SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
ผลการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็ นเพื่อพัฒนาบุคลากร
ครูโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยเกี่ยวกับการบันทึก
 วีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง
                                    ์




           นางสาว สุกานดา จงเสริมตระกูล เลขประจาตัว 558 34439 27
แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                                  ้

ตอนที่ 2 ความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา
บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง
             ์

ตอนที่ 3 สภาพความเป็ นจริงในการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อ
จัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง
                  ์
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                                  ้
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ
                                                          ้
 แบบสอบถาม (n=54)

       ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                                ้              จานวน     ร้อยละ
เพศ
                         ชาย                    13       24.07

                         หญิง                   41       75.93

อายุ
                      ตากว่า 25 ปี
                       ่                         0        0.00

                       25-30 ปี                  7       12.96

                       31-35 ปี                  9       16.67

                       36-40 ปี                 15       27.78

                       41-45 ปี                  2        3.70

                       46-50 ปี                  4        7.41

                       51-55 ปี                 14       25.93

                  ตั้งแต่ 56 ปี ขึ้ นไป          3        5.56
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ
                                                           ้
  แบบสอบถาม (n=54)

         ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                                  ้              จานวน    ร้อยละ
ประสบการณ์ทางาน
                      น้อยกว่า 1 ปี                0       0.00

                         1-5 ปี                    8      14.81

                        6-10 ปี                   10      18.52

                      มากกว่า 10 ปี               36      66.67

ช่วงชั้นที่สอน
                 ช่วงชั้นที่ 1 (ป.1 - ป.3)        20      37.04

                 ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4 - ป.6)        10      18.52

                 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1 - ม.3)        10      18.52

                 ช่วงชั้นที่ 4(ม.4 - ม.6)         14      25.93
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ
                                                          ้
 แบบสอบถาม (n=54)




   ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                            ้              จานวน      ร้อยละ
ระดับการศึกษาสูงสุด
               ปริญญาตรี                    33         61.11
               ปริญญาโท                     20         37.04
            สูงกว่าปริญญาโท                  1         1.85
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ
                                                            ้
   แบบสอบถาม (n=54)

       ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม
                                ้              จานวน    ร้อยละ
กลุ่มสาระการเรียนรู ้
                      คณิตศาสตร์                11      20.37
                      วิทยาศาสตร์                5       9.26
                        ภาษาไทย                 12      22.22
                    ภาษาต่างประเทศ               8      14.81
               สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม      8      14.81
                      พลศึกษา                    0       0.00
               การงานอาชีพและเทคโนโลยี           6      11.11
                       ดนตรี                     1       1.85
                      แนะแนว                     1       1.85
                      ศาสนกิจ                    1       1.85
   จากตารางที่ 1 พบว่าผูตอบแบบสอบถามเป็ นเพศหญิงร้อยละ 75.93 เป็ น
                             ้
    เพศชายร้อยละ 24.07 อยูในช่วงอายุ 36-40 ปี มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ
                               ่
    27.78 เป็ นครูที่มีประสบการณ์ทางานมากกว่า 10 ปี มากที่สุด คิดเป็ นร้อย
    ละ 66.67 สอนอยูในช่วงชั้นที่ (ป.1-ป.3) มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ
                           ่
    37.04 มีระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 65.93
    และเป็ นครูที่สอนในกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทยมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ
                                          ้
    22.22
ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้อยละของการเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา/ดูงาน
เกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                                                     ์


    การเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา/ดูงาน    จานวน              ร้อยละ
                   เคย                      17                31.48
                  ไม่เคย                    37                68.52



   จากตารางที่ 2 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามเคย
    เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือดูงานเกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอน
    เพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 31.48 และไม่เคย
                           ์
    เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือดูงานเกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอน
    เพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 68.52
                             ์
ตอนที่ 2 ความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา
             บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง
                             ์
ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอ
  การสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                               ์

                           รายการ                                คิดว่า   ร้อยละ คิดว่าไม่ ร้อยละ
                                                                สามารถ           สามารถ
                                                                 ทาได้            ทาได้
1.รูปแบบการสร้ างวีดิโอช่วยสอนที่สามารถจัดกระทาด้ วยตนเองได้
ง่ายและเหมาะสมที่สด คือ การบันทึกวีดิโอโดยการจับภาพหน้ า
                      ุ                                           25      46.30     29      53.70

จอคอมพิวเตอร์ ประกอบเสียงบรรยาย
2.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกกิจกรรมบางส่วนหรื อทั ้งหมดที่
                                                                  26      48.15     28      51.85
เกิดขึ ้นบนหน้ าจอคอมพิวเตอร์
3.ปุ่ มควบคุมการบันทึก สามารถอานวยความสะดวกในการจับภาพ
                                                                  22      40.74     32      59.26
หน้ าจอ ในการเริ่มต้ น หยุด ดาเนินการต่อ และสิ ้นสุด
4.การจับภาพหน้ าจอสามารถทาร่ วมกับเสียงบรรยาย เสียงดนตรี
                                                                  21      38.89     33      61.11
บรรเลง และเสียงพิเศษ เช่น เสียงกริ่ง เสียงปรบมือ เป็ นต้ น
5.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกวีดิโอการขณะบรรยายจาก
                                                                  20      37.04     34      62.96
โปรแกรม Powerpoint
ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอ
    การสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                                 ์
                                รายการ                                        คิดว่า ร้อยละ คิดว่าไม่ ร้อยละ
                                                                             สามารถ         สามารถ
                                                                              ทาได้          ทาได้
6.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกการใช้ งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรื อ
                                                                               20     37.04     34     62.96
บันทึกภาพจากกล้ องเว็บแคม เพื่อทาวีดิโอบันทึกการสอนได้
7.การจับภาพหน้ าจอสามารถทางานร่ วมกับการเขียนด้ วยเม้ าส์ปากกา เพื่อ
                                                                               20     37.04     34     62.96
บันทึกการสอนด้ วยลายมือของผู้สอนโดยตรงได้
8.โปรแกรมที่ใช้ จบภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกไฟล์ได้ หลายรูปแบบ และ
                   ั
ส่งผลดีต่อการสร้ างสื่ออีเลิร์นนิงในด้ านที่สามารถบันทึกไฟล์ที่นาไปเผยแพร่     19     35.19     35     64.81

บนเว็บไซต์ได้
9.การใช้ ความรู้ในการจับภาพหน้ าจอร่ วมกับการเผยแพร่ วีดิโอบนเว็บไซต์ยู
ทูบ (youtube) สามารถสร้ างสื่อการเรี ยนการสอนอีเลิร์นนิงชนิดวีดิโอช่วย         25     46.30     29     53.70

สอนได้
10. ผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการตัดต่อวีดิโอ สามารถทาสื่อการเรี ยนการสอนอี
                                                                               16     29.63     38     70.37
เลิร์นนิงชนิดวีดิโอช่วยสอนได้
   จากตารางที่ 3 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามกว่า
    กึ่งหนึ่ งมีความคิดเห็นว่ารูปแบบการสร้างวีดิโอช่วยสอนที่สามารถจัดกระทา
    ด้วยตนเองได้งายและเหมาะสมที่สุด คือ การบันทึกวีดิโอโดยการจับภาพ
                      ่
    หน้าจอคอมพิวเตอร์ประกอบเสียงบรรยาย ไม่สามารถทาได้ คิดเป็ นร้อยละ
    53.70 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกกิจกรรมบางส่วนหรือ
    ทั้งหมดที่เกิดขึ้ นบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ คิดเป็ นร้อยละ 51.85 การใช้
    ความรูในการจับภาพหน้าจอร่วมกับการเผยแพร่วดิโอบนเว็บไซต์ยทบ
              ้                                      ี             ู ู
    (youtube) ไม่สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนอีเลิรนนิ งชนิ ดวีดิโอ
                                                             ์
    ช่วยสอนได้ คิดเป็ นร้อยละ 53.70
   (ต่อ) ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าปุ่ มควบคุมการบันทึก ไม่สามารถอานวยความสะดวกในการจับภาพ
    หน้าจอ ในการเริ่มต้น หยุด ดาเนิ นการต่อ และสิ้ นสุด คิดเป็ นร้อยละ 59.26 การจับภาพหน้าจอ
    ไม่สามารถทาร่วมกับเสียงบรรยาย เสียงดนตรีบรรเลง และเสียงพิเศษ เช่น เสียงกริ่ง เสียงปรบมือ
    เป็ นต้น คิดเป็ นร้อยละ 61.11 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกวีดิโอการขณะบรรยายจาก
    โปรแกรม Powerpoint คิดเป็ นร้อยละ 62.96 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกการใช้
    งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือบันทึกภาพจากกล้องเว็บแคม เพื่อทาวีดิโอบันทึกการสอนได้ คิดเป็ น
    ร้อยละ 62.96 การจับภาพหน้าจอไม่สามารถทางานร่วมกับการเขียนด้วยเม้าส์ปากกา เพื่อบันทึก
    การสอนด้วยลายมือของผูสอนโดยตรงได้ คิดเป็ นร้อยละ 62.96 โปรแกรมที่ใช้จบภาพหน้าจอ ไม่
                             ้                                                  ั
    สามารถบันทึกไฟล์ได้หลายรูปแบบ และไม่ส่งผลดีต่อการสร้างสื่ออีเลิรนนิ งในด้านที่สามารถบันทึก
                                                                       ์
    ไฟล์ที่นาไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ได้ คิดเป็ นร้อยละ 64.81 และส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าผูที่ไม่มี
                                                                                       ้
    ความรูดานการตัดต่อวีดิโอ ไม่สามารถทาสื่อการเรียนการสอนอีเลิรนนิ งชนิ ดวีดิโอช่วยสอนได้ คิด
            ้ ้                                                      ์
    เป็ นร้อยละ 70.37
ตอนที่ 3 สภาพความเป็ นจริงในการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อ
           จัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง
                             ์
ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้อยละของสภาพความเป็ นจริงในการ
  บันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                                           ์


                                รายการ                                จริง   ร้อยละ   ไม่จริง   ร้อยละ
1. โรงเรี ยนสนับสนุนการใช้ งานอีเลิร์นนิงในการจัดการเรี ยนการ
                                                                      49     90.74      5       9.26
สอน
2. ท่านมีการจัดการเรี ยนการสอนในรูปแบบอีเลิร์นนิงในรายวิชาที่
                                                                       8     14.81      46      85.19
สอนปั จจุบน  ั
3. ท่านรู้จกหรื อเคยใช้ งานระบบการจัดการเรี ยนการสอน (LMS)
           ั                                                           5     9.26       49      90.74
4. ท่านเคยนาสื่อวีดิโอทั ้งที่สืบค้ นมาหรื อจัดทาเองมาใช้ เป็ นสื่อ
                                                                      31     57.41      23      42.59
ประกอบการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน
5. ท่านเคยใช้ สื่อวีดิโอออนไลน์ในการให้ ผ้ เรี ยนทบทวนหลังเรี ยน
                                             ู
                                                                      12     22.22      42      77.78
หรื อศึกษาบทเรี ยนด้ วยตนเองจากบ้ าน
ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้อยละของสภาพความเป็ นจริงในการ
  บันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                                           ์


                              รายการ                                  จริง   ร้อยละ   ไม่จริง   ร้อยละ
6. ท่านเคยจัดทาสื่อวีดิโอแบบออฟไลน์ (offline)ด้ วยตนเอง               10     18.52      44      81.48
7. ท่านเคยจัดทาสื่อวีดิโอแบบออนไลน์ (online)ด้ วยตนเอง                 9     16.67      45      83.33
8. โรงเรี ยนเคยจัดการอบรมหรื อส่งท่านเข้ ารับการอบรมการจัดการ
                                                                      19     35.19      35      64.81
เรี ยนการสอนอีเลิร์นนิง
9. โรงเรี ยนเคยจัดการอบรมหรื อส่งท่านเข้ ารับการอบรมการสร้ างสื่อ
                                                                       8     14.81      46      85.19
การสอนในรูปแบบวีดิโอหรื อการจับภาพหน้ าจอเพื่อบันทึกการสอน
10. นักเรี ยนเคยขอให้ ท่านจัดทาวีดิโอบันทึกการสอนเพื่อใช้ ศกษาด้ วย
                                                           ึ
                                                                       6     11.11      48      88.89
ตนเองจากที่บ้าน
   จากตารางที่ 4 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามส่วน
    ใหญ่มีความเห็นว่าโรงเรียนสนับสนุ นการใช้งานอีเลิรนนิ งในการจัดการเรียน
                                                     ์
    การสอน คิดเป็ นร้อยละ 90.74 ครูส่วนใหญ่เคยนาสื่อวีดิโอทั้งที่สืบค้นมา
    หรือจัดทาเองมาใช้เป็ นสื่อประกอบการเรียนการสอนในห้องเรียน คิดเป็ น
    ร้อยละ 57.41
   (ต่อ)ครูส่วนใหญ่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบอีเลิรนนิ งในรายวิชาที่
                                                               ์
    สอนปั จจุบน คิดเป็ นร้อยละ 85.19 ครูส่วนใหญ่ไม่รจกหรือไม่เคยใช้งานระบบ
                 ั                                      ู้ ั
    การจัดการเรียนการสอน (LMS) คิดเป็ นร้อยละ 90.74 ครูส่วนใหญ่ไม่เคย
    ใช้สื่อวีดิโอออนไลน์ในการให้ผเู้ รียนทบทวนหลังเรียนหรือศึกษาบทเรียนด้วย
    ตนเองจากบ้าน คิดเป็ นร้อยละ 77.78 ครูส่วนใหญ่ไม่เคยจัดทาสื่อวีดิโอทั้งแบบ
    ออฟไลน์และแบบออนไลน์ดวยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 81.48 และ 83.33
                               ้
    ตามลาดับ ในด้านการจัดอบรมครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าโรงเรียนไม่เคย
    จัดการอบรมหรือไม่เคยส่งครูเข้ารับการอบรมการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ ง์
    และการอบรมการสร้างสื่อการสอนในรูปแบบวีดิโอหรือการจับภาพหน้าจอเพื่อ
    บันทึกการสอน คิดเป็ นร้อยละ 64.81 และร้อยละ 85.19 ตามลาดับ และครู
    ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่านักเรียนไม่เคยขอให้ท่านจัดทาวีดิโอบันทึกการสอน
    เพื่อใช้ศึกษาด้วยตนเองจากที่บาน คิดเป็ นร้อยละ 88.89
                                     ้
ตารางที่ 5 แสดงจานวนและร้อยละของความคิดเห็นของครูในการเข้าร่วมการจัด
อบรมการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54)
                                                ์


             ความคิดเห็น                 จานวน            ร้อยละ
               เข้าร่วม                   54              100.00
              ไม่เข้าร่วม                  0               0.00




   จากตารางที่ 5 ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามทุกคนมี
    ความต้องการเข้าร่วมการจัดอบรมการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา
    บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 100.00
                 ์

More Related Content

What's hot

รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4sopa sangsuy
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6sopa sangsuy
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์Por Oraya Moungmontree
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 

What's hot (18)

รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
ชุดการเรียนรู้ชุดที่7
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
ชุดการเรียนรู้ชุดที่5
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
ชุดการเรียนรู้ชุดที่ 4
 
Learning management plan 3
Learning management plan 3Learning management plan 3
Learning management plan 3
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
ชุดการเรียนรู้ชุดที่6
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 

Similar to ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา

ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามpingkung
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2krupornpana55
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนthkitiya
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1Narinpho
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1pooming
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)Sircom Smarnbua
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 

Similar to ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา (20)

ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
K msecues
K msecuesK msecues
K msecues
 
K msecues
K msecuesK msecues
K msecues
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
ผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียนผลการพัฒนาผู้เรียน
ผลการพัฒนาผู้เรียน
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557  (ยังไม่สมบูรณ์)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2557 (ยังไม่สมบูรณ์)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 

ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนา

  • 2. แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้ ตอนที่ 2 ความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง ์ ตอนที่ 3 สภาพความเป็ นจริงในการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อ จัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง ์
  • 3. ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้
  • 4. ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ ้ แบบสอบถาม (n=54) ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้ จานวน ร้อยละ เพศ ชาย 13 24.07 หญิง 41 75.93 อายุ ตากว่า 25 ปี ่ 0 0.00 25-30 ปี 7 12.96 31-35 ปี 9 16.67 36-40 ปี 15 27.78 41-45 ปี 2 3.70 46-50 ปี 4 7.41 51-55 ปี 14 25.93 ตั้งแต่ 56 ปี ขึ้ นไป 3 5.56
  • 5. ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ ้ แบบสอบถาม (n=54) ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้ จานวน ร้อยละ ประสบการณ์ทางาน น้อยกว่า 1 ปี 0 0.00 1-5 ปี 8 14.81 6-10 ปี 10 18.52 มากกว่า 10 ปี 36 66.67 ช่วงชั้นที่สอน ช่วงชั้นที่ 1 (ป.1 - ป.3) 20 37.04 ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4 - ป.6) 10 18.52 ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1 - ม.3) 10 18.52 ช่วงชั้นที่ 4(ม.4 - ม.6) 14 25.93
  • 6. ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ ้ แบบสอบถาม (n=54) ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้ จานวน ร้อยละ ระดับการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี 33 61.11 ปริญญาโท 20 37.04 สูงกว่าปริญญาโท 1 1.85
  • 7. ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบ ้ แบบสอบถาม (n=54) ข้อมูลพื้ นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ้ จานวน ร้อยละ กลุ่มสาระการเรียนรู ้ คณิตศาสตร์ 11 20.37 วิทยาศาสตร์ 5 9.26 ภาษาไทย 12 22.22 ภาษาต่างประเทศ 8 14.81 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 8 14.81 พลศึกษา 0 0.00 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 11.11 ดนตรี 1 1.85 แนะแนว 1 1.85 ศาสนกิจ 1 1.85
  • 8. จากตารางที่ 1 พบว่าผูตอบแบบสอบถามเป็ นเพศหญิงร้อยละ 75.93 เป็ น ้ เพศชายร้อยละ 24.07 อยูในช่วงอายุ 36-40 ปี มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ ่ 27.78 เป็ นครูที่มีประสบการณ์ทางานมากกว่า 10 ปี มากที่สุด คิดเป็ นร้อย ละ 66.67 สอนอยูในช่วงชั้นที่ (ป.1-ป.3) มากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ ่ 37.04 มีระดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดับปริญญาตรี คิดเป็ นร้อยละ 65.93 และเป็ นครูที่สอนในกลุ่มสาระการเรียนรูภาษาไทยมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ ้ 22.22
  • 9. ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้อยละของการเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา/ดูงาน เกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ การเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา/ดูงาน จานวน ร้อยละ เคย 17 31.48 ไม่เคย 37 68.52  จากตารางที่ 2 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามเคย เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือดูงานเกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอน เพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 31.48 และไม่เคย ์ เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือดูงานเกี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอน เพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 68.52 ์
  • 10. ตอนที่ 2 ความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง ์
  • 11. ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอ การสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ รายการ คิดว่า ร้อยละ คิดว่าไม่ ร้อยละ สามารถ สามารถ ทาได้ ทาได้ 1.รูปแบบการสร้ างวีดิโอช่วยสอนที่สามารถจัดกระทาด้ วยตนเองได้ ง่ายและเหมาะสมที่สด คือ การบันทึกวีดิโอโดยการจับภาพหน้ า ุ 25 46.30 29 53.70 จอคอมพิวเตอร์ ประกอบเสียงบรรยาย 2.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกกิจกรรมบางส่วนหรื อทั ้งหมดที่ 26 48.15 28 51.85 เกิดขึ ้นบนหน้ าจอคอมพิวเตอร์ 3.ปุ่ มควบคุมการบันทึก สามารถอานวยความสะดวกในการจับภาพ 22 40.74 32 59.26 หน้ าจอ ในการเริ่มต้ น หยุด ดาเนินการต่อ และสิ ้นสุด 4.การจับภาพหน้ าจอสามารถทาร่ วมกับเสียงบรรยาย เสียงดนตรี 21 38.89 33 61.11 บรรเลง และเสียงพิเศษ เช่น เสียงกริ่ง เสียงปรบมือ เป็ นต้ น 5.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกวีดิโอการขณะบรรยายจาก 20 37.04 34 62.96 โปรแกรม Powerpoint
  • 12. ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของความรูเ้ กี่ยวกับการบันทึกวีดิโอ การสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ รายการ คิดว่า ร้อยละ คิดว่าไม่ ร้อยละ สามารถ สามารถ ทาได้ ทาได้ 6.การจับภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกการใช้ งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรื อ 20 37.04 34 62.96 บันทึกภาพจากกล้ องเว็บแคม เพื่อทาวีดิโอบันทึกการสอนได้ 7.การจับภาพหน้ าจอสามารถทางานร่ วมกับการเขียนด้ วยเม้ าส์ปากกา เพื่อ 20 37.04 34 62.96 บันทึกการสอนด้ วยลายมือของผู้สอนโดยตรงได้ 8.โปรแกรมที่ใช้ จบภาพหน้ าจอ สามารถบันทึกไฟล์ได้ หลายรูปแบบ และ ั ส่งผลดีต่อการสร้ างสื่ออีเลิร์นนิงในด้ านที่สามารถบันทึกไฟล์ที่นาไปเผยแพร่ 19 35.19 35 64.81 บนเว็บไซต์ได้ 9.การใช้ ความรู้ในการจับภาพหน้ าจอร่ วมกับการเผยแพร่ วีดิโอบนเว็บไซต์ยู ทูบ (youtube) สามารถสร้ างสื่อการเรี ยนการสอนอีเลิร์นนิงชนิดวีดิโอช่วย 25 46.30 29 53.70 สอนได้ 10. ผู้ที่ไม่มีความรู้ด้านการตัดต่อวีดิโอ สามารถทาสื่อการเรี ยนการสอนอี 16 29.63 38 70.37 เลิร์นนิงชนิดวีดิโอช่วยสอนได้
  • 13. จากตารางที่ 3 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามกว่า กึ่งหนึ่ งมีความคิดเห็นว่ารูปแบบการสร้างวีดิโอช่วยสอนที่สามารถจัดกระทา ด้วยตนเองได้งายและเหมาะสมที่สุด คือ การบันทึกวีดิโอโดยการจับภาพ ่ หน้าจอคอมพิวเตอร์ประกอบเสียงบรรยาย ไม่สามารถทาได้ คิดเป็ นร้อยละ 53.70 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกกิจกรรมบางส่วนหรือ ทั้งหมดที่เกิดขึ้ นบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ คิดเป็ นร้อยละ 51.85 การใช้ ความรูในการจับภาพหน้าจอร่วมกับการเผยแพร่วดิโอบนเว็บไซต์ยทบ ้ ี ู ู (youtube) ไม่สามารถสร้างสื่อการเรียนการสอนอีเลิรนนิ งชนิ ดวีดิโอ ์ ช่วยสอนได้ คิดเป็ นร้อยละ 53.70
  • 14. (ต่อ) ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าปุ่ มควบคุมการบันทึก ไม่สามารถอานวยความสะดวกในการจับภาพ หน้าจอ ในการเริ่มต้น หยุด ดาเนิ นการต่อ และสิ้ นสุด คิดเป็ นร้อยละ 59.26 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถทาร่วมกับเสียงบรรยาย เสียงดนตรีบรรเลง และเสียงพิเศษ เช่น เสียงกริ่ง เสียงปรบมือ เป็ นต้น คิดเป็ นร้อยละ 61.11 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกวีดิโอการขณะบรรยายจาก โปรแกรม Powerpoint คิดเป็ นร้อยละ 62.96 การจับภาพหน้าจอ ไม่สามารถบันทึกการใช้ งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือบันทึกภาพจากกล้องเว็บแคม เพื่อทาวีดิโอบันทึกการสอนได้ คิดเป็ น ร้อยละ 62.96 การจับภาพหน้าจอไม่สามารถทางานร่วมกับการเขียนด้วยเม้าส์ปากกา เพื่อบันทึก การสอนด้วยลายมือของผูสอนโดยตรงได้ คิดเป็ นร้อยละ 62.96 โปรแกรมที่ใช้จบภาพหน้าจอ ไม่ ้ ั สามารถบันทึกไฟล์ได้หลายรูปแบบ และไม่ส่งผลดีต่อการสร้างสื่ออีเลิรนนิ งในด้านที่สามารถบันทึก ์ ไฟล์ที่นาไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ได้ คิดเป็ นร้อยละ 64.81 และส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าผูที่ไม่มี ้ ความรูดานการตัดต่อวีดิโอ ไม่สามารถทาสื่อการเรียนการสอนอีเลิรนนิ งชนิ ดวีดิโอช่วยสอนได้ คิด ้ ้ ์ เป็ นร้อยละ 70.37
  • 15. ตอนที่ 3 สภาพความเป็ นจริงในการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อ จัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง ์
  • 16. ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้อยละของสภาพความเป็ นจริงในการ บันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ รายการ จริง ร้อยละ ไม่จริง ร้อยละ 1. โรงเรี ยนสนับสนุนการใช้ งานอีเลิร์นนิงในการจัดการเรี ยนการ 49 90.74 5 9.26 สอน 2. ท่านมีการจัดการเรี ยนการสอนในรูปแบบอีเลิร์นนิงในรายวิชาที่ 8 14.81 46 85.19 สอนปั จจุบน ั 3. ท่านรู้จกหรื อเคยใช้ งานระบบการจัดการเรี ยนการสอน (LMS) ั 5 9.26 49 90.74 4. ท่านเคยนาสื่อวีดิโอทั ้งที่สืบค้ นมาหรื อจัดทาเองมาใช้ เป็ นสื่อ 31 57.41 23 42.59 ประกอบการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน 5. ท่านเคยใช้ สื่อวีดิโอออนไลน์ในการให้ ผ้ เรี ยนทบทวนหลังเรี ยน ู 12 22.22 42 77.78 หรื อศึกษาบทเรี ยนด้ วยตนเองจากบ้ าน
  • 17. ตารางที่ 4 แสดงจานวนและร้อยละของสภาพความเป็ นจริงในการ บันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ รายการ จริง ร้อยละ ไม่จริง ร้อยละ 6. ท่านเคยจัดทาสื่อวีดิโอแบบออฟไลน์ (offline)ด้ วยตนเอง 10 18.52 44 81.48 7. ท่านเคยจัดทาสื่อวีดิโอแบบออนไลน์ (online)ด้ วยตนเอง 9 16.67 45 83.33 8. โรงเรี ยนเคยจัดการอบรมหรื อส่งท่านเข้ ารับการอบรมการจัดการ 19 35.19 35 64.81 เรี ยนการสอนอีเลิร์นนิง 9. โรงเรี ยนเคยจัดการอบรมหรื อส่งท่านเข้ ารับการอบรมการสร้ างสื่อ 8 14.81 46 85.19 การสอนในรูปแบบวีดิโอหรื อการจับภาพหน้ าจอเพื่อบันทึกการสอน 10. นักเรี ยนเคยขอให้ ท่านจัดทาวีดิโอบันทึกการสอนเพื่อใช้ ศกษาด้ วย ึ 6 11.11 48 88.89 ตนเองจากที่บ้าน
  • 18. จากตารางที่ 4 พบว่า ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่มีความเห็นว่าโรงเรียนสนับสนุ นการใช้งานอีเลิรนนิ งในการจัดการเรียน ์ การสอน คิดเป็ นร้อยละ 90.74 ครูส่วนใหญ่เคยนาสื่อวีดิโอทั้งที่สืบค้นมา หรือจัดทาเองมาใช้เป็ นสื่อประกอบการเรียนการสอนในห้องเรียน คิดเป็ น ร้อยละ 57.41
  • 19. (ต่อ)ครูส่วนใหญ่ไม่มีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบอีเลิรนนิ งในรายวิชาที่ ์ สอนปั จจุบน คิดเป็ นร้อยละ 85.19 ครูส่วนใหญ่ไม่รจกหรือไม่เคยใช้งานระบบ ั ู้ ั การจัดการเรียนการสอน (LMS) คิดเป็ นร้อยละ 90.74 ครูส่วนใหญ่ไม่เคย ใช้สื่อวีดิโอออนไลน์ในการให้ผเู้ รียนทบทวนหลังเรียนหรือศึกษาบทเรียนด้วย ตนเองจากบ้าน คิดเป็ นร้อยละ 77.78 ครูส่วนใหญ่ไม่เคยจัดทาสื่อวีดิโอทั้งแบบ ออฟไลน์และแบบออนไลน์ดวยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 81.48 และ 83.33 ้ ตามลาดับ ในด้านการจัดอบรมครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าโรงเรียนไม่เคย จัดการอบรมหรือไม่เคยส่งครูเข้ารับการอบรมการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ ง์ และการอบรมการสร้างสื่อการสอนในรูปแบบวีดิโอหรือการจับภาพหน้าจอเพื่อ บันทึกการสอน คิดเป็ นร้อยละ 64.81 และร้อยละ 85.19 ตามลาดับ และครู ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่านักเรียนไม่เคยขอให้ท่านจัดทาวีดิโอบันทึกการสอน เพื่อใช้ศึกษาด้วยตนเองจากที่บาน คิดเป็ นร้อยละ 88.89 ้
  • 20. ตารางที่ 5 แสดงจานวนและร้อยละของความคิดเห็นของครูในการเข้าร่วมการจัด อบรมการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทาบทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง (n=54) ์ ความคิดเห็น จานวน ร้อยละ เข้าร่วม 54 100.00 ไม่เข้าร่วม 0 0.00  จากตารางที่ 5 ครูโรงเรียนกรุงเทพวิทยาลัยที่ตอบแบบสอบถามทุกคนมี ความต้องการเข้าร่วมการจัดอบรมการบันทึกวีดิโอการสอนเพื่อจัดทา บทเรียนอีเลิรนนิ งด้วยตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ์