SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
อารมณ
การจัดการอารมณ
สมอง
สมองประกอบดวยเซลลประมาณ 10 พันลานตัวถึง
12 พันลานตัว มีเสนใยที่เรียกวา แอกซอน (Axon)
และเดนไดรด (Dendrite) สําหรับใหกระแสไฟฟา
เคมี (Electrochemical) แลนผานถึงกัน
การที่เราจะคิด หรือจดจําสิ่งตางๆ นั้น เกิดจากการ
เชื่อมตอของ กระแสไฟฟา ในสมอง คนที่ฉลาด
ที่สุดก็คือ คนที่สามารถใชกําลังไฟฟาไดเต็มที่
โครงสรางของสมองมี 3 สวน
สมองมี 3 สวน
สวนแรก อารเบรน (R-brian) หรือเรปทิเลียนเบ
รน (Reptilian brain)แปลวามาจาก
สัตวเลื้อยคลาน หรือ สมอง สัตวชั้นต่ํา
สวนที่สอง ลิมบิกเบรน (Limbic brain) หรือ
โอลดแมมมาเลียนเบรน (Old Mammalian brain)
คือ สมองของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม สมัยเกา ก็
คือ สมองสวน ฮิปโปแคมปส เทมโพราลโลบ
และบางสวนของฟรอนทอลโลบ
สมองมี 3 สวน (ตอ)
สวนที่สาม นิวแมมมาเลียนเบรน (New
Mammalian brain) หรือ สมองของสัตวเลี้ยงลูก
ดวยนมสมัยใหม คือ สมองใหญ ทั้งหมด ทํา
หนาที่ เกี่ยวกับ ความรูสึกนึกคิด การเรียนรู
สติสัมปชัญญะ มีขนาดใหญ กวาสมองอีก 2 สวน
ถึง 5 เทาดวยกัน
โดปามีน
เมื่อรางกายหลั่งสารโดปามีนออกมาจะสงผลตอ
อารมณของบุคคลมีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง
มีสมาธิมากขึ้น ไวตอสิ่งกระตุนตางๆ
ผลตอสมอง
เปนสารที่เกี่ยวของกับอารมณพึงพอใจ
ความปติยินดี ความรักใครชอบพอ
สุขภาพจิตผูสูงอายุ
      สถานการณปญหาสุขภาพจิตระดับโลกใน
ผูสูงอายุ พบวา ผูสูงอายุ 1 ใน 65 คน
เปน โรคซึมเศรา รอยละ 5 ของผูสูงอายุ ที่มี
อายุ 85 ปขึ้นไปเปนโรคสมองเสื่อม (dementia)
ปญหาสุขภาพจิตที่พบบอยในผูสูงอายุ
     โรคซึมเศรา ผูสูงอายุจะรูสึกมีอารมณเศรา
หมดความสนใจในสิ่งที่สนใจ มีอาการเบื่ออาหาร
นอนไมหลับ
     โรคสมองเสื่อม สมองเสื่อมชนิดที่พบบอยที่สุด
คือโรคอัลไซเมอร พบผูปวยโรคสมองเสื่อม ทั่วโลก
ประมาณ 18 ลานคน โดยพบวาประชากร
2 ใน 3 อยูในประเทศกําลังพัฒนา
วิธีสังเกตเมื่อผูสูงอายุปวยทางจิต
การนอน จะนอนหลับมากกวาปกติมีอาการงวงเหงาเซื่องซึม
หรือผูสูงอายุบางรายมีอาการนอนไมหลับ ตื่นเชาผิดปกติ
ตื่นกลางดึกแลว ไมสามารถจะหลับตอไปอีก บางทีก็มีฝนราย
ติดตอกันบอยๆ เปนตน ดังนั้น เมื่อเขาสูวัยสูงอายุควรพักผอน
นอนหลับใหเพียงพอ
อารมณ หงุดหงิดบอยๆ เศราซึม เครงเครียด ฉุนเฉียว
วิตกกังวล มากขึ้น
การกิน ผูสูงอายุบางรายกินอาหารมากกวาปกติ หรือ
ในทางตรงกันขาม จะกินนอยลง เบื่ออาหาร ซูบผอม
สมาธิจดจอกับสิ่งตางๆ แยลง
วิธีสังเกตเมื่อผูสูงอายุปวยทางจิต
พฤติกรรมการแสดงออกเปลี่ยนไปจากเดิม เชน
เคยเปนคนราเริงแจมใส ชางพูดชางคุย ซึมเศรา
เงียบขรึม ไมพูดไมจา
มีอาการเจ็บปวยทางกาย ซึ่งสาเหตุไมพบ เชน
ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ ปวดขอ ปวดกระดูก
วิงเวียน เปนตน
ดื่มสุรา
มีความคิดอยากฆาตัวตาย
ประเมินตนเองกอนครับ
วิธีสังเกตเมื่อผูสูงอายุปวยทางจิต
มีความรูสึกเซ็ง หรือรูสึกเสียใจ หรือรูสึกเศรา หรือรูสึก
หงุดหงิด โดยไมมีสาเหตุ หรือไมสมเหตุผล
รูสึกเบื่อหนายสิ่งที่เคยชอบ เคยทํา หรือเคยสนุกสนาน
เชน การทํางานอดิเรกตางๆ การเลนกีฬา การทํางาน
บาน งานสังคม รวมทั้งความตองการทางเพศ ก็จะ
ลดลง บางคนมีความตองการทางเพศมากขึ้นแตพบนอย
มีความเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับความอยากอาหาร
เบื่ออาหาร กินไดนอย หรือหิวบอยกินมากขึ้น
หรือน้ําหนักตัวเปลี่ยนแปลง
วิธีสังเกตเมื่อผูสูงอายุปวยทางจิต
มีความเปลี่ยนแปลงการนอนไปจากเดิม เชน นอนไม
หลับ หรือหลับไมพอ หรือนอนมากเกินไป
รูสึกออนเพลีย ออนลา ไมมีแรงโดยไมมีสาเหตุ
สมาธิไมดี ลืมงายหรือไมกลาตัดสินใจอะไรหรือตัดสินใจ
ไมได ชากวาเดิมในเรื่องที่เคยรูหรือเคยทํา
รูสึกกระวนกระวายจิตใจไมเปนสุขโดยไมมีสาเหตุหรือไม
มีความสนใจจําเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่เคยทํา
คิดถึงเรื่องตายบอยๆ หรือคิดเบื่อชีวิตหรือ
คิดอยากตายหรือพยายามฆาตัวตาย
Emontional Control
   อารมณสามารถจําแนกออกไดเปน 2 ประเภท
   ใหญๆ คือ
1. อารมณสุข คือ อารมณที่เกิดขึ้นจากความสบาย
   ใจ หรือ ไดรับความสมหวัง
2. อามรณทุกข คือ อารมณที่เกิดจากความไมสบาย
   ใจ หรือ ไดรับความไมสมหวัง
3 องคประกอบอารมณ
ดานสรีระ (Physiological Dimention)
 - อารมณกลัว : Adrenaline
 - อารมณโกรธ : Noradrenaline
ดานการนึกคิด (Cognitive Dimention)
ดานการมีประสบการณ (Experiential
Dimention)
ความเครียด
        เปนเรื่องของรางกายและจิตใจ ที่เกิดจาก
การตื่นตัวเตรียมพบกับเหตุการณใดเหตุการณหนึ่ง
ความเครียดในระดับพอดี จะชวยกระตุนใหเรามี
พลังกระตือรือรนสูชีวิต ชวยผลักดันใหเราเอาชนะ
ปญหาและอุปสรรคตางๆ ไดดีขึ้น
ความเครียดเกิดจาก
สภาพปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต
การคิดและการประเมินสถานการณของบุคคล
          แนวทางในการจัดการกับความเครียด
      1.หมั่นสังเกตอาการผิดปกติของรางกาย จิตใจ และ
  พฤติกรรมที่เกิดจากการเครียด
      2.เมื่อรูวาเครียดปญหาใด จงพยายามแกปญหาใหเร็วไว
      3.เรียนรูการปรับเปลี่ยนความคิดจากแงลบเปนบวก
      4.ผอนคลายความเครียดดวยวิธีที่คุนเคย
      5.ใชเทคนิคเฉพาะการคลายเครียด
จงละเวนการแกปญหาตางๆตอไปนี้
 อยา   !   แกปญหา แบบวูวาม ใชอารมณเปนใหญ
 อยา   !   หนีปญหา
 อยา   !   คิดแตพึ่งพาผูอื่นอยูร่ําไป
 อยา   !   เอาแตลงโทษตนเอง
 อยา   !   โยนความผิดใหคนอื่น
คิดอยางไรไมใหเครียด
คิดในแงยืดหยุนใหมากขึ้น
คิดอยางมีเหตุผล
คิดหลายๆ แงมุม
คิดแตเรื่องดีๆ
คิดถึงคนอื่นบาง
เทคนิคเฉพาะในการคลายเครียด
  การผอนคลายกลามเนื้อ
  การฝกการหายใจ
  การทําสมาธิ
  การจินตนาการ
  การคลายความเครียดจากใจสูกาย
  การนวดคลายเครียด
การผอนคลายกลามเนื้อ
หลักการ
ความเครียดมีผลทําใหกลาเนื้อหอตัวหนานิ่ว
 คิ้วขมวด กําหมัด กัดฟน การเกร็งของกลามเนื้อ
 ทําใหเกิด การเจ็บปวด
ในขณะฝก จิตใจจะจดจอกับการคลายเครียด
 กลามเนื้อสวนตางๆ ทําใหมีสมาธิ
วิธีการฝก
 สถานที่เงียบ
 นั่งในทาสบาย เสื้อผาหลวม ถอดรองเทา
 หลับตา ทําใจใหวาง ตั้งสมาธิอยูที่กลามเนื้อ
สวนตางๆ
ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 10 กลุม
1.มือและแขนขวา โดยกํามือ เกร็งแขน
 แลวคลาย
 2.มือและแขนซาย โดยทําเชนเดียวกัน
 3.หนาผาก โดยเลิกคิ้วสูงและคลาย
 ขมวดคิ้วแลวคลาย
 4.ตา แกม จมูก โดยหลับตาแนน
 ยนจมูกแลวคลาย
ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 10 กลุม
5.ขากรรไกร ลิ้น ริมฝปาก โดยกัดฟน
 ใชลิ้นดันเพดานปาก แลวคลาย เมมปาก
 แนนแลวคลาย
 6.คอ โดยกมหนาใชคางจดคอแลวคลาย
 เงยหนา จนสุดแลวคลาย
 7.อก ไหล และหลัง โดยหายใจเขาลึกๆ
 กลั้นไว แลวคลาย ยกไหลสูงแลวคลาย
ฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ 10 กลุม
8.หนาทองและกน โดยแขมวทองแลวคลาย
ขมิบกนแลวคลาย
9.เทาและขาขวา โดยเหยียดขา งอนิ้วเทาแลว
คลาย เหยียดขากระดูกปลายเทาแลวคลาย
10.เทาและขาซาย โดยทําเชนเดียวกัน
ขอแนะนํา
ระยะเวลาที่เกร็งกลามเนื้อใหนอยกวาระยะเวลา
 ที่ผอนคลาย เชน เกร็ง3-5นาที,
 คลาย10-15นาที
เวลากํามือ ระวังอยาใหเล็บจิกเนื้อตนเอง
ควรฝกประมาณ8-12ครั้ง เพื่อใหเกิด
 ความชํานาญ
การฝกการหายใจ
      หลักการ...การฝกหายใจชาๆ ลึกๆ โดยใช
กลามเนื้อกระบังลม บริเวณทองจะชวยใหรางกาย
ไดอากาศเขาสูปอดมากขึ้น เพิ่มปริมาณออกซิเจน
ในเลือดและยังชวยเพิ่มความแข็งแรงแกกลามเนื้อ
หนาทองและลําไสดวย การฝกการหายใจอยาง
ถูกวิธี จะทําใหหัวใจเตนชาลง สมองแจมใจ
เพราะได ออกซิเจนมากขึ้นและการหายใจชา
จะทําใหรูสึกวาไดปลดปลอยความคลายเครียด
วิธีการฝก
   นั่งในทาสบาย หลับตา เอามือประสานไว
บริเวณทองคอยๆ หายใจเขาพรอมกับนับ
1ถึง 4 เปนจังหวะชาๆ 1..2..3..4..ใหมือ
รูสึกวาพอง พองออก
   กลั้นหายใจเขาไวชั่วครู โดยนับ 1ถึง4 เปน
จังหวะชาๆ เชนเดียวกับการหายใจเขา
วิธีการฝก
  คอยๆผอนลมหายใจออก โดยนับ 1ถึง8
ชาๆ 1..2..3..4..5..6..7..8.. พยายามไลลมออก
หายใจออกมาใหหมด สังเกตวา
  ทําซ้ํา โดยหายใจเขาชาๆ กลั้นไวแลวหายใจ
ออกโดยชวงที่หายใจออกใหนานกวา
หายใจเขา
การทําสมาธิ
หลักการ
เปนการผอนคลายความเครียดที่ลึกซึ้งที่สุด
 เพราะจิตใจจะสงบและปราศจากความคิดที่ซ้ําซาก
 ฟุงซานวิตกกังวล
เอาใจไปจดจอกับสิ่งหนึ่งเพียงอยางเดียว
หากฝกสมาธิเปนประจํา จะทําใหจิตใจ
 เบิกบาน อารมณเย็น สมองแจมใส
วิธีการฝก
1.นั่งในทาสบาย (ขัดสมาธิ พับเพียบ หรือนอนก็ได)
2.หลับตา หายใจเขาออกชาๆ
3.มีวิธีการนับดังนี้
   -หายใจเขานับ1 หายใจออกนับ1
   -หายใจเขานับ2 หายใจออกนับ2 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5
   -นับไปเรื่องๆจนถึง5 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5,6,6
   -แลวเริ่มนับ1 ใหม 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5,6,6,7,7
วิธีการฝก
 -นับจนถึง6แลวเริ่มนับ1ใหม 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5,6,6
 -นับจนถึง7แลวเริ่มนับ1ใหม 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5,6,6,
7,7,8,8
 -นับจนถึง8แลวเริ่มนับ1ใหม 1,1,2,2,3,3,4,4,5,5,6,6,
7,7,8,8,9,9,10,10
 -นับจนถึง9แลวเริ่มนับ1ใหม
 -นับจนถึง10ครบ10ถึงเปน1รอบ
ขอคิด
ในการฝกครั้งแรกๆอาจยังมีสมาธิไมพอ ทําให
 นับเลข ผิดพลาด หรืออาจมีความคิดอื่น
 เขามาแทรก ทําใหลืมนับเปนบางชวงถือเปน
 เรื่อง “ปกติ”
ใหพยายามตั้งสมาธิใหม ในที่สุดจะสามารถนับเลข
 ไดตอเนื่องและไมผิดพลาด และมีสมาธิดีขึ้น
                    1..2..3..!
การจินตนาการ
หลักการ
     เปนกลวิธีอยางหนึ่งที่จะเบี่ยงเบนความสนใจ
 จากสถานการณเครงเครียดในปจจุบัน
 ประสบการณในอดีตที่มีความสุข
     วิธีการนี้ใชไดชั่วคราว ไมใชวิธีการแกปญหา
 จึงไมเหมาะที่จะนํามาใชบอยๆ
การคลายเครียดจากใจสูกาย
หลักการ
         “จิตเปนนาย กายเปนบาว” จิตมีอํานาจที่จะสั่ง
  กายได วิธีนี้เปนวิธีที่ผูฝกสามารถผอนคลายได โดยใช
  ใจสั่งหรือบอกกับตนเองดวยคําพูดงายๆ แตจะไดผลถึง
  การผอนคลายในระดับจิตใตสํานึก
วิธีการฝก
      -ควรฝกการหายใจอยางถูกวิธี
      -ฝกจินตนาการใหชํานาญกอน
การปฏิบัติ
 -นั่งในทาสบายหลับตา
 -หายใจเขา หายใจอออกชาๆ ใชกลามเนื้อกระบังลม
ชวยในการหายใจ หายใจทองพอง หายใจออกทองยุบ
 -หายใจไปเรื่อยๆ จนรูสึกผอนคลาย
       จากนั้นใหจินตนาการถึงอวัยวะสวนตางๆของ
รางกาย โดยบอกอวัยวะนั้นชาๆ 3ครั้ง ดังนี้
1.แขนขวาของฉันหนัก......ๆ.......ๆ
2.แขนซายของฉันหนัก......ๆ.......ๆ
การปฏิบัติ
 3.ขาขวาของฉันหนัก......ๆ.......ๆ
 4.ขาซายของฉันหนัก......ๆ.......ๆ
 5.คอและไหลของฉันหนัก....ๆ.....ๆ
 6.แขนขวาของฉันอุน.....ๆ......ๆ
 7.แขนซายของฉันอุน.....ๆ......ๆ
 8.ขาขวาของฉันอุน.....ๆ......ๆ
 9.ขาซายของฉันอุน.....ๆ......ๆ
10.คอและไหลของฉันอุน.....ๆ......ๆ
การปฏิบัติ
11.หัวใจของฉันเตนอยางสงบและสม่ําเสมอ......ๆ.......ๆ
12.ฉันหายใจไดอยางสงบและสม่ําเสมอ......ๆ.......ๆ
13.ทองของฉันอุนและสงบ....ๆ.....ๆ
14.หนาผากของฉันสบายและสงบ.....ๆ......ๆ
    เมื่อทําครบแลวใหคอยๆลืมตาขึ้น ขยับแขนขาใหสบาย
 และคงความรูสึกสดชื่นไว พรอมที่จะทํากิจกรรม
 ตางๆ ตอไป
ผลดีจากการฝก
       เทคนิคนี้ใชไดผลดีกับการรักษาอาการหรือ
 ความผิดปกติของระบบตางๆ ของรางกายอัน
 เนื่องมาจากความเครียด ไดแก
ระบบทางเดินหายใจ หายใจถี่,เร็ว,หอบหืด
ระบบทางเดินอาหาร ทองผูก,ทองเดิน
ระบบไหลเวียนของเลือด ความดันโลหิตสูง,
 หัวใจเตนเร็ว,ไมเกรน
ชวยลดอาการวิตกกังวล หงุดหงิด เมื่อยลา
การนวดคลายเครียด
หลังการ
      ความเครียดเปนสาเหตุหนึ่งทําใหกลามเนื้อหดเกร็ง
  เลือดไหลเวียนไมสะดวก ปวดตนคอ ปวดหลัง
      การนวดชวยผอนคลายกลามเนื้อ กระตุนการไหลเวียนของ
  เลือดทําใหรูสึกปลอดโปรง หายเครียด และลดการเจ็บปวย
  ตางๆลงได
ขอความระวัง
1.ไมนวดขณะเปนไข,กลามเนื้ออักเสบ หรือเปนโรคผิวหนัง
2.ตัดเล็บใหสั้น
หลักการนวดที่ถูกวิธี
1.การกดใหใชปลายนิ้วที่ถนัด ไดแก นิ้วหัวแมมือ นิ้วชี้
  หรือนิ้วกลาง
2.การนวดจะใชการกดและการปลอยเปนสวนใหญ โดยใช
  เวลากดแตละครั้ง 10วินาที และใชเวลาปลอยใหนาน
  กวากด
3.การกดใหคอยๆเพิ่มแรงทีละนอยและเวลาปลอย
  ใหคอยๆปลอย
4.แตละจุดควรนวดซ้ําประมาณ 3-5 ครั้ง
ผลดีจากการฝกคลายเครียด
ขณะฝก
  -อัตราการเผาผลาญในรางกายลดลง
  -อัตราการเตนของหัวใจลดลง
  -อัตราการหายใจลดลง
  -ความดันโลหิตลดลง
  -ความตึงเครียดของกลามเนื้อลดลง
หลักการฝก
 -ใจเย็นขึ้น
 -ความวิตกกังวลลดลง สบายใจมากขึ้น
 -สมาธิดีขึ้น
 -ความจําดีขึ้น
 -ความสัมพันธกับผูอื่นดีขึ้น
 -สมองแจมใส คิดแกปญหาตางๆ ไดดีขึ้น
กวาเดิม
จุดที่นวด 7 จุดดังนี้
1.จุดกลางระหวางคิ้ว
       ใชปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางกด 3-5ครั้ง
2.จุดใตหัวคิ้ว
       ใชปลายนิ้วชี้และนิ้วกลางกด 3-5ครั้ง
3.จุดขอบกระดูกทายทอย
       จุดกลางใชนิ้วหัวแมมือกด 3-5ครั้ง จุดสองจุด ดานขาง
   ใชวิธีประสานมือบริเวณทายทอย แลวใชนิ้วหัวแมมือ
   ทั้งสองขางกดจุดสองจุดพรอมๆกัน 3-5ครั้ง
จุดที่นวด 7 จุดดังนี้
4.บริเวณตนคอ
      ประสานมือบริเวณทายทอย ใชนิ้วหัวแมมือทั้งสอง
  ขางกดตามแนวสองขางของกระดูกตนคอโดยกดไลจาก
  ตีนผมลงมาถึงบริเวณบา 3-5ครั้ง
5.บริเวณบา
      ใชปลายนิ้วมือขวาบีบไหลซายไลจากบาเขาหา
  ตนคอใชปลายนิ้วมือซายบีบไหลขวาไลจากบาเขาหา
  ตนคอทําซ้ํา 3-5ครั้ง
จุดที่นวด 7 จุดดังนี้
6.บริเวณบาดานหนา
       ใชนิ้วหัวแมมือขวากดจุดใตกระดูกไหปลารา จุดตน
  แขน และจุดเหนือรักแรของบาซาย ใชนิ้วหัวแมมือซาย
  กดจุดเดียวกันที่บาขวา ทําซ้ํา 3-5ครั้ง
7.บริเวณบาดานหลัง
       ใชนิ้วที่ถนัดของมือขวาออมไป กดจุดบนและ
  จุดกลางของกระดูกสะบัก และจุดรักแรดานหลัง
  ของบาซาย ใชนิ้วถนัดของมือซายกดจุดเดียวกับ
  ที่บาขวา ทําซ้ํา 3-5ครั้ง
แนวคิดของการหัวเราะบําบัด
      อิงตามหลักของศาสตรตะวันออกที่มองทุก
อยางขององครวม โดยเนนฝกการหัวเราะหลายๆ
ทาตอเนื่องกัน เพราะในแตละทาจะมีประโยชน
ตางกัน โดยใชเสียงโอ อา อู เอ นํามาประยุกต
ในกระบวนการหัวเราะบําบัด ซึ่งเปน เสียงพื้นฐาน
สากลที่ใชกันทั่วโลก
การหัวเราะบําบัด
      เสียงโอ/ทองหัวเราะ เปนการออกเสียงจาก
ทองโดยยืนตัวตรง กางขาเล็กนอย กางแขน
ออกไปดานขางของลําตัว งอแขนเล็กนอย กํามือ
ทั้งสองขางโดยชูนิ้วหัวแมมือขึ้น ตามองตรง สูด
ลมหายใจเขาปอดลึกๆ กักลมไว จากนั้นคอยๆ
เปลงเสียง “โอ โอะ ๆๆ...” เหมือนเสียง ซานตา-
คลอสหัวเราะ ขณะเดียวกันใหคอยๆปลอยลม
หายใจออก พรอมๆกับขยับแขนขึ้นลง
การหัวเราะบําบัด
      เสียงอา/อกหัวเราะ เปนการเปลงเสียงออก
จากอก ใหยืนตรงกางขาเล็กนอย กางแขนออกไป
ดานขางลําตัวเหมือนนกกระพือปก หงายมือขึ้น
และปลอยมือตามสบาย ตามองตรง สูดลมหายใจ
เขาปอดลึกๆ กักลมไวจากนั้นคอยๆ เปลงเสียง
“อา อะ ๆๆ..” ดังๆเหมือนเสียงเจาพอหัวเราะ
ขณะเดียวกันใหปลอยลมหายใจออก พรอมๆกับ
กระพือแขนขึ้นลง
การหัวเราะบําบัด
    ประโยชนของทางอกหัวเราะ เมื่อเปลงเสียง
อา จะกระตุนใหกลามเนื้อบริเวณหนาอก หัวใจ
ปอดและไหลขยับเขยื้อนไปดวย สงผลใหการสูบฉีด
และการไหลเวียนเลือดในรางกายดีขึ้น
การหัวเราะบําบัด
      เสียงอู/คอหัวเราะ เปนการเปลงเสียงออก
จากลําคอ เริ่มดวยยืนตรงกางขาเล็กนอย แขนยก
ตั้งฉากชี้ไปขางหนา งอนิ้วนางและนิ้วกอยเขาหา
ตัวเอง ยกนิ้วหัวแมมือขึ้นและชี้นิ้วชี้และนิ้วกลางไป
ขางหนาในลักษณะชิดติดกัน เหมือนทายิงปน
ตามองตรง จากนั้นสูดลมหายใจเขาปอดลึกๆ
กักลมไว จากนั้นคอยๆเปลงเสียง “อู อุ ๆๆ.....”
เหมือนเสียงหมาปาหอน ขณะเดียวดันคอยๆ
ปลอยลมหายใจออก พรอมกับแทงมือไปขางหนา
การหัวเราะบําบัด
         เสียงเอ/ใบหนาหัวเราะ ทานี้จะทําแบบ
สบายๆ โดยยืนตามสบาย คอยๆยกมือขึ้นมาตาม
ถนัด สูดลมหายใจลึกๆ แลวขยับทุกนิ้วทั้งหัวแมมือ
ชี้ กลาง นางและกอย ตามองตรง ระหวางนั้นให
เปลงเสียง “เฮ เอะ ๆๆ..” ออกมาเหมือนหยอกลอ
เด็ก เลนจะเอกับเด็กตัวเล็กๆ เสียงเอจะทําใหเรา
ยิ้มงายขึ้น นอกจากกะไดฝกกลามเนื้อมัดเล็ก
ที่นิ้วมือแลวทานี้ยังชวยบริหารสมองดวย
การหัวเราะบําบัด
เสียงเอจะทําใหเรายิ้มงายขึ้น นอกจากจะไดฝก
กลามเนื้อมัดเล็กที่นิ้วมือแลวทานี้ยังชวยบริการ
สมองดวย เสียงเอจะทําใหเรายิ้มงายขึ้น

More Related Content

What's hot

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานPaleenui Jariyakanjana
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Watcharapong Rintara
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 

Similar to อารมณ์การจัดการอารมณ์

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว4LIFEYES
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
สมองกับความคิด 2003
สมองกับความคิด 2003สมองกับความคิด 2003
สมองกับความคิด 2003kruampare
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จ
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จงานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จ
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จnoolek_benza
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
สมองกับความคิด
สมองกับความคิดสมองกับความคิด
สมองกับความคิดkruampare
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 

Similar to อารมณ์การจัดการอารมณ์ (20)

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
04 develop2
04 develop204 develop2
04 develop2
 
Brain
BrainBrain
Brain
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
สมองกับความคิด 2003
สมองกับความคิด 2003สมองกับความคิด 2003
สมองกับความคิด 2003
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จ
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จงานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จ
งานชิ้นแรก.สมองสดใส ทำอะไรก็สำเร็จ
 
F7
F7F7
F7
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
สมองกับความคิด
สมองกับความคิดสมองกับความคิด
สมองกับความคิด
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
Chapter 12
Chapter 12Chapter 12
Chapter 12
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 

อารมณ์การจัดการอารมณ์