SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ
แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของ
ประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหาร
ประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค
โลกาภิวัฒน์ ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต
ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการ
พัฒนา ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และต้องประกอบไปด้วยสองเงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี
พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการ
มองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความ
ยั่งยืนของการพัฒนา
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดย
เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย ที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการ
กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
ทั้งใกล้ และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง
ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 2
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
1) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
2) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงจากแนวคิด
3 ห่วง 2 เงื่อนไข สามารถสาระสาคัญได้ดังนี้
 พอประมาณ
- มีความพอประมาณทางด้านจิตใจ จะเห็นได้ว่าจากการสรุปบทที่ 6 เมื่อเริ่มมีการเข้ามาของ
นายทุน ทาให้การใช้ชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนไปส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนค่อยๆ
ล่มสลาย แต่เมื่อเวลาผ่านไปชาวบ้านตระหนักได้ถึงความเปลี่ยนแปลงนี้ จะได้ว่าเกิด
จิตสานึกต่อส่วนรวมของชาวบ้าน
- ความพอประมาณทางด้านสังคม ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นญาติพี่น้องกันเมื่อเกิดการ
เปลี่ยนแปลงมาใช่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จะเกิดการแน่นแฟ้นของชุมชนมากยิ่งขึ้น
 ความมีเหตุมีผล
- ชาวบ้านพยายามที่จะลดการเข้ามาของทุนนิยม โดยการพึ่งพาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
โดยยังคงยึดถืออาชีพดั้งเดิมคือ การเกษตร และประมงพื้นบ้าน ไม่ใช้เทคโนโลยีมากไปหรือ
หลงใหลไปกับทุนนิยม
 มีภูมิคุ้มกัน
- ภูมิปัญญา ชาวบ้านมีความรอบคอบเท่าทันกับทุนนิยม และหันกลับมาใช้แนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง
- ภูมิธรรม ขยันในงานและประกอบอาชีพสุจริต
 ความรู้
- มีการผสมผสานระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กับกระแสหลักมาประยุกต์ใช้ควบคู่กัน
ไปทาให้ได้ผลมากยิ่งขึ้น
 คุณธรรม
- การที่ชาวบ้านหันมาใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะส่งผลต่อประโยชน์ส่วนรวมของของ
บุคคลในชุมชน
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
การเชื่อมโยงฐานคิดการพัฒนาเพื่อความพอเพียงกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
 ความมีเหตุผล
- ไม่หยุดนิ่งที่จะหาหนทางในชีวิต เพื่อหลุดพ้นจากความยากลาบาก ด้วยการสร้างพลังทาง
สังคม โดยการประสานงานจากหลากหลายฝ่าย เช่น ภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน
นักวิชาการ สื่อมวลชน เป็นต้น
 ภูมิคุ้มกัน
- ภูมิปัญญา มีการวิจัยและพัฒนา ใช้ความรู้เพื่อให้ธุรกิจชุมชนมีความครบวงจรมากขึ้น
- ภูมิธรรม มีการส่งเสริมการรวมกลุ่ม เพื่อสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการเรียนรู้ที่มี
คุณภาพ
 พอประมาณ
- พอดีด้านสังคม การรวมกลุ่มกันของชุมชนทาให้มีความเข้มแข็ง เมื่อมีปัญหาก็สามารถ
ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันได้
- พอดีด้านเศรษฐกิจ ยึดถือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตามขั้นตอนทฤษฎีใหม่ โดยการชีวิต
อย่างเป็นกลาง ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
 ความรู้
- ใช้กิจกรรมของชุมชุมเป็นเครื่องมือสร้างการเรียนรู้ และนาความรู้ที่ได้มาเผื่อวางแผนพัฒนา
ชุมชนต่อไป
 คุณธรรม
- ส่งเสริมให้บุคคลในชุมชนมีคุณธรรม จริยธรรม
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
 พอประมาณ
- มีความพอประมาณทางด้านสังคม จะเห็นได้ว่าจากการสรุปบทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเน้นการตอบสนองความต้องการบริโภคอย่างพอเพียงและยั่งยืน โดยไม่จาเป็นต้อง
บริโภคผลผลิตจากการผลิตของตนเองเพียงเท่านั้น แต่สามารถนาผลผลิตของตนไป
แลกเปลี่ยนผลผลิตอื่น ทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกันในชุมชนในการแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน
 ความมีเหตุมีผล
- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของเศรษฐกิจ เน้น การผลิต การบริโภค การ
แลกเปลี่ยน และการจัดสรรผลผลิต ทาให้ทั้งหมดอยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง ไม่โลภ
ไม่เอาเปรียบกัน
 มีภูมิคุ้มกัน
- ภูมิปัญญา ชุมชนสามารถตอบสนองความต้องการบริโภคได้
- ภูมิธรรม สอนให้เราอยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง
 ความรู้
- มีการผสมผสานระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กับ
การตอบสนองความต้องการบริโภคควบคู่กันทาให้ได้ผลที่เด่นชัด เข้าใจง่าย
 คุณธรรม
- ชุมชนใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในมุมมองของกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น จะส่งผลต่อ
ประโยชน์ส่วนรวมของบุคคลในชุมชน ทาให้ลดความต้องการที่สูงเกินได้
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 6
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของชุมชนกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
 พอประมาณ
- ในช่วงแรกจะเห็นว่า ชาวบ้านอยู่กันอย่างเอื้ออาทร ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการแบ่งปัน
อาหารกัน พึ่งพาอาศัยกัน วิถีการผลิตเป็นการพึ่งพิงธรรมชาติและใช้ประโยชน์จาก
ธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า
 ความมีเหตุมีผล
- ในช่วง (ยุคการเข้ามาของพืชเศรษฐกิจ) ช่วงนี้จะเห็นได้ชัดเจนว่าความมีเหตุผล ค่อนข้าง
ผิดเพี้ยนไป เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่จะผลิตแบบกระแสหลักคือ การผลิตเพื่อขาย นาเงินมา
ซื้อสินค้าที่ต้องการ เมื่อไม่มีเงินก็เป็นหนี้เป็นสินกัน แต่ภายหลังต่อมาความมีเหตุมีผลก็
เกิดขึ้นในเรื่องของการเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิมและการเลี้ยงกุ้แบบพัฒนา เพราะไม่ใช้สารเคมีใน
การเลี้ยงดู ยึดถืออาชีพดั้งเดิมคือ การเกษตรและประมงพื้นบ้าน
 มีภูมิคุ้มกัน
- ชาวบ้านมีความเอื้ออาทรกัน การทาอาชีพต่างๆ ก็อาศัยแรงงานซึ่งกันและกันเป็นทุนทาง
สังคมอย่างหนึ่ง การแบ่งปันแลกเปลี่ยนสินค้าที่ได้มา เพื่อความหลากหลายโดยไม่ต้องใช้
เงินซื้อ การประกอบอาชีพที่สุจริต
 ความรู้
- มีการผสมผสานในพื้นที่หลัก เช่นมีการปลูกสวนผลไม้หลากหลายชนิด ทานาเลี้ยงกุ้งและ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้า รวมถึงการค้าขาย
 คุณธรรม
- ซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีการเบียดเบียนในการทางาน จ้างคนมากรีดยางก็จ่ายตามราคาที่ได้ตกลง
กันไว้ มีความขยันอดทน มีการแบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันในชุมชน
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 7
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
1. สวนผลไม้
ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพและมีรายได้หลักจากสวน
ผลไม้ จานวนทั้งสิ้น 7 ราย พบว่าในชุมชนมีการปลูกไม้ผลเศรษฐกิจประเภท เงาะ ทุเรียน สัปปะรด เป็น
ส่วนมาก นอกจากนั้นเป็นการปลูกแซมในพื้นที่ มีพืชผักผลไม้ผสมผสานกัน เช่น มังคุด ลองกอง
ลางสาด ระกา สละ ชมพู
 การมีเหตุมีผล
- มีการจัดการเงินให้เพียงพอ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 5,000-20,000 บาท ซึ่งเป็นค่าปุ๋ย ค่า
ยาฆ่าแมลง ค่าไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง
 ความพอเพียง
- ใช้ปุ๋ยจากธรรมชาติ โดยไม่ต้องใช้สารเคมีและไม่ต้องเสียเงินซื้อปุ๋ย การใช้จ่ายอย่าง
ประหยัดพอเพียง ให้อยู่ได้ในแต่ละครอบครัว
 ภูมิคุ้มกัน
- แรงงานที่ใช้งานส่วนใหญ่เป็นคนในครอบครัว จ้างคนที่รับจ้างโดยไม่เอาเปรียบ เบียดเบียน
คนงาน
 คุณธรรม
- ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน
 ความรู้
- มีภูมิปัญญาของชาวสวนที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือการใช้ลูกเหม็นใส่ขวดน้าพลาสติกแขวน
ไว้ที่กิ่งไม้ โคนต้นไม้ เพื่อให้กลิ่นลูกเหม็นกระจายไปทั่วจนปลายต้น ใช้ลูกเหม็นไล่แมลง
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 8
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
2. ประมงจับสัตว์น้า
ในการศึกษาพบว่าสวนใหญ่ทาประมงอย่างเดียว ทาให้มีฐานะยากจนเพราะมีรายได้น้อยมาก
และใน 1 เดือนชาวบ้านมีรายได้เพียง 15 วันเท่านั้น
 ความพอเพียง
- มีปัจจัยในการผลิตในเรื่องของเงินทุนอยู่บ้าง คือต้องนาเงินไปลงทุนซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ
โดยเป็นการลงทุนแบบครั้งเดียว
 ภูมิคุ้มกัน
- มีการจัดเรือลาดตระเวน ดูแลรักษาป่า โดยชาวประมงช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
 คุณธรรม
- มีการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์และพัฒนาป่าชายเลนที่เกิดขึ้นมาจากการรวมตัวของคนในหมู่บ้าน
กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
3. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (นากุ้งและเลี้ยงปู ปลา)
จากกลุ่มตัวอย่าง มีการทานากุ้งแบบธรรมชาติ การทานากุ้งแบบพัฒนา และการเลี้ยงปู ปลาใน
บ่อ โดยเฉพาะการทานากุ้งแบบพัฒนา ลงทุนบ่อหนึ่งไม่ต่ากว่า 100,000 บาท
 การมีเหตุมีผล
- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงปลาเก๋า ปูดา ปูไข่ เนื่องจากกาลังซื้อในตลาดมี
ค่อนข้างสูง มีเหตุมีผลในการเลือกที่จะเพาะเลี้ยงพันธุ์สัตว์น้า
 ความพอเพียง
- มีการจัดการในเรื่องของเงินทุน โดยเงินทุนส่วนใหญ่ได้มาจากการเป็นลูกหนี้ของ ธกส.
แทบทั้งสิ้น แต่มีการจัดสันเงินที่ดี เมื่อขายกุ้งได้มาแล้วก็มีเงินไปจ่ายหนี้ที่ยืมจาก ธกส. ได้
 ภูมิคุ้มกัน
- การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ในตอนกลางคืนต้องมีการเฝ้าระวังคนภายนอกมาขโมย โดยในชุมชน
มีการบอกกล่าวกัน ให้รู้ทั่วชุมชนว่ามีบุคคลภายนอกเข้ามาอยู่ในชุมชนเรา
 คุณธรรม
- การซื้อขายในราคาที่เป็นธรรม ทั้งการค้าขายแบบผ่านพ่อค้าคนกลางและการขายโดยตรง
เองที่ตลาด โดยราคาที่ขายเป็นราคาที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน
 ความรู้
- น้าที่ใช้ในคลองเพราะต้องมีการระบายน้าเข้าออกอยู่บ่อย ๆ เพื่อป้องกันกุ้งที่เป็นโรคติดต่อ
ไหลเข้ามาลุกลามในบ่อ
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 9
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
4. อาชีพทาสวนยางพารา
ในอาชีพนี้ จะทางานได้เพียง 10 เดือนใน 1 ปี คือช่วงที่น้ายางออกมากและฝนไม่ตก แต่หากผู้ที่
ตัดสินใจจะปลูกยางพาราแล้ว ต้องรออยู่ 6-7 ปีเพื่อให้ต้นยางโตพร้อมให้ผลผลิตในรูปแบบน้ายาง
 การมีเหตุมีผล
- กรีดยางในช่วงที่ยางนั้นให้น้ายางมาก โดยมี 2 เดือนในหนึ่งปี ที่ไม่มีการกรีดยางเลย
 ความพอเพียง
- หากตัดสินใจลงทุนในการปลูกยางแล้ว ต้องรอนานถึง 6-7 ปี ในช่วงนั้นจะไม่มีรายได้จึง
จาเป็นต้องหารายได้ด้วยวิธีอื่นเช่นรับจ้างกรีดยาง รับจ้างทั่วไปเพื่อเลี้ยงชีพและดูแลสวนใน
ช่วงแรก ๆ
 ภูมิคุ้มกัน
- คนรับจ้างกรีดยาง คือคนที่รู้จักกันเสียส่วนใหญ่ โดยวานจ้างแล้วให้ค่าตอบแทนเป็นเชิงทุน
ทางสังคม
 คุณธรรม
- การขายมี 2 แบบคือการเป็นน้ายางดิบ และขายแบบยางแผ่น ส่วนใหญ่จะขายผ่านพ่อค้า
คนกลางเข้ามารับที่สวน การต่อรองราคาเป็นธรรมกับผู้ซื้อและผู้ขาย
 ความรู้
- มีการใช้อุปกรณ์ คือเครื่องรีดยาง เพื่อนาน้ายางเปลี่ยนเป็นยางแผ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าของ
ผลผลิต
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับหมู่บ้านเปร็ดใน
ช่วงการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของหมู่บ้านเปร็ดใน สามารถแบ่งได้เป็นสามช่วงใหญ่ ๆ ได้คือ
ช่วงแรกเป็นช่วงที่วิถีชีวิตเป็นรูปแบบดั้งเดิม เป็นวิถีชีวิตแบบยังไม่มีเทคโนโลยีและการพัฒนาเศรษฐกิจ
ในรูปแบบตะวันตก ช่วงต่อมาคือเป็นช่วงที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจในรูปแบบตะวันตก ซึ่งจะทาให้วิถีชีวิต
ของชาวบ้านและสภาพทรัพยากรของหมู่บ้านเปลี่ยนแปลงไปมาก และช่วงในปัจจุบันนี้จะเป็นช่วงที่มี
การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เริ่มมีการย้อนกลับมาใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมโดยมีการคานึงถึง
ทรัพยากรธรรมชาติด้วย
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 10
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงวิถีชีวิตดั้งเดิม
ในการใช้ชีวิตของชาวบ้านในอดีต จะเป็นลักษณะของสังคมเกษตรกรรมที่มีการทานาข้าวเป็น
หลัก โดยจะเป็นการทานาบนที่ลุ่มเพื่อการบริโภค รวมถึงพืชผักตามบ้านอื่น ๆ อีกด้วย นอกจากนี้ยังมี
การเลี้ยงสัตว์ และจับสัตว์ในป่าสัตว์ทะเลเพื่อการบริโภคเช่นกัน โดยผู้คนในหมู่บ้านจะมีการดาเนินชีวิต
แบบไม่ได้คานึงถึงเรื่องสภาพทรัพยากร แต่ด้วยรูปแบบการใช้ชีวิตแบบนี้ ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ
ภายในหมู่บ้านมีการฟื้นฟูตามฤดูกาล
วิถีชีวิตของผู้คนในอดีต เป็นการใช้ชีวิตในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงค่อนข้างชัดเจนมาก โดย
ทรัพยากรทางธรรมชาติของหมูบ้านเปร็ดในนี้ มีความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางธรรมชาติ
มาก รูปแบบการดาเนินตามวิถีชีวิตของผู้คนในหมู่บ้าน จะผูกพันกันด้วยการทามาหาเลี้ยงครอบครัวใน
ชุมชน
การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ
 ความพอเพียง
- ในการดาเนินชีวิตของชาวบ้านในสมัยนั้นจะเป็นการดาเนินชีวิตในแบบหาเลี้ยงเพื่อยังชีพ
โดยไม่ได้คานึงถึงการซื้อขายเพื่อทากาไร รูปแบบการใช้ชีวิตของชาวบ้าน จึงยังมีการ
แบ่งปันภายในชุมชนอยู่ การทาการเกษตรสมัยนั้นก็เป็นไปในรูปแบบของการยังชีพเป็น
ส่วนใหญ่เช่นกัน
 ความมีเหตุผล
- ในการดาเนินชีวิตของชาวบ้านในหมู่บ้าน จะใช้การสังเกตสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ
การรับข่าวสารจากคนในชุมชนเสียส่วนมาก การดาเนินชีวิตจะเป็นไปตาม ๆ กันภายใน
ชุมชน โดยไม่ได้คานึงถึงเหตุผลมากมาย เนื่องจากว่าสภาพทรัพยากรของหมู่บ้านยังมี
ความอุดมสมบูรณ์มาก การใช้ทรัพยากรของคนในหมู่บ้านจึงไม่ได้รับการดูแลเท่าไหร่
 การมีภูมิคุ้มกัน
- ความสัมพันธ์ภายในชุมชนของคนในหมู่บ้านมีความแน่นแฟ้น และมีการช่วยเหลือเกื้อกูล
กันอยู่มากมาย ทาให้มีภูมิคุ้มกันเรื่องความสัมพันธ์ของคนชุมชนมีมาก เรื่องภูมิคุ้มกันเรื่อง
ทรัพยากรธรรมชาติมีความชัดเจนมากที่สุด เพราะเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม
สมบูรณ์ และไม่มีการทาลายทรัพยากรป่าไม้และทะเล จึงทาให้สามารถคงความอุดม
สมบูรณ์อยู่ไว้ได้
 เงื่อนไขความรู้
- เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้ยังไม่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในช่วงเวลานี้ เนื่องจากการ
ดาเนินชีวิตยังเป็นแบบวิถีดั้งเดิมที่สืบทอดกันมา ความรู้ที่สืบทอดมานั้นอาจจะไม่เป็นผลดี
ต่อความยั่งยืนในระยะยาวได้ แต่ว่าอาศัยจากประสบการณ์และการสังเกตสิ่งแวดล้อม
ภายในหมู่บ้าน ทาให้มีความเข้าใจและปรับตัวใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 11
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
 เงื่อนไขคุณธรรม
- ด้วยความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้านนั้นยังมีความเกื้อกูลและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ความมี
น้าใจต่อกันเป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนในช่วงสมัยวิถีชีวิตดั้งเดิม
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ
วิถีชีวิตของชาวบ้านมีความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก เมื่อมีการพัฒนาประเทศโดยมุ่งเน้นการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงมีการนาเข้าของเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทาการเกษตร เริ่มมีการปลูก
พืชเศรษฐกิจเช่น ยางพารา เงาะ ทุเรียน เป็นต้น รวมถึงเทคโนโลยีในการทาประมงอีกด้วย เนื่องจากมี
ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์จึงมีการเข้ามาของบริษัทเอกชน ส่งผลให้มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
และบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนมากมาย ทาให้ทรัพยากรเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จากนั้นมีการเข้ามาของ
กลุ่มนายทุนที่มาทานากุ้งโดยสุดท้ายไม่สาเร็จผลก็ปล่อยที่ดินทิ้งร้างไว้ก็มี การดารงชีวิตของชาวบ้าน
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมายจากวิถีชีวิตแบบผลิต เพื่อบริโภคกลายเป็นผลิตเพื่อกาไร ความสัมพันธ์
ภายในหมู่บ้านลดลง
การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ
 ความพอเพียง
- ในช่วงนี้ลักษณะการใช้ชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการประกอบอาชีพแบบที่ค้า
กาไรมากขึ้น ชาวบ้านเน้นการใช้ชีวิตแบบวัตถุนิยมและทาให้เกิดหนี้สินอย่างมากมาย
ภายในครัวเรือน จนทาให้เกิดปัญหาในการใช้ชีวิตจนเกิดการกู้ยืมให้เกิดเป็นหนี้สินพอกพูน
มากขึ้นไปอีก
 ความมีเหตุผล
- การใช้ชีวิตของชาวบ้านในช่วงนี้จะเป็นการใช้ชีวิตเป็นรูปแบบของวัตถุนิยม มีการมุ่งเน้นไป
ในเรื่องของเรื่องเงินทุนซะมากกว่า ในแง่ของเหตุผลนั้นจะมองไปในแง่ของการพัฒนาด้าน
คุณภาพชีวิตโดยอาศัยเงินทุนเสียส่วนใหญ่ โดยไม่คานึงถึงหนี้สินและเรื่องอื่นๆที่จะตามมา
อีกทั้งมีการให้ข้อมูลจากนายทุนหรือบริษัทเอกชนที่ส่งเสริมให้มีการให้ชาวบ้านทา
การเกษตรเชิงเดี่ยวแบบเน้นผลกาไรอีกด้วย
 การมีภูมิคุ้มกัน
- ความสัมพันธ์ภายในชุมชนของคนในหมู่บ้านจะค่อยๆลดลงไปเรื่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถึงกับแบ่ง
แยกกันไปฝ่ายๆไป แต่ในยังมีคนกลุ่มหนึ่งที่มีการรวมกลุ่มขึ้นมาเพื่อทาการขับไล่นายทุนที่
เข้ามารุกรานพื้นที่ป่าชายเลนนั้น เป็นการสร้างความสัมพันธ์ภายในชุมชุนไปในทิศทางที่ดี
และได้สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นภายในชุมชนอีกครั้ง อีกทั้งกลุ่มนี้ยังทาหน้าที่เป็นส่วนที่
ทาการให้ความรู้แก่ชาวบ้านอื่นๆในชุมชนหรือนอกชุมชนอีกด้วย
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 12
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
 เงื่อนไขความรู้
- เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้จะได้มาจากเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยรวมถึงข้อมูลข่าวสารที่
มีมากขึ้น แต่กลับไม่ได้รับการกลั่นกรองมาก่อน จึงสามารถรับข้อมูลแบบผิดๆมาได้ แต่
ภายหลังมีการรวมกลุ่มต่อต้านนายทุน ข้อมูลข่าวสารต่างๆของชาวบ้านจึงได้รับการคัด
กรอง รวมถึงมีการให้ความรู้ถึงเรื่องการเสื่อมโทรมของทรัพยากรภายในหมู่บ้านเพื่อให้เกิด
การแก้ไขอีกด้วย
 เงื่อนไขคุณธรรม
- ด้วยความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไปภายในหมู่บ้าน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความเกื้อกูลกัน
ภายในหมู่บ้านมีการลดลงอย่างมาก ส่วนมากจะแยกย้ายกันประกอบอาชีพกัน รวมถึงเกิด
การทุจริตกันภายในหมู่บ้านระหว่างนายทุนกับชาวบ้านซึ่งจะส่งผลเสียกลับมามากมาย
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
สภาพทรัพยากรภายในหมู่บ้านได้เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็วหลังจากมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุน
และบริษัทเอกชน ชาวบ้านบางส่วนได้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและมีการรวมกลุ่มเพื่อขับไล่กลุ่มนายทุน
เหล่านี้ออกไป โดยจะมีการให้ความรู้แก่ชาวบ้านถึงเรื่องสภาพของทรัพยากร จนนาไปสู่ความร่วมมือกัน
ในการช่วยกันฟื้นฟูทรัพยากรขึ้นมา โดยขั้นตอนของการให้ความรู้นั้นจะใช้เวลาค่อนข้างนานเพราะผู้คน
ยังยึดติดการใช้ชีวิตรูปแบบเก่าอยู่ แต่ในปัจจุบันนั้นกลุ่มชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสาคัญและได้ฟื้นฟู
ต่อมาเรื่อยๆจนกระทั่งสภาพทรัพยากรได้กลับมาเกือบจะสมบูรณ์เหมือนเดิม
การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ
 ความพอเพียง
- เนื่องจากชาวบ้านหลายคนในหมู่บ้าน ประสบภาวะหนี้สินกันจากเศรษฐกิจแบบวัตถุนิยม
บางส่วนที่ได้รับความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้
ชีวิตมาสู่วิถีดั้งเดิมมากขึ้น แต่ก็มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามยุคสมัยและเทคโนโลยี แต่
จะไม่ฟุ้งเฟ้อแบบเมื่อก่อน
 ความมีเหตุผล
- เนื่องจากการผ่านประสบการณ์การเป็นหนี้สินมาแล้ว การใช้ชีวิตของชาวบ้านจึงเริ่มมี
เหตุผลมากขึ้น เริ่มมีการมองถึงอนาคต และสภาพทรัพยากรรอบตัวมากขึ้น และด้วยมีการ
ให้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงจากวิทยากรและเทคโนโลยีต่าง ๆ ทาให้มีการใช้ชีวิตที่
ระมัดระวังและมีเหตุผลมากขึ้น
สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 13
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”
 การมีภูมิคุ้มกัน
- การจัดตั้งสัจจะสะสมทรัพย์นั้นเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านการเงิน ทาให้มีการออม
ทรัพย์กันเกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน เพื่อทาการแก้ไขปัญหาเรื่องหนี้สินของชาวบ้าน ทาให้
หมู่บ้านไม่ต้องพึ่งแหล่งการเงินภายนอกหมู่บ้าน รวมถึงกลุ่มอื่น ๆ ที่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อ
ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าชายเลน ป่าไม้ภายในหมู่บ้าน และให้ความรู้แก่ชุมชนใน
เรื่องต่าง ๆ อีกด้วย
 เงื่อนไขความรู้
- เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้จะได้มาจากเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยรวมถึงข้อมูลข่าวสารที่
มีมากขึ้น รวมถึงยังมีสื่อการเรียนรู้มากมายที่เข้ามาภายในชุมชน ทาให้ชาวบ้านเข้าถึง
ข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆ มากขึ้นกว่าเดิม
 เงื่อนไขคุณธรรม
- ความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้านมีการกลับมาแน่นแฟ้นเหมือนเดิม จากการตั้งกลุ่มสัจจะ
สะสมทรัพย์นั้น จาเป็นต้องมีความโปร่งใสในการบริหารงาน เพราะฉะนั้น ความซื่อสัตย์ใน
การบริหารงานจึงได้รับการปลูกฝังมาเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน
จัดทาโดย
1. นายประเมธ สุขหอม 54211819 INC
2. นายวรรธนสิน เงาสว่างจิต 54211826 INC
3. นายวิฤทธิ์พล สิริเศรษฐนนท์ 54211842 INC
4. นางสาวศรินรัตน์ สังขพันธ์ 54211843 INC
5. นายอัศดาวุธ ฉายเรืองเกียรติ 54211846 INC
6. นางสาวอุมา การุณธนกุล 54211847 INC
7. นายอนิวรรต วิสุทธิแพทย์ 54218655 INC
8. นายณัชพล กฤษณรักษ์ปาณี 54218666 INC
9. นายปฐวี งาประสาน 54218629 INC
หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”

More Related Content

Similar to บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKruhy LoveOnly
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGGreat
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 

Similar to บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง

  • 1. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหาร ประเทศให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุค โลกาภิวัฒน์ ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการ พัฒนา ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และต้องประกอบไปด้วยสองเงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการ มองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความ ยั่งยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดย เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้ 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน ตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย ที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่า จะเกิดขึ้นจากการ กระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งใกล้ และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
  • 2. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 2 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” 1) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ 2) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี
  • 3. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของหนังสือกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงจากแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สามารถสาระสาคัญได้ดังนี้  พอประมาณ - มีความพอประมาณทางด้านจิตใจ จะเห็นได้ว่าจากการสรุปบทที่ 6 เมื่อเริ่มมีการเข้ามาของ นายทุน ทาให้การใช้ชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนไปส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนค่อยๆ ล่มสลาย แต่เมื่อเวลาผ่านไปชาวบ้านตระหนักได้ถึงความเปลี่ยนแปลงนี้ จะได้ว่าเกิด จิตสานึกต่อส่วนรวมของชาวบ้าน - ความพอประมาณทางด้านสังคม ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นญาติพี่น้องกันเมื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงมาใช่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง จะเกิดการแน่นแฟ้นของชุมชนมากยิ่งขึ้น  ความมีเหตุมีผล - ชาวบ้านพยายามที่จะลดการเข้ามาของทุนนิยม โดยการพึ่งพาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยยังคงยึดถืออาชีพดั้งเดิมคือ การเกษตร และประมงพื้นบ้าน ไม่ใช้เทคโนโลยีมากไปหรือ หลงใหลไปกับทุนนิยม  มีภูมิคุ้มกัน - ภูมิปัญญา ชาวบ้านมีความรอบคอบเท่าทันกับทุนนิยม และหันกลับมาใช้แนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง - ภูมิธรรม ขยันในงานและประกอบอาชีพสุจริต  ความรู้ - มีการผสมผสานระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง กับกระแสหลักมาประยุกต์ใช้ควบคู่กัน ไปทาให้ได้ผลมากยิ่งขึ้น  คุณธรรม - การที่ชาวบ้านหันมาใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะส่งผลต่อประโยชน์ส่วนรวมของของ บุคคลในชุมชน
  • 4. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” การเชื่อมโยงฐานคิดการพัฒนาเพื่อความพอเพียงกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข  ความมีเหตุผล - ไม่หยุดนิ่งที่จะหาหนทางในชีวิต เพื่อหลุดพ้นจากความยากลาบาก ด้วยการสร้างพลังทาง สังคม โดยการประสานงานจากหลากหลายฝ่าย เช่น ภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน เป็นต้น  ภูมิคุ้มกัน - ภูมิปัญญา มีการวิจัยและพัฒนา ใช้ความรู้เพื่อให้ธุรกิจชุมชนมีความครบวงจรมากขึ้น - ภูมิธรรม มีการส่งเสริมการรวมกลุ่ม เพื่อสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการเรียนรู้ที่มี คุณภาพ  พอประมาณ - พอดีด้านสังคม การรวมกลุ่มกันของชุมชนทาให้มีความเข้มแข็ง เมื่อมีปัญหาก็สามารถ ช่วยเหลือ เกื้อกูลกันได้ - พอดีด้านเศรษฐกิจ ยึดถือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ตามขั้นตอนทฤษฎีใหม่ โดยการชีวิต อย่างเป็นกลาง ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เบียดเบียนผู้อื่น  ความรู้ - ใช้กิจกรรมของชุมชุมเป็นเครื่องมือสร้างการเรียนรู้ และนาความรู้ที่ได้มาเผื่อวางแผนพัฒนา ชุมชนต่อไป  คุณธรรม - ส่งเสริมให้บุคคลในชุมชนมีคุณธรรม จริยธรรม
  • 5. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 5 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข  พอประมาณ - มีความพอประมาณทางด้านสังคม จะเห็นได้ว่าจากการสรุปบทที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเน้นการตอบสนองความต้องการบริโภคอย่างพอเพียงและยั่งยืน โดยไม่จาเป็นต้อง บริโภคผลผลิตจากการผลิตของตนเองเพียงเท่านั้น แต่สามารถนาผลผลิตของตนไป แลกเปลี่ยนผลผลิตอื่น ทาให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกันในชุมชนในการแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน  ความมีเหตุมีผล - ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของเศรษฐกิจ เน้น การผลิต การบริโภค การ แลกเปลี่ยน และการจัดสรรผลผลิต ทาให้ทั้งหมดอยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง ไม่โลภ ไม่เอาเปรียบกัน  มีภูมิคุ้มกัน - ภูมิปัญญา ชุมชนสามารถตอบสนองความต้องการบริโภคได้ - ภูมิธรรม สอนให้เราอยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง  ความรู้ - มีการผสมผสานระหว่าง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กับ การตอบสนองความต้องการบริโภคควบคู่กันทาให้ได้ผลที่เด่นชัด เข้าใจง่าย  คุณธรรม - ชุมชนใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในมุมมองของกิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น จะส่งผลต่อ ประโยชน์ส่วนรวมของบุคคลในชุมชน ทาให้ลดความต้องการที่สูงเกินได้
  • 6. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 6 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของชุมชนกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข  พอประมาณ - ในช่วงแรกจะเห็นว่า ชาวบ้านอยู่กันอย่างเอื้ออาทร ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีการแบ่งปัน อาหารกัน พึ่งพาอาศัยกัน วิถีการผลิตเป็นการพึ่งพิงธรรมชาติและใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า  ความมีเหตุมีผล - ในช่วง (ยุคการเข้ามาของพืชเศรษฐกิจ) ช่วงนี้จะเห็นได้ชัดเจนว่าความมีเหตุผล ค่อนข้าง ผิดเพี้ยนไป เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่จะผลิตแบบกระแสหลักคือ การผลิตเพื่อขาย นาเงินมา ซื้อสินค้าที่ต้องการ เมื่อไม่มีเงินก็เป็นหนี้เป็นสินกัน แต่ภายหลังต่อมาความมีเหตุมีผลก็ เกิดขึ้นในเรื่องของการเลี้ยงกุ้งแบบดั้งเดิมและการเลี้ยงกุ้แบบพัฒนา เพราะไม่ใช้สารเคมีใน การเลี้ยงดู ยึดถืออาชีพดั้งเดิมคือ การเกษตรและประมงพื้นบ้าน  มีภูมิคุ้มกัน - ชาวบ้านมีความเอื้ออาทรกัน การทาอาชีพต่างๆ ก็อาศัยแรงงานซึ่งกันและกันเป็นทุนทาง สังคมอย่างหนึ่ง การแบ่งปันแลกเปลี่ยนสินค้าที่ได้มา เพื่อความหลากหลายโดยไม่ต้องใช้ เงินซื้อ การประกอบอาชีพที่สุจริต  ความรู้ - มีการผสมผสานในพื้นที่หลัก เช่นมีการปลูกสวนผลไม้หลากหลายชนิด ทานาเลี้ยงกุ้งและ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า รวมถึงการค้าขาย  คุณธรรม - ซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีการเบียดเบียนในการทางาน จ้างคนมากรีดยางก็จ่ายตามราคาที่ได้ตกลง กันไว้ มีความขยันอดทน มีการแบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันในชุมชน
  • 7. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 7 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 1. สวนผลไม้ ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ประกอบอาชีพและมีรายได้หลักจากสวน ผลไม้ จานวนทั้งสิ้น 7 ราย พบว่าในชุมชนมีการปลูกไม้ผลเศรษฐกิจประเภท เงาะ ทุเรียน สัปปะรด เป็น ส่วนมาก นอกจากนั้นเป็นการปลูกแซมในพื้นที่ มีพืชผักผลไม้ผสมผสานกัน เช่น มังคุด ลองกอง ลางสาด ระกา สละ ชมพู  การมีเหตุมีผล - มีการจัดการเงินให้เพียงพอ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 5,000-20,000 บาท ซึ่งเป็นค่าปุ๋ย ค่า ยาฆ่าแมลง ค่าไฟฟ้า ค่าน้ามันเชื้อเพลิง  ความพอเพียง - ใช้ปุ๋ยจากธรรมชาติ โดยไม่ต้องใช้สารเคมีและไม่ต้องเสียเงินซื้อปุ๋ย การใช้จ่ายอย่าง ประหยัดพอเพียง ให้อยู่ได้ในแต่ละครอบครัว  ภูมิคุ้มกัน - แรงงานที่ใช้งานส่วนใหญ่เป็นคนในครอบครัว จ้างคนที่รับจ้างโดยไม่เอาเปรียบ เบียดเบียน คนงาน  คุณธรรม - ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน  ความรู้ - มีภูมิปัญญาของชาวสวนที่เห็นได้อย่างชัดเจนก็คือการใช้ลูกเหม็นใส่ขวดน้าพลาสติกแขวน ไว้ที่กิ่งไม้ โคนต้นไม้ เพื่อให้กลิ่นลูกเหม็นกระจายไปทั่วจนปลายต้น ใช้ลูกเหม็นไล่แมลง
  • 8. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 8 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 2. ประมงจับสัตว์น้า ในการศึกษาพบว่าสวนใหญ่ทาประมงอย่างเดียว ทาให้มีฐานะยากจนเพราะมีรายได้น้อยมาก และใน 1 เดือนชาวบ้านมีรายได้เพียง 15 วันเท่านั้น  ความพอเพียง - มีปัจจัยในการผลิตในเรื่องของเงินทุนอยู่บ้าง คือต้องนาเงินไปลงทุนซื้ออุปกรณ์เครื่องมือ โดยเป็นการลงทุนแบบครั้งเดียว  ภูมิคุ้มกัน - มีการจัดเรือลาดตระเวน ดูแลรักษาป่า โดยชาวประมงช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  คุณธรรม - มีการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์และพัฒนาป่าชายเลนที่เกิดขึ้นมาจากการรวมตัวของคนในหมู่บ้าน กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 3. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (นากุ้งและเลี้ยงปู ปลา) จากกลุ่มตัวอย่าง มีการทานากุ้งแบบธรรมชาติ การทานากุ้งแบบพัฒนา และการเลี้ยงปู ปลาใน บ่อ โดยเฉพาะการทานากุ้งแบบพัฒนา ลงทุนบ่อหนึ่งไม่ต่ากว่า 100,000 บาท  การมีเหตุมีผล - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ส่วนใหญ่เป็นการเลี้ยงปลาเก๋า ปูดา ปูไข่ เนื่องจากกาลังซื้อในตลาดมี ค่อนข้างสูง มีเหตุมีผลในการเลือกที่จะเพาะเลี้ยงพันธุ์สัตว์น้า  ความพอเพียง - มีการจัดการในเรื่องของเงินทุน โดยเงินทุนส่วนใหญ่ได้มาจากการเป็นลูกหนี้ของ ธกส. แทบทั้งสิ้น แต่มีการจัดสันเงินที่ดี เมื่อขายกุ้งได้มาแล้วก็มีเงินไปจ่ายหนี้ที่ยืมจาก ธกส. ได้  ภูมิคุ้มกัน - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ในตอนกลางคืนต้องมีการเฝ้าระวังคนภายนอกมาขโมย โดยในชุมชน มีการบอกกล่าวกัน ให้รู้ทั่วชุมชนว่ามีบุคคลภายนอกเข้ามาอยู่ในชุมชนเรา  คุณธรรม - การซื้อขายในราคาที่เป็นธรรม ทั้งการค้าขายแบบผ่านพ่อค้าคนกลางและการขายโดยตรง เองที่ตลาด โดยราคาที่ขายเป็นราคาที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน  ความรู้ - น้าที่ใช้ในคลองเพราะต้องมีการระบายน้าเข้าออกอยู่บ่อย ๆ เพื่อป้องกันกุ้งที่เป็นโรคติดต่อ ไหลเข้ามาลุกลามในบ่อ
  • 9. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 9 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” กลุ่มอาชีพที่แสดงให้เห็นว่ามีกิจกรรมทางเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเด่นชัดกับแนวคิด 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4. อาชีพทาสวนยางพารา ในอาชีพนี้ จะทางานได้เพียง 10 เดือนใน 1 ปี คือช่วงที่น้ายางออกมากและฝนไม่ตก แต่หากผู้ที่ ตัดสินใจจะปลูกยางพาราแล้ว ต้องรออยู่ 6-7 ปีเพื่อให้ต้นยางโตพร้อมให้ผลผลิตในรูปแบบน้ายาง  การมีเหตุมีผล - กรีดยางในช่วงที่ยางนั้นให้น้ายางมาก โดยมี 2 เดือนในหนึ่งปี ที่ไม่มีการกรีดยางเลย  ความพอเพียง - หากตัดสินใจลงทุนในการปลูกยางแล้ว ต้องรอนานถึง 6-7 ปี ในช่วงนั้นจะไม่มีรายได้จึง จาเป็นต้องหารายได้ด้วยวิธีอื่นเช่นรับจ้างกรีดยาง รับจ้างทั่วไปเพื่อเลี้ยงชีพและดูแลสวนใน ช่วงแรก ๆ  ภูมิคุ้มกัน - คนรับจ้างกรีดยาง คือคนที่รู้จักกันเสียส่วนใหญ่ โดยวานจ้างแล้วให้ค่าตอบแทนเป็นเชิงทุน ทางสังคม  คุณธรรม - การขายมี 2 แบบคือการเป็นน้ายางดิบ และขายแบบยางแผ่น ส่วนใหญ่จะขายผ่านพ่อค้า คนกลางเข้ามารับที่สวน การต่อรองราคาเป็นธรรมกับผู้ซื้อและผู้ขาย  ความรู้ - มีการใช้อุปกรณ์ คือเครื่องรีดยาง เพื่อนาน้ายางเปลี่ยนเป็นยางแผ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าของ ผลผลิต แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับหมู่บ้านเปร็ดใน ช่วงการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของหมู่บ้านเปร็ดใน สามารถแบ่งได้เป็นสามช่วงใหญ่ ๆ ได้คือ ช่วงแรกเป็นช่วงที่วิถีชีวิตเป็นรูปแบบดั้งเดิม เป็นวิถีชีวิตแบบยังไม่มีเทคโนโลยีและการพัฒนาเศรษฐกิจ ในรูปแบบตะวันตก ช่วงต่อมาคือเป็นช่วงที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจในรูปแบบตะวันตก ซึ่งจะทาให้วิถีชีวิต ของชาวบ้านและสภาพทรัพยากรของหมู่บ้านเปลี่ยนแปลงไปมาก และช่วงในปัจจุบันนี้จะเป็นช่วงที่มี การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติที่เริ่มมีการย้อนกลับมาใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมโดยมีการคานึงถึง ทรัพยากรธรรมชาติด้วย
  • 10. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 10 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว” แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงวิถีชีวิตดั้งเดิม ในการใช้ชีวิตของชาวบ้านในอดีต จะเป็นลักษณะของสังคมเกษตรกรรมที่มีการทานาข้าวเป็น หลัก โดยจะเป็นการทานาบนที่ลุ่มเพื่อการบริโภค รวมถึงพืชผักตามบ้านอื่น ๆ อีกด้วย นอกจากนี้ยังมี การเลี้ยงสัตว์ และจับสัตว์ในป่าสัตว์ทะเลเพื่อการบริโภคเช่นกัน โดยผู้คนในหมู่บ้านจะมีการดาเนินชีวิต แบบไม่ได้คานึงถึงเรื่องสภาพทรัพยากร แต่ด้วยรูปแบบการใช้ชีวิตแบบนี้ ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ ภายในหมู่บ้านมีการฟื้นฟูตามฤดูกาล วิถีชีวิตของผู้คนในอดีต เป็นการใช้ชีวิตในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงค่อนข้างชัดเจนมาก โดย ทรัพยากรทางธรรมชาติของหมูบ้านเปร็ดในนี้ มีความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางธรรมชาติ มาก รูปแบบการดาเนินตามวิถีชีวิตของผู้คนในหมู่บ้าน จะผูกพันกันด้วยการทามาหาเลี้ยงครอบครัวใน ชุมชน การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ  ความพอเพียง - ในการดาเนินชีวิตของชาวบ้านในสมัยนั้นจะเป็นการดาเนินชีวิตในแบบหาเลี้ยงเพื่อยังชีพ โดยไม่ได้คานึงถึงการซื้อขายเพื่อทากาไร รูปแบบการใช้ชีวิตของชาวบ้าน จึงยังมีการ แบ่งปันภายในชุมชนอยู่ การทาการเกษตรสมัยนั้นก็เป็นไปในรูปแบบของการยังชีพเป็น ส่วนใหญ่เช่นกัน  ความมีเหตุผล - ในการดาเนินชีวิตของชาวบ้านในหมู่บ้าน จะใช้การสังเกตสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ การรับข่าวสารจากคนในชุมชนเสียส่วนมาก การดาเนินชีวิตจะเป็นไปตาม ๆ กันภายใน ชุมชน โดยไม่ได้คานึงถึงเหตุผลมากมาย เนื่องจากว่าสภาพทรัพยากรของหมู่บ้านยังมี ความอุดมสมบูรณ์มาก การใช้ทรัพยากรของคนในหมู่บ้านจึงไม่ได้รับการดูแลเท่าไหร่  การมีภูมิคุ้มกัน - ความสัมพันธ์ภายในชุมชนของคนในหมู่บ้านมีความแน่นแฟ้น และมีการช่วยเหลือเกื้อกูล กันอยู่มากมาย ทาให้มีภูมิคุ้มกันเรื่องความสัมพันธ์ของคนชุมชนมีมาก เรื่องภูมิคุ้มกันเรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติมีความชัดเจนมากที่สุด เพราะเนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ์ และไม่มีการทาลายทรัพยากรป่าไม้และทะเล จึงทาให้สามารถคงความอุดม สมบูรณ์อยู่ไว้ได้  เงื่อนไขความรู้ - เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้ยังไม่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในช่วงเวลานี้ เนื่องจากการ ดาเนินชีวิตยังเป็นแบบวิถีดั้งเดิมที่สืบทอดกันมา ความรู้ที่สืบทอดมานั้นอาจจะไม่เป็นผลดี ต่อความยั่งยืนในระยะยาวได้ แต่ว่าอาศัยจากประสบการณ์และการสังเกตสิ่งแวดล้อม ภายในหมู่บ้าน ทาให้มีความเข้าใจและปรับตัวใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม
  • 11. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 11 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”  เงื่อนไขคุณธรรม - ด้วยความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้านนั้นยังมีความเกื้อกูลและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน ความมี น้าใจต่อกันเป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนในช่วงสมัยวิถีชีวิตดั้งเดิม แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ วิถีชีวิตของชาวบ้านมีความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก เมื่อมีการพัฒนาประเทศโดยมุ่งเน้นการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงมีการนาเข้าของเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทาการเกษตร เริ่มมีการปลูก พืชเศรษฐกิจเช่น ยางพารา เงาะ ทุเรียน เป็นต้น รวมถึงเทคโนโลยีในการทาประมงอีกด้วย เนื่องจากมี ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์จึงมีการเข้ามาของบริษัทเอกชน ส่งผลให้มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลนมากมาย ทาให้ทรัพยากรเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จากนั้นมีการเข้ามาของ กลุ่มนายทุนที่มาทานากุ้งโดยสุดท้ายไม่สาเร็จผลก็ปล่อยที่ดินทิ้งร้างไว้ก็มี การดารงชีวิตของชาวบ้าน เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมายจากวิถีชีวิตแบบผลิต เพื่อบริโภคกลายเป็นผลิตเพื่อกาไร ความสัมพันธ์ ภายในหมู่บ้านลดลง การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ  ความพอเพียง - ในช่วงนี้ลักษณะการใช้ชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการประกอบอาชีพแบบที่ค้า กาไรมากขึ้น ชาวบ้านเน้นการใช้ชีวิตแบบวัตถุนิยมและทาให้เกิดหนี้สินอย่างมากมาย ภายในครัวเรือน จนทาให้เกิดปัญหาในการใช้ชีวิตจนเกิดการกู้ยืมให้เกิดเป็นหนี้สินพอกพูน มากขึ้นไปอีก  ความมีเหตุผล - การใช้ชีวิตของชาวบ้านในช่วงนี้จะเป็นการใช้ชีวิตเป็นรูปแบบของวัตถุนิยม มีการมุ่งเน้นไป ในเรื่องของเรื่องเงินทุนซะมากกว่า ในแง่ของเหตุผลนั้นจะมองไปในแง่ของการพัฒนาด้าน คุณภาพชีวิตโดยอาศัยเงินทุนเสียส่วนใหญ่ โดยไม่คานึงถึงหนี้สินและเรื่องอื่นๆที่จะตามมา อีกทั้งมีการให้ข้อมูลจากนายทุนหรือบริษัทเอกชนที่ส่งเสริมให้มีการให้ชาวบ้านทา การเกษตรเชิงเดี่ยวแบบเน้นผลกาไรอีกด้วย  การมีภูมิคุ้มกัน - ความสัมพันธ์ภายในชุมชนของคนในหมู่บ้านจะค่อยๆลดลงไปเรื่อยๆ แต่ก็ไม่ได้ถึงกับแบ่ง แยกกันไปฝ่ายๆไป แต่ในยังมีคนกลุ่มหนึ่งที่มีการรวมกลุ่มขึ้นมาเพื่อทาการขับไล่นายทุนที่ เข้ามารุกรานพื้นที่ป่าชายเลนนั้น เป็นการสร้างความสัมพันธ์ภายในชุมชุนไปในทิศทางที่ดี และได้สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นภายในชุมชนอีกครั้ง อีกทั้งกลุ่มนี้ยังทาหน้าที่เป็นส่วนที่ ทาการให้ความรู้แก่ชาวบ้านอื่นๆในชุมชนหรือนอกชุมชนอีกด้วย
  • 12. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 12 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”  เงื่อนไขความรู้ - เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้จะได้มาจากเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยรวมถึงข้อมูลข่าวสารที่ มีมากขึ้น แต่กลับไม่ได้รับการกลั่นกรองมาก่อน จึงสามารถรับข้อมูลแบบผิดๆมาได้ แต่ ภายหลังมีการรวมกลุ่มต่อต้านนายทุน ข้อมูลข่าวสารต่างๆของชาวบ้านจึงได้รับการคัด กรอง รวมถึงมีการให้ความรู้ถึงเรื่องการเสื่อมโทรมของทรัพยากรภายในหมู่บ้านเพื่อให้เกิด การแก้ไขอีกด้วย  เงื่อนไขคุณธรรม - ด้วยความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไปภายในหมู่บ้าน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความเกื้อกูลกัน ภายในหมู่บ้านมีการลดลงอย่างมาก ส่วนมากจะแยกย้ายกันประกอบอาชีพกัน รวมถึงเกิด การทุจริตกันภายในหมู่บ้านระหว่างนายทุนกับชาวบ้านซึ่งจะส่งผลเสียกลับมามากมาย แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในช่วงฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สภาพทรัพยากรภายในหมู่บ้านได้เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็วหลังจากมีการเข้ามาของกลุ่มนายทุน และบริษัทเอกชน ชาวบ้านบางส่วนได้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและมีการรวมกลุ่มเพื่อขับไล่กลุ่มนายทุน เหล่านี้ออกไป โดยจะมีการให้ความรู้แก่ชาวบ้านถึงเรื่องสภาพของทรัพยากร จนนาไปสู่ความร่วมมือกัน ในการช่วยกันฟื้นฟูทรัพยากรขึ้นมา โดยขั้นตอนของการให้ความรู้นั้นจะใช้เวลาค่อนข้างนานเพราะผู้คน ยังยึดติดการใช้ชีวิตรูปแบบเก่าอยู่ แต่ในปัจจุบันนั้นกลุ่มชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสาคัญและได้ฟื้นฟู ต่อมาเรื่อยๆจนกระทั่งสภาพทรัพยากรได้กลับมาเกือบจะสมบูรณ์เหมือนเดิม การวิเคราะห์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียง 3 คุณลักษณะ  ความพอเพียง - เนื่องจากชาวบ้านหลายคนในหมู่บ้าน ประสบภาวะหนี้สินกันจากเศรษฐกิจแบบวัตถุนิยม บางส่วนที่ได้รับความรู้เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ ชีวิตมาสู่วิถีดั้งเดิมมากขึ้น แต่ก็มีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามยุคสมัยและเทคโนโลยี แต่ จะไม่ฟุ้งเฟ้อแบบเมื่อก่อน  ความมีเหตุผล - เนื่องจากการผ่านประสบการณ์การเป็นหนี้สินมาแล้ว การใช้ชีวิตของชาวบ้านจึงเริ่มมี เหตุผลมากขึ้น เริ่มมีการมองถึงอนาคต และสภาพทรัพยากรรอบตัวมากขึ้น และด้วยมีการ ให้ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงจากวิทยากรและเทคโนโลยีต่าง ๆ ทาให้มีการใช้ชีวิตที่ ระมัดระวังและมีเหตุผลมากขึ้น
  • 13. สรุปความเชื่อมโยงระหว่างวิถีชิวิตของพลวัตบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 13 หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”  การมีภูมิคุ้มกัน - การจัดตั้งสัจจะสะสมทรัพย์นั้นเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านการเงิน ทาให้มีการออม ทรัพย์กันเกิดขึ้นภายในหมู่บ้าน เพื่อทาการแก้ไขปัญหาเรื่องหนี้สินของชาวบ้าน ทาให้ หมู่บ้านไม่ต้องพึ่งแหล่งการเงินภายนอกหมู่บ้าน รวมถึงกลุ่มอื่น ๆ ที่มีการรวมกลุ่มกันเพื่อ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าชายเลน ป่าไม้ภายในหมู่บ้าน และให้ความรู้แก่ชุมชนใน เรื่องต่าง ๆ อีกด้วย  เงื่อนไขความรู้ - เงื่อนไขความรู้ของชาวบ้านนี้จะได้มาจากเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยรวมถึงข้อมูลข่าวสารที่ มีมากขึ้น รวมถึงยังมีสื่อการเรียนรู้มากมายที่เข้ามาภายในชุมชน ทาให้ชาวบ้านเข้าถึง ข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆ มากขึ้นกว่าเดิม  เงื่อนไขคุณธรรม - ความสัมพันธ์ของคนในหมู่บ้านมีการกลับมาแน่นแฟ้นเหมือนเดิม จากการตั้งกลุ่มสัจจะ สะสมทรัพย์นั้น จาเป็นต้องมีความโปร่งใสในการบริหารงาน เพราะฉะนั้น ความซื่อสัตย์ใน การบริหารงานจึงได้รับการปลูกฝังมาเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบัน จัดทาโดย 1. นายประเมธ สุขหอม 54211819 INC 2. นายวรรธนสิน เงาสว่างจิต 54211826 INC 3. นายวิฤทธิ์พล สิริเศรษฐนนท์ 54211842 INC 4. นางสาวศรินรัตน์ สังขพันธ์ 54211843 INC 5. นายอัศดาวุธ ฉายเรืองเกียรติ 54211846 INC 6. นางสาวอุมา การุณธนกุล 54211847 INC 7. นายอนิวรรต วิสุทธิแพทย์ 54218655 INC 8. นายณัชพล กฤษณรักษ์ปาณี 54218666 INC 9. นายปฐวี งาประสาน 54218629 INC หมู่บ้าน “บ้านหลังเขียว”