' เฉิ่ม
 
นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลี
Kingkarn Saowalak
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

Presentation kho phayam zero waste landmark (edited)
Presentation kho phayam zero waste landmark (edited)Presentation kho phayam zero waste landmark (edited)
Presentation kho phayam zero waste landmark (edited)
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชาหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบลงานนำเสนอไทย ตุกติก &  เบล
งานนำเสนอไทย ตุกติก & เบล
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสนศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
ศิลปะ ลพบุรี และ เชียงแสน
 

More from Taraya Srivilas

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1