SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
(Twisted Pair Wire)
           นำเสนอ
    อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
           สมำชิก
  1. นำยธนกฤต เผ่ำจินดำ
2. นำยธนำนนท์ สินธวำนนท์
 3. นำยรัฐวิทย์ ทรัพย์สอน
สายคู่บิดเกลียว
(Twisted Pair Wire)
 เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการ
  คอมพิวเตอร์ทวไป รวมทั้งตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจาก
              ั่
  ลักษณะองค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสายลวดทองแดง 2 เส้นนามาพัน
  เกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือนเกราะ
  สาหรับป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ใน
  การพันเกลียว เช่น พันเกลียว 10 รอบต่อความยาว 1 ฟุต นันมีผลโดยตรงต่อ
                                                             ้
  กาลังของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นถ้าจานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมี
  กาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ก็ทาให้สิ้นเปลือง
  สายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่ง
  ป้องกันสัญญาณรบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน
โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้จึงมีคณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนได้
                             ุ
ดีกว่าสายทีไม่มีการพันเกลียวเลยบริเวณแกน (Core) ของสายคู่บิด
             ่
เกลียว สายคูบิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือหลาย
               ่
คู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้ว
นามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งรวมกัน
เป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว

สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม
         (UTP : Unshielded Twisted Pair)

       สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด สาหรับสาย
ประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย
UTP มีจานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคูตีเกลียวไม่หม
                                                      ่        ุ้
ฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสแตกต่างกัน และ
                                                    ี
ตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็น
สายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตังได้ง่าย
                                                        ้
แสดงดังรูป
รูปแสดงสายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม
(UTP : Unshielded Twisted Pair)
สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่
        8 เส้น ประกอบด้วย

            เขียว - ขาวเขียว
              ส้ม - ขาวส้ม
          น้าเงิน - ขาวน้าเงิน
         น้าตาล - ขาวน้าตาล
ข้อดีของสาย UTP
- ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนืองจากน้าหนักเบา
                ่
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก

ข้อเสียของสาย UTP
- ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะ
สัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย
 (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม
        (STP : Shielded Twisted Pair)

    สายสัญญาณ STP มีการนาสายคูพันเกลียวมารวมอยู่และมี
                                   ่
การเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคณสมบัติเป็น
                                                 ุ
เกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ
เรียกเกราะนี้วา ชิลด์ (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รับการ
              ่
พัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณรบกวนเพื่อ
ทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย
STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบันทอน
                                                     ่
ครอสทอร์ก
รูปแสดงสายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม
(STP : Shielded Twisted Pair)
ข้อดีของสาย STP
- ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
- ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ

ข้อเสียของสาย STP
- มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
- ราคาแพงกว่าสาย UTP
คาถาม
1.สายคู่บิดเกลียวได้ชื่อมาจากอะไร
ตอบ ลักษณะองค์ประกอบภายในของสายที่เป็นสำยลวดทองแดง
   สองเส้นนำมำพันเกลียวเข้ำด้วยกัน
2. สายคู่บิดเกลียวทามาจากอะไร
ตอบ ลวดทองแดง
3. สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคืออะไรบ้าง
ตอบ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)
     2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
4. ข้อดีของสาย UTP
- ราคาถูก
- ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา
- มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก
5. ข้อเสียของสาย UTP
- ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณ
ที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาว
ของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
6. ข้อดีของสาย STP
- ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP
- ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ

7. ข้อเสียของสาย STP
- มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก
- ราคาแพงกว่าสาย UTP
แหล่งอ้างอิง
http://www.dcs.cmru.ac.th
 เจาะระบบ Network ฉบับสมบูรณ์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

More Related Content

What's hot

สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403Papangkorn Chamviteelert
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405Alspkc Edk
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401Nuttavud Suebsai
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407Mullika Pummuen
 
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402Pibi Densiriaksorn
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405Te Mu Su
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405คทาณัฐ เมธชนัน
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟPeerapas Trungtreechut
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405Nachi Montianarrt
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟPram Pu-ngoen
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404ณัชชา เอื้อนฤมลสุข
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406Krittapas Rodsom
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 

What's hot (20)

สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
สายคู่บิดเกลียว(ปภังกร+ปัณณธร)403
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
อินฟาเรด(ปัณฑรณิชา+อลิสา)405
 
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
อินฟาเรด(พลพัชร+รุจ)406
 
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
อินฟาเรด(วีรสิทธิ์+ณัฐวุฒิ)401
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
 
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
สายไฟเบอร์ออฟติก (นันทวรรณ+ฐิตา) 402
 
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
สายคู่บิดเกลียว(สุภวัฒณ์+ภูบดี) 405
 
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
สายคู่บิดเกลียว(1.คทาณัฐ+2.อัฏฐเศรษฐ์)405
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
คลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟคลื่น ไมโครเวฟ
คลื่น ไมโครเวฟ
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
 
Utp
UtpUtp
Utp
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 

Similar to สายคู่บิดเกลียว

สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405Kaimin Ngaokrajang
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)Pampam Chaiklahan
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402แพทตี้ ฉัตรบริรักษ์
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407Aommy Arpajai
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)Ploy's Sutantirat
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์ASpyda Ch
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403Pharist Kulpradit
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ครูเพชร
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETAdisak Kammungkun
 
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะtuplschool
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

Similar to สายคู่บิดเกลียว (20)

สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
สายคู่บิดเกลียว(ไกมิณ+กึกก้อง+นริศศักดิ์)405
 
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
สายคู่บิดเกลียว(พศิกา+นันทพัทธ์)
 
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
สายทองแดง สายคู่บิดเกลียว(จิดาภา+ธัชนนท์)402
 
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
สายโคแอ็กซ์เชียล (ธมนวรรณ อาภาใจ)407
 
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
สายไฟเบอร์ออพติก(พิชญ์ชพร+พิชญานิน 405)
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
สายไฟฟ้า, ไฟฟ้ากำลัง, อิเล็กทรอนิคส์
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
สายไฟเบอร์ออฟติก(เจตณัฐ+พริษฐ์)403
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Cable
CableCable
Cable
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่ 5
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
โจทย์O net com
โจทย์O net comโจทย์O net com
โจทย์O net com
 
โจทย์O net com
โจทย์O net comโจทย์O net com
โจทย์O net com
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 

สายคู่บิดเกลียว

  • 1. (Twisted Pair Wire) นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1. นำยธนกฤต เผ่ำจินดำ 2. นำยธนำนนท์ สินธวำนนท์ 3. นำยรัฐวิทย์ ทรัพย์สอน
  • 3.  เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการนามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ทวไป รวมทั้งตามสานักงานต่างๆ สายชนิดนี้ได้ชื่อมาจาก ั่ ลักษณะองค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสายลวดทองแดง 2 เส้นนามาพัน เกลียวเข้าด้วยกันเพื่อทาให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือนเกราะ สาหรับป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จานวนรอบหรือความถี่ ใน การพันเกลียว เช่น พันเกลียว 10 รอบต่อความยาว 1 ฟุต นันมีผลโดยตรงต่อ ้ กาลังของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นถ้าจานวนรอบสูงก็จะทาให้สนามแม่เหล็กมี กาลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ก็ทาให้สิ้นเปลือง สายมากขึ้น แต่ถ้าจานวนรอบต่า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กกาลังอ่อน ซึ่ง ป้องกันสัญญาณรบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน
  • 4. โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้จึงมีคณสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ ุ ดีกว่าสายทีไม่มีการพันเกลียวเลยบริเวณแกน (Core) ของสายคู่บิด ่ เกลียว สายคูบิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจานวนหนึ่ง หรือหลาย ่ คู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้ว นามาพันเกลียวเข้าด้วยกันเป็นคู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งรวมกัน เป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) 2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
  • 5. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่กาหนด สาหรับสาย ประเภทนี้จะมีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มีจานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคูตีเกลียวไม่หม ่ ุ้ ฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสแตกต่างกัน และ ี ตลอดทั้งสายนั้นจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็น สายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดตังได้ง่าย ้ แสดงดังรูป
  • 7. สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จานวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย เขียว - ขาวเขียว ส้ม - ขาวส้ม น้าเงิน - ขาวน้าเงิน น้าตาล - ขาวน้าตาล
  • 8. ข้อดีของสาย UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนืองจากน้าหนักเบา ่ - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะ สัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
  • 9. สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair) สายสัญญาณ STP มีการนาสายคูพันเกลียวมารวมอยู่และมี ่ การเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคณสมบัติเป็น ุ เกราะในการป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้วา ชิลด์ (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รับการ ่ พัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณรบกวนเพื่อ ทาให้คุณสมบัติโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบันทอน ่ ครอสทอร์ก
  • 11. ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ ข้อเสียของสาย STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP
  • 12. คาถาม 1.สายคู่บิดเกลียวได้ชื่อมาจากอะไร ตอบ ลักษณะองค์ประกอบภายในของสายที่เป็นสำยลวดทองแดง สองเส้นนำมำพันเกลียวเข้ำด้วยกัน 2. สายคู่บิดเกลียวทามาจากอะไร ตอบ ลวดทองแดง 3. สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคืออะไรบ้าง ตอบ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) 2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)
  • 13. 4. ข้อดีของสาย UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก 5. ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณ ที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาว ของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)
  • 14. 6. ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ 7. ข้อเสียของสาย STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP
  • 15. แหล่งอ้างอิง http://www.dcs.cmru.ac.th เจาะระบบ Network ฉบับสมบูรณ์ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์