SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
เกาะพยาม
ตาบลเกาะพยามเป็นตาบลหนึ่ง ของอาเภอเมืองระนอง จังหวัด
ระนอง ตั้งอยู่ในทะเลอันดามันทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาเภอเมือง
ระนองอยู่ห่างจากปากน้าระนองประมาณ 33 กิโลเมตร มีพื้นที่
ทั้งหมดประมาณ 34.7 ตารางกิโลเมตร (21,683.17 ไร่) แยกเป็น
หมู่ที่ 1 บ้านเกาะพยาม เนื้อที่ 16.60 ตาราง
กิโลเมตร (10,371,981 ไร่) หมู่ที่ 2 บ้านเกาะช้าง เนื้อ
ที่ 18.10 ตารางกิโลเมตร (11,311,190 ไร่)
การเดินทางมายังเกาะพยาม
travel to Kho Payam
เรือธรรมดา เริ่ม 9.30 น. และ
14.00 ท่าเรือเทศบาล และ 10.00
ท่าเรือแพไต๋แขก ค่าโดยสาร คนละ
200 บาท ใช้เวลาเดิน 2 ชั่วโมง
เรือเร็ว มี 3 บริษัทให้บริการ เริ่ม 7.00-
17.30 เรือออกทุกชั่วโมง ค่าโดยสาร คนละ
350 บาท ใช้เวลาเดิน 45 นาที เปิดบริการ
เฉพาะฤดูการท่องเที่ยว
เกาะพยาม ในวันวาน
เกาะพยาม เป็นเกาะขนาดใหญ่ ประกอบด้วยภูเขาขนาดย่อม ๆ มีป่าไม้เบญจ
พรรณ ยืนต้นกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ป่า จาพวกลิงค่าง
หมูป่า และบรรดานกนานาชนิด โดยเฉพาะ นกเงือก ซึ่งเป็นนกที่มีมากทั้งเกาะ
พยามและเกาะช้างส่วนสูงที่สุดของเกาะประมาณ 224 เมตร จากระดับน้าทะเล
สภาพรอบเกาะมีหาดทรายอยู่หลายแห่ง รวมทั้งระบบนิเวศน์ป่าชายเลน ซึ่งอยู่
ตอนในของอ่าวด้านตะวันออก แนวปะการัง ก่อตัวอย่างหนาแน่น บริเวณปีกอ่าว
ทั้งอ่าวตอนเหนือและตอนใต้
เกาะพยาม ในวันนี้
ปฏิเสธไม่ได้ว่า ความเจริญเป็นสิ่งที่ทุกคนต่างต้องการให้เกิดขึ้นในพื้นที่ของตัวเอง
เกาะพยาม ก็เช่นกัน ความนิยมที่เพิ่มขึ้นทุกปีจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว
ต่างประเทศ ธุรกิจท่องเที่ยว รีสอร์ท บังกะโลและความสะดวกสบายเพื่อรองรับคน
จานวนมากให้เข้ามาเยี่ยมชม จึงเพิ่มขึ้นมาอย่างรวดเร็ว เพื่อรายได้และชีวิตคาม
เป็นอยู่ที่ดีขึ้นของคนในพื้นที่ บางครั้งจึงต้องแลกมาด้วยปัญหาต่างๆที่ ชาวบ้านไม่
คุ้นเคย และจาเป็นต้องเผชิญ ปัญหาสาคัญนั้นคือ ปริมาณขยะ ที่เพิ่มขึ้นทุกวัน
ไปพร้อมกับจานวนคนที่เข้ามา แต่กลับสวนทางกับวิธีการจัดการอย่างถูกวิธี
ปัญหาขยะ บนเกาะพยาม
ตาบลเกาะพยาม เป็นองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก ไม่มีบริการเก็บขนและ
จัดการมูลฝอยอย่างถูกต้อง ดังนั้นการจัดการขยะมูลฝอย จึงเป็นหน้าที่ของชาวบ้านเองที่
ต้องจัดการกับขยะของตัวเอง แม้ประชากรในพื้นที่จะมีน้อย แต่จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ยิ่ง
คนมาก ขยะก็ยิ่งมาก ตามไปด้วย จึงเกิด ปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง ในพื้นที่เกาะพยาม
มากขึ้นเรื่อยๆ การจัดการมูลฝอยแบบไม่ถูกต้องของคนในพื้นที่ เช่น การเผาไหม้กลางแจ้ง การ
เทกอง การฝังกลบแบบไม่ถูกวิธี ส่งผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ยว เกิดสภาพที่สกปรกและยัง
ก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา เช่น แมลง กลิ่นเหม็นและน้าเสีย ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มรุนแรง
มากขึ้นตามจานวนนักท่องเที่ยวและการเพิ่มขึ้นของสถานประกอบการ หากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องไม่เร่งจัดการกับขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่ สภาพแวดล้อมอาจเสื่อมโทรม
ลงจนยากที่จะฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิมได้อีกต่อไป
นักท่องเที่ยวมากกว่า
50,000 คนต่อปี
100%
ของขยะถูกกาจัดอย่างไม่ถูกต้อง
นำมำสู่ปริมำณขยะกว่ำ
2,000 Kg/day
ขยะที่พบมากบนเกาะพยาม
เศษอาหาร
เศษอาหารเป็นองค์ประกอบที่พบมา
ที่สุดประมาณ 1 ตันต่อวัน
ใบไม้
ใบยางพาราจะมีมากในช่วงฤดูผลัดใบ
ช่วงปลายเดือนธันวาคมถึงเดือน
กุมภาพันธ์
ขวดพลาสติก
คิดเป็นประมาณร้อยละ 17 ของขยะที่
เกิดขึ้นทังหมด หรือ 350 กิโลกรัมต่อวัน
ซึ่งจะมีปริมาณมากในช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว
แก้ว
ขวดแก้วพบมากตามร้านอาหารหรือที่พักที่มีนัก
เที่ยวใช้บริการมากประมาณร้อยละ 4 ของขยะ
ทั้งหมดเป็นขวดแก้ว
ผ้า และอุปกรณ์การทาประมง
ประมาณ 1.40%หรือ 140
กิโลกรัมต่อวัน จะพบกระจายอยู่
บนชายหาด
โลหะ
มีประมาณร้อยละ 2หรือประมาณ
40 กิโลกรัมต่อวัน
วันนี้ชาวเกาะพยาม ต้องช่วยกันคิดว่าจะช่วยกันดูแลและรักษาอัตลักษณ์
ของความเป็นเกาะพยามอย่างไร เพราะชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวที่เกาะ
พยาม ต้องการมาดูวิถีชีวิตของชาวเกาะพยาม และธรรมชาติที่สวยงาม จึง
อยากเห็นเกาะพยาม คงสภาพความสวยงามไว้เพื่อการท่องเที่ยวอย่าง
ยั่งยืนต่อไป
นายธเนศ เครือรัตน์
ประธานคณะกรรมาธิการการท่องเที่ยวและกีฬา
สภาผู้แทนราษฏร
20 พ.ค. 2560
เกาะพยาม ในวันพรุ่งนี้......?
โครงการการจัดการมูลฝอยอย่างเหมาะสม
แบบชุมชนมีส่วนร่วม
พื้นที่เกาะพยาม จ.ระนอง
โดย
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดการ
ณ แห่งกาเนิด
การรวมรวม
โรงคัดแยกขยะ
ชุมชน
การเก็บขน
การบาบัด
การนากลับมาใช้
ประโยชน์
การทาปุ๋ยหมักใน
กล่องคอนเกรีต
การกาจัด
• บังคับใช้กฎหมายห้ามเผาบนเกาะ
• การคัดแยก
• ถังหมักปุ๋ยครัวเรือน
• รถอีแต๊กของชาวบ้าน
• รถจักรยานนักท่องเที่ยว
• ขยะอันตรายและขยะ
ทั่วไปที่ไม่สามารถรี
ไซเคิลได้นาขึ้นเรือ
บรรทุกขยะส่งไปกาจัด
บนฝั่ง
• ขยะอินทรีย์
• ขยะรีไซเคิล
• การนาขวดแก้วมาผสมคอนกรีต
• การประดิษฐ์เครื่องใช้จากขยะรีไซเคิล
การจัดการ ณ แหล่ง กาเนิด
• แสดงจุดยืน ให้การท่องเที่ยวบนเกาะพยาม เป็น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
(Eco-tourism) และอาณาเขตปลอดขยะ (Zero waste Landmark)
• นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวบนเกาะ จะต้อง ไม่นาโฟม ขวดแก้ว ถุงพลาสติก หรือขยะ
อื่นจากภายนอกเข้ามาบนเกาะ
• การสร้างเครือข่ายบ้านเรือน/โรงเรียน/ชุมชน/สถานประกอบการ
• สัญลักษณ์ ECO-business ในสถานประกอบการที่มีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็น ทางเลือกให้นักท่องเที่ยว ในการเลือกที่พัก
• สัญลักษณ์ Eco-home ให้กับบ้านตัวอย่างการจัดการมูลฝอยที่ดี
• มอบบัตร Eco-Traveler Card ให้กับนักท่องเที่ยวที่มา
เที่ยวบนเกาะและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมลดปัญหาขยะบนเกาะพยาม
เพื่อเป็นที่ระลึก และแลกของที่ระลึกกลับบ้าน พร้อมสามารถนามาใช้
เป็นบัตรใช้จักรยานบนเกาะได้ฟรีเมื่อเยี่ยมเยือนครั้งต่อไป
การจัดการ ณ แหล่ง กาเนิด
• ใช้ หลัก 3R
• ให้ความรู้และทาความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับ การแยกขยะในครัวเรือน
• ประชาสัมพันธ์ ทาความเข้าใจ และให้ความรู้เกี่ยวกับ อันตรายและ
ผลกระทบของการเผาอย่างไม่ถูกต้อง และบังคับใช้
กฎหมายห้ามเผา บนพื้นที่เกาะพยาม
• การคิดค่าจัดการขยะมูลฝอย จากสถานประกอบการในพื้นที่
การจัดการ ณ แหล่ง กาเนิด
การจัดการ ณ แหล่ง กาเนิด
หลักการง่ายๆในการจัดการปัญหาขยะ
• ลดการใช้
Reduce
• ใช้ซ้า
Reuse
• นากลับมา
ใช้ใหม่
Recycle
3R
การคัดแยกขยะ
แยกขยะออกเป็น 4 ประเภท
ตามหลักเกณฑ์ของกรมควบคุม
มลพิษ คือ
• ขยะรีไซเคิล
• ขยะย่อยสลายได้
• ขยะอันตราย
• ขยะรีไซเคิล
การจัดการ ณ
แหล่ง กาเนิด
การคัดแยกขยะ
แยกขยะออกเป็น 4 ประเภท
ตามหลักเกณฑ์ของกรมควบคุม
มลพิษ คือ
• ขยะรีไซเคิล
• ขยะย่อยสลายได้
• ขยะอันตราย
• ขยะรีไซเคิล
การจัดการ ณ
แหล่ง กาเนิด
การจัดการ ณ แหล่ง กาเนิด
การรวบรวม และ การเก็บขน
วางภาชนะรองรับขยะแบบแยกประเภทบริเวณพื้นที่สาธารณะ
หรือบริเวณที่มีประชากรและนักท่องเที่ยวอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
การรวบรวม และ การเก็บขน
• ใช้รถอีแต๋น ที่ออกแบบพิเศษ แทนการใช้รถเก็บขนขนาดใหญ่
เพื่อสะดวกในการเลี้ยวในถนนขนาดเล็กของชุมชนเกาะพยาม
• ใช้การเก็บขนแบบ Alley กาหนดจุดประจาซอย
• ความถี่ในการเก็บขน ทุกวัน วันละ 1 ครั้ง เวลา 05:00 น.
โรง คัด แยก มูลฝอย ชุมชน
การทาปุ๋ยหมัก
จากขยะโดยการฝังกลบในบ่อคอนกรีตชนิดกลม
ตามแนวพระราชดาริ
ลดกลิ่น ลดแมลง
ลดการเก็บขน ลดการใช้รถ
ใช้พื้นที่น้อย การดาเนินการง่าย
ต้นทุนการก่อสร้างน้อย
ได้วัสดุปรับปรุงคุณภาพดิน
การส่งไปกาจัดบนฝั่ง
ขยะทั่วไปที่เหลือจากการคัดแยกไม่สามารถกาจัดได้บนเกาะ และมูลฝอยอันตราย
หลังจากถูกนาเข้าเครื่องอัดก้อน และแพ็คห่อ จะถูกรวบรวมไว้ในโรงพักขยะ จะถูก
ลาเลียงลงเรือบรรทุกขยะ (Barge) เพื่อขนส่งไปกาจัดในหลุมฝังกลบของเมืองระนอง
อาจมีการขนส่งขยะรีไซเคิล เดือนละ 2 ครั้ง
มาเที่ยวแล้วดูแล
เกาะพยาม ด้วยกันนะคะ
thanks!
นางสาวพรมทิพย์ สมบูรณ์ 5710110303
นางสาวณัฐสุดา ยังยืนยง 5810110447
นางสาวอนัญญา จีระโร 5810110657
โดย
สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการการจัดการมูลฝอยอย่างเหมาะสม แบบชุมชนมีส่วนร่วม
พื้นที่เกาะพยาม จ.ระนอง
ให้....เกาะพยาม
ยังสวยทุกๆยาม

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)naruephak
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...hanhha12
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 

What's hot (20)

Luận văn: Nhà làm việc công ty LG Display Hải Phòng, HAY
Luận văn: Nhà làm việc công ty LG Display Hải Phòng, HAYLuận văn: Nhà làm việc công ty LG Display Hải Phòng, HAY
Luận văn: Nhà làm việc công ty LG Display Hải Phòng, HAY
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
Animal digestion
Animal digestionAnimal digestion
Animal digestion
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
Luận văn: Hành vi gây hấn của học sinh trường THCS tại Hà Nội
Luận văn: Hành vi gây hấn của học sinh trường THCS tại Hà NộiLuận văn: Hành vi gây hấn của học sinh trường THCS tại Hà Nội
Luận văn: Hành vi gây hấn của học sinh trường THCS tại Hà Nội
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...
CHA MẸ CHẤP NHẬN VÀ LÊN TIẾNG ỦNG HỘ QUYỀN CỦA CON LÀ NGƯỜI LGBT NHỮNG YẾU TỐ...
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 

Presentation kho phayam zero waste landmark (edited)