SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
    โครงการพระราชดาริ
   "ทฤษฎีใหม่น้ ีมีไว้สาหรับป้ องกัน หรื อถ้าในโอกาสปกติ ทาให้ร่ ารวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มี
    อุทกภัยก็สามารถ ที่จะฟื้ น ตัวได้ โดยไม่ตองให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทาให้ประชาชน
                                              ้
    พึ่งตนเองได้อย่างดี“

                                           ่ ั
         พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘

                                                           ่
    "ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบและทางานตั้งอธิ ษฐาน
    ตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไม่ใช่วาจะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่วามี
                                             ่            ่            ่                        ่
                   ่
    ความพออยูพอกิน มีความ สงบ เปรี ยบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยูพอกินนี้   ่
    ได้ เราก็จะยอดยิงยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่ งถือว่าเป็ นผูมีความคิด และมีอิทธิ พลมีพลังที่จะทาให้
                       ่                                      ้
    ผูอื่น ซึ่ งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่ วนรวม ให้อยูดีกินดีพอสมควร ขอย้าพอควร พออยู่
       ้                                                         ่
    พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัติน้ ีจากเราไปได้ ก็จะเป็ นของขวัญวันเกิดที่ถาวร
    ที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล"

                                           ่ ั
         พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
   ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียน
                                                ้
                                                   ่
    ตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ
                 ้
   ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี
    เหตุผล โดยพิจารณาจากปั จจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทา
    นั้น ๆ อย่างรอบคอบ
   การมีภูมิคุมกันทีดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
               ้
    ด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
                                                  ่
    การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียง ต้องอาศัย ทั้งความรู ้และ
    คุณธรรมเป็ นพื้นฐาน
   เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบ
    ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ
    วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบติ   ั
   เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความ
    ซื่ อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปั ญญาในการ ดาเนินชีวต  ิ
                                                                    ่ ั
    เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงพระกรุ ณา
                                                          ิ        ่
    พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สงคมไทยมีชีวตดารงอยูได้ อย่างมันคงและยังยืน ไม่
                                              ั                             ่         ่
    ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรื อ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวตดั้งเดิมของ
                                                                              ิ
    สังคมไทยนามาประยุกต์ใช้
   "ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุมกันในตัวที่ดี
                                                                         ้
    พอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม
    สิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี โดยอาศัยความรอบรู ้ รอบคอบ และ
    ความระมัดระวังในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับ
    การสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สานึกในคุณธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต
    ดาเนินชีวตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และความรอบคอบ มีเหตุผล
               ิ
   การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้น้ น ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมี
                                           ั
    การบริ หารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟื อย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู ้จกตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ใน
                                                                                            ั
    ครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็ นหนี้ และรู ้จกดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่ องของปัจจัยสี่ ให้ได้
                                                                                      ั
    ในระดับหนึ่ง
                                      ่                                                               ่
    การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยูได้อย่างพอเพียง" คือ ดาเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยูได้อย่างสมดุล คือ มีความสุ ข
    ที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรื อดาเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผูอื่น หรื อเบียดเบียน
                                                                                                                ้
    สิ่ งแวดล้อม โดย
              - ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
              - ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีพ
              - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุ จริ ต
                                                                                                  ั
              - ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู ้กนอย่างรุ นแรง
              - มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
              - ทามาหากินก่อนทามาค้าขาย
              - ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทากิน คือ ทุนทางสังคม
              - ตั้งสติที่มนคง ร่ างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉี ยบแหลม นาความรู ้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิตสู่ การพัฒนาที่
                           ั่
              ยังยืน
                ่
   ความพอดีดานจิตใจ้
          - ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้
          - มีจิตสานึกที่ดี
          - เอื้ออาทร ประนีประนอม
          - นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก
   ความพอดีดานสังคม
                ้
          - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
          - รู ้รักสามัคคี
          - สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน
   ความพอดีดานทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม
                      ้
          - รู ้จกใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ
                          ั
                                     ่
          - เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูให้เกิดความยังยืนอย่างสู งสุ ด
                                                 ่
   ความพอดีดานเทคโนโลยี
                  ้
          - รู ้จกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม
                            ั
          - พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน
          - ก่อให้เกิดประโยชน์กบคนหมู่มาก
                                   ั
   ความพอดีดานเศรษฐกิจ ้
          - เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร
          - พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
    เมื่อมีการกล่าวถึง เศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะแนวความคิดหรื อปรัชญา ในการดารงชีวต       ิ
    "ทฤษฎีใหม่" ก็มกจะได้รับการกล่าวอ้างถึงควบคู่กนเสมอในฐานะตัวอย่างหรื อแนวทางในการ
                      ั                               ั
    นา หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบติเพราะทฤษฎีใหม่ คือการเลี้ยงตัวเองได้ในระดับชีวตที่
                                    ั                                                 ิ
    ประหยัด มีการผลิตที่พ่ ึงตนเองได้ดวยวิธีง่าย ๆ ค่อยเป็ นค่อยไปตามกาลัง ให้พอมีพอกินไม่อด
                                      ้
    อยาก มีการผลิต ข้าวบริ โภคพอเพียงประจาปี
   หลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ การทาไร่ นาสวนผสมและการเกษตรผสมผสาน มีการ ปลูก
    พืชผักสวนครัว การทาปุ๋ ยหมักปุ๋ ยคอกและใช้วสดุเหลือใช้มาเป็ นปั จจัยการผลิตปุ๋ ย เพื่อลดค่า
                                                    ั
    ใช้จ่าย และบารุ งดิน เช่น การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลือใช้ในไร่ นา การปลูกไม้ผลสวนหลัง
    บ้าน และไม้ใช้สอยในครัวเรื อน การปลูกพืชสมุนไพร ช่วยส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัย การเลี้ยง
    ปลาในร่ อง สวน ในนาข้าวและแหล่งน้ า เพื่อเป็ นอาหารโปรตีนและรายได้เสริ ม การเลี้ยงไก่
    พื้นเมือง และไก่ไข่ ประมาณ ๑๐-๑๕ ตัว ต่อครัวเรื อน เพื่อเป็ นอาหารในครัวเรื อน โดยใช้
    เศษอาหาร รา และปลายข้าว จากผลผลิตการทานา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากการปลูกพืช
    ไร่ และการทาก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ที่เลี้ยงไว้ รวมทั้งการประกอบอาชีพเสริ ม เช่น การจัก
    สาน ถัก ทอ แปรรู ปอาหาร เป็ นต้น
   เมื่อคนในสังคมหรื อชุมชน สร้างครอบครัวพอเพียงได้แล้ว สิ่ งที่จะตามมา คือ การเกิดขึ้น ของ
    ชุมชนพอเพียง ที่สมาชิกชุมชนนั้น จะรวมกลุ่มกันทาประโยชน์เพื่อส่ วนรวมมีการแบ่งปั น
    ช่วยเหลือซึ่ งกันและกันตามกาลังและความสามารถของตน บริ หารจัดการปั จจัยต่าง ๆ เช่น
    ทรัพยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้สามารถนาไปใช้ดาเนินชีวตได้อย่างถูกต้องและสมดุล และ
                                                            ิ
    เมื่อ หลาย ๆ ชุมชนพอเพียงมารวมกลุ่มกันแลกเปลี่ยนความรู ้ สื บทอดภูมิปัญญาและร่ วมกัน
    พัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะกลายเป็ นสังคมแห่งความพอเพียงได้ในที่สุด
   การสร้างชุมชนและสังคมที่พอเพียงนั้น เกิดขึ้นได้จากกิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาค
                                                          ่
    การเกษตรที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม แต่ใช้ทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอย่างคุมค่า ด้วยการ
                                                                        ้
    หมุนเวียนทุน ธรรมชาติภายในพื้นที่และด้วยวิธี การทาเกษตรที่เน้นปลูกเพื่อกินเองก่อน และ
    การทากิจกรรมที่เป็ น มิตรกับสิ่ งแวดล้อม เช่น การทาปุ๋ ยชีวภาพ การปลูกผักและข้าวที่
    ปลอดสารพิษ การทาสวนสมุน ไพรของชุมชน การคิดค้นสารไล่แมลงสมุนไพร การทาถ่าน
    ชีวภาพ การรวมกลุ่มขยายพันธุ์ปลา การแปรรู ปผลผลิตและกรทาเกษตรผสมผสาน เป็ น
    ต้น มีการรวมกลุ่มกันเป็ นสหกรณ์ ร่ วมมือกัน ทั้งในด้านปั จจัยและอุปกรณ์การผลิต
    การตลาด เงินทุน การศึกษา และชีวตความเป็ นอยู่
                                       ิ
จั ด ทาโดย

นางสาว กิ่งกาญจน์ เฟื่ องทอง เลขที่ 37

       ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10

More Related Content

What's hot

Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
SufficiencyeconomyIct Krutao
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 

What's hot (19)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
Sufficiencyeconomy
SufficiencyeconomySufficiencyeconomy
Sufficiencyeconomy
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Vass iry wed83254
Vass iry wed83254Vass iry wed83254
Vass iry wed83254
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
183356
183356183356
183356
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงTanwalai Kullawong
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNan NaJa
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 
เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..เศรษฐกิจเ..
เศรษฐกิจเ..
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โครงการพระราชดาริ
  • 2. "ทฤษฎีใหม่น้ ีมีไว้สาหรับป้ องกัน หรื อถ้าในโอกาสปกติ ทาให้ร่ ารวยขึ้น ถ้าในโอกาสที่มี อุทกภัยก็สามารถ ที่จะฟื้ น ตัวได้ โดยไม่ตองให้ทางราชการไปช่วยมากเกินไป ทาให้ประชาชน ้ พึ่งตนเองได้อย่างดี“ ่ ั พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘  ่ "ขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยูพอกิน มีความสงบและทางานตั้งอธิ ษฐาน ตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไม่ใช่วาจะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่วามี ่ ่ ่ ่ ่ ความพออยูพอกิน มีความ สงบ เปรี ยบเทียบ กับประเทศอื่น ๆ ถ้าเรารักษาความพออยูพอกินนี้ ่ ได้ เราก็จะยอดยิงยวดได้ ฉะนั้น ถ้าท่าน ซึ่ งถือว่าเป็ นผูมีความคิด และมีอิทธิ พลมีพลังที่จะทาให้ ่ ้ ผูอื่น ซึ่ งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่ วนรวม ให้อยูดีกินดีพอสมควร ขอย้าพอควร พออยู่ ้ ่ พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอื่นมาแย่งคุณสมบัติน้ ีจากเราไปได้ ก็จะเป็ นของขวัญวันเกิดที่ถาวร ที่จะมีคุณค่าอยู่ ตลอดกาล" ่ ั พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ณ ศาลาดุสิตาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
  • 3. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอยเกินไปและไม่มากเกิน โดยไม่เบียดเบียน ้ ่ ตนเองและผูอื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ ้  ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากปั จจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทา นั้น ๆ อย่างรอบคอบ  การมีภูมิคุมกันทีดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ้ ด้านต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
  • 4. ่ การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียง ต้องอาศัย ทั้งความรู ้และ คุณธรรมเป็ นพื้นฐาน  เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง อย่างรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณา ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบติ ั  เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนัก ในคุณธรรม มีความ ซื่ อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติ ปั ญญาในการ ดาเนินชีวต ิ
  • 5.
  • 6. ่ ั เศรษฐกิจพอเพียง คือ พระราชปรัชญาซึ่ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ทรงพระกรุ ณา ิ ่ พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อให้สงคมไทยมีชีวตดารงอยูได้ อย่างมันคงและยังยืน ไม่ ั ่ ่ ว่าเมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ หรื อ การเปลี่ยนแปลงใด ๆ บนพื้นฐานวิถีชีวตดั้งเดิมของ ิ สังคมไทยนามาประยุกต์ใช้  "ความพอเพียง" หมายถึง ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล โดยสร้างภูมิ คุมกันในตัวที่ดี ้ พอสมควร เพื่อที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว กว้างขวาง ทั้ง ทางด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี โดยอาศัยความรอบรู ้ รอบคอบ และ ความระมัดระวังในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ วางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ควบคู่ไปกับ การสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติทุกระดับ ให้สานึกในคุณธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต ดาเนินชีวตด้วยความอดทน ความเพียร ความมีสติปัญญา และความรอบคอบ มีเหตุผล ิ
  • 7. การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้น้ น ขั้นแรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพึ่งตนเองให้ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมี ั การบริ หารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟุ่มเฟื อย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนต้องรู ้จกตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ใน ั ครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน ไม่ให้เป็ นหนี้ และรู ้จกดึงศักยภาพในตัวเองในเรื่ องของปัจจัยสี่ ให้ได้ ั ในระดับหนึ่ง  ่ ่ การพัฒนาตนเองให้สามารถ "อยูได้อย่างพอเพียง" คือ ดาเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยูได้อย่างสมดุล คือ มีความสุ ข ที่แท้ ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเอง หรื อดาเนินชีวิตอย่างเกินพอดี จนต้องเบียดเบียนผูอื่น หรื อเบียดเบียน ้ สิ่ งแวดล้อม โดย - ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ - ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่ มเฟื อยในการดารงชีพ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุ จริ ต ั - ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย ประกอบอาชีพแบบต่อสู ้กนอย่างรุ นแรง - มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง - ทามาหากินก่อนทามาค้าขาย - ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทากิน คือ ทุนทางสังคม - ตั้งสติที่มนคง ร่ างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉี ยบแหลม นาความรู ้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อปรับวิถีชีวิตสู่ การพัฒนาที่ ั่ ยังยืน ่
  • 8. ความพอดีดานจิตใจ้ - ต้องเข้มแข็ง สามารถพึงตนเองได้ - มีจิตสานึกที่ดี - เอื้ออาทร ประนีประนอม - นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก  ความพอดีดานสังคม ้ - ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน - รู ้รักสามัคคี - สร้างความเข้มแข้งให้ครอบครัวและชุมชน  ความพอดีดานทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม ้ - รู ้จกใช้และจัดการอย่างชาญฉลาดและรอบคอบ ั ่ - เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยูให้เกิดความยังยืนอย่างสู งสุ ด ่  ความพอดีดานเทคโนโลยี ้ - รู ้จกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม ั - พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านของเราเองก่อน - ก่อให้เกิดประโยชน์กบคนหมู่มาก ั  ความพอดีดานเศรษฐกิจ ้ - เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร - พออยู่ พอกินสมควรตามอัตภาพ และฐานะของตน
  • 9. เมื่อมีการกล่าวถึง เศรษฐกิจพอเพียง ในฐานะแนวความคิดหรื อปรัชญา ในการดารงชีวต ิ "ทฤษฎีใหม่" ก็มกจะได้รับการกล่าวอ้างถึงควบคู่กนเสมอในฐานะตัวอย่างหรื อแนวทางในการ ั ั นา หลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบติเพราะทฤษฎีใหม่ คือการเลี้ยงตัวเองได้ในระดับชีวตที่ ั ิ ประหยัด มีการผลิตที่พ่ ึงตนเองได้ดวยวิธีง่าย ๆ ค่อยเป็ นค่อยไปตามกาลัง ให้พอมีพอกินไม่อด ้ อยาก มีการผลิต ข้าวบริ โภคพอเพียงประจาปี  หลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ การทาไร่ นาสวนผสมและการเกษตรผสมผสาน มีการ ปลูก พืชผักสวนครัว การทาปุ๋ ยหมักปุ๋ ยคอกและใช้วสดุเหลือใช้มาเป็ นปั จจัยการผลิตปุ๋ ย เพื่อลดค่า ั ใช้จ่าย และบารุ งดิน เช่น การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลือใช้ในไร่ นา การปลูกไม้ผลสวนหลัง บ้าน และไม้ใช้สอยในครัวเรื อน การปลูกพืชสมุนไพร ช่วยส่ งเสริ มสุ ขภาพอนามัย การเลี้ยง ปลาในร่ อง สวน ในนาข้าวและแหล่งน้ า เพื่อเป็ นอาหารโปรตีนและรายได้เสริ ม การเลี้ยงไก่ พื้นเมือง และไก่ไข่ ประมาณ ๑๐-๑๕ ตัว ต่อครัวเรื อน เพื่อเป็ นอาหารในครัวเรื อน โดยใช้ เศษอาหาร รา และปลายข้าว จากผลผลิตการทานา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากการปลูกพืช ไร่ และการทาก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ที่เลี้ยงไว้ รวมทั้งการประกอบอาชีพเสริ ม เช่น การจัก สาน ถัก ทอ แปรรู ปอาหาร เป็ นต้น
  • 10. เมื่อคนในสังคมหรื อชุมชน สร้างครอบครัวพอเพียงได้แล้ว สิ่ งที่จะตามมา คือ การเกิดขึ้น ของ ชุมชนพอเพียง ที่สมาชิกชุมชนนั้น จะรวมกลุ่มกันทาประโยชน์เพื่อส่ วนรวมมีการแบ่งปั น ช่วยเหลือซึ่ งกันและกันตามกาลังและความสามารถของตน บริ หารจัดการปั จจัยต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้สามารถนาไปใช้ดาเนินชีวตได้อย่างถูกต้องและสมดุล และ ิ เมื่อ หลาย ๆ ชุมชนพอเพียงมารวมกลุ่มกันแลกเปลี่ยนความรู ้ สื บทอดภูมิปัญญาและร่ วมกัน พัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะกลายเป็ นสังคมแห่งความพอเพียงได้ในที่สุด  การสร้างชุมชนและสังคมที่พอเพียงนั้น เกิดขึ้นได้จากกิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาค ่ การเกษตรที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม แต่ใช้ทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอย่างคุมค่า ด้วยการ ้ หมุนเวียนทุน ธรรมชาติภายในพื้นที่และด้วยวิธี การทาเกษตรที่เน้นปลูกเพื่อกินเองก่อน และ การทากิจกรรมที่เป็ น มิตรกับสิ่ งแวดล้อม เช่น การทาปุ๋ ยชีวภาพ การปลูกผักและข้าวที่ ปลอดสารพิษ การทาสวนสมุน ไพรของชุมชน การคิดค้นสารไล่แมลงสมุนไพร การทาถ่าน ชีวภาพ การรวมกลุ่มขยายพันธุ์ปลา การแปรรู ปผลผลิตและกรทาเกษตรผสมผสาน เป็ น ต้น มีการรวมกลุ่มกันเป็ นสหกรณ์ ร่ วมมือกัน ทั้งในด้านปั จจัยและอุปกรณ์การผลิต การตลาด เงินทุน การศึกษา และชีวตความเป็ นอยู่ ิ
  • 11. จั ด ทาโดย นางสาว กิ่งกาญจน์ เฟื่ องทอง เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/10