SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
โครงสร้้างข้้อมูลแบบกราฟ
โ                      ฟ
ความหมายของกราฟ
                               ฟ
กราฟ เป็นโครงสร้างที่แทนความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่มีข้อมูล
จํากัดน้อย ความสัมพันธ์ที่ไม่จํากัดว่าต้องเป็นตามลําดับขั้น หรือ
ข้อมูลต้องเรียงจากซ้ายไปขวา
กราฟ หมายถึง เชตของสิ่งที่เรียกว่าโหนด และเส้นเชื่อม (Edge) g
โหนด คือ สมาชิกของความสัมพันธ์ระหว่างโหนด 2 โหนด จะ
เขยนอยู นรปของค่ นดับ b)
เขียนอย่ในรูปของคูอันดบ (a ,b)
Edge




a                           b




          Node /Vertices




    ความสัมพันธ์ของโหนด a กับ b
ความสํําคััญของกราฟ
                                  ฟ

กราฟใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย เช่น                            ระบบ
เครอขายคอมพวเตอร การวางแผนขายงาน การวิเคราะห์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การวางแผนข่ายงาน การวเคราะห
เส้ น ทางวิ ก ฤต การวิ เ คราะห์ เ ส้ น ทางที่ สั้ น ที่ สุ ด ถื อ เป็ น
ระบบทีี่ ช่ ว ยในการวางแผนการดํํ า เนิิ น งานเพืื่ อ ใ ้ เ กิิ ด
               ใ                                             ให้
ประสิทธิภาพสูงสุด
ประเภทของกราฟ
                 ป           ฟ
กราฟไมมทศทาง (Undirected Graph) เปนกราฟทมเสนเชอม
กราฟไม่มีทิศทาง (U di t d G h) เป็นกราฟที่มีเส้นเชื่อม
ระหว่างโหนด 2 ตัว ไม่มีทศทาง
                        ิ

                         B




             A                          C




                         D
ประเภทของกราฟ
กราฟมีทิศทาง (Directed Graph) เป็นกราฟที่มีเส้นเชื่อมระบุ
ทิศทางกํากับอยู่

                             B




               A                           C
เส้้นทางเดินในกราฟ
                          ิ ใ ฟ
การกําหนดเส้นทางเดินในกราฟมีการเชื่อมต่อ 2 ลักษณะ คือ
1. ต่อกันโดยทางตรง (Directly Connection)
2. ต่อกันแบบทางอ้อม ( Indirectly Connetion)
เส้้นทางเดินในกราฟ
                            ิ ใ

ระยะทางของการเชือมต่อ การต่อทางตรง ระยะทางจะน้อยกว่า
                     ่
การเชอมตอทางออม
การเชือมต่อทางอ้อม
        ่
เส้นเชื่อมที่เข้าและออกจากโหนด เรียกว่า Degree
  Outdegree เป็็นเส้นทีออกจากโหนด
                         ่
  Indegree เป็นเส้นทีเข้ามายังโหนดนั้นๆ
                     ่
B


                                                          E



    A

                             C



                                                          D


A   B, B   C, C   E ,D   E   มีการเชื่อมต่อกันโดยทางตรง

A   D, B   E, A   C ,C   E   มีการเชื่อมต่อกันโดยอ้อม
การแทนโครงสร้างข้อมูลกราฟ

1. Adjacency Matrix คือ การแทนด้วยอาร์เรย์ ขนาด n x n
              y
โดยการใส่เลข 1 ในแถวที่ i และคอลัมน์ j
มคาเปน หมายถง มีเส้นเชื่อมจาก
มีค่าเป็น 1 หมายถึง มเสนเชอมจาก i ไป j
มีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มีเส้นเชื่อมจาก i ไป j
โครงสรางกราฟแบบไมมทศทาง
            โครงสร้างกราฟแบบไม่มีทิศทาง

A       B
                    i       j   A   B   C   D   E   F
                        A       0   1   1   0   0   0
                        B       1   0   1   1   0   0
                D
                        C       1   0   1   1   1   1

    C                   D       0   1   1   0   1   0
                        E       0   0   1   1   0   0
                        F       0   0   1   0   0   0


            E
F
โครงสรางกราฟแบบมทศทาง
                โครงสร้างกราฟแบบมีทิศทาง

A       B
                    i       j   A   B   C   D   E   F
                        A       0   1   1   0   0   0
                        B       1   0   0   1   0   0
                D
                        C       1   0   1   1   1   1

    C                   D       0   1   1   0   1   0
                        E       0   0   1   1   0   0
                        F       0   0   1   0   0   0


            E
F
การแทนโครงสรางขอมูลกราฟ
                  โ ส้ ้          ฟ

2. Node Directory เกิดจากแทนกราฟด้วยอาร์เรย์ ต้องมีการ
เก็บข้อมูลเส้นทางเชื่อมต่อทุกๆ ด้าน ที่เกิดขึ้น ทําให้สิ้นเปลืองเนื้อ
ที่ มี 2 รูปแบบ คือ
แบบโหนดไดเร็กทอรี่ (Node Directory)
แบบมัลติลิสต์ (Multi-list)
แบบโหนดไดเร็กทอรี่ (NODE DIRECTORY)
เปนการแทนดวยลงกลสต ออกเปน สวน คอ
เป็นการแทนด้วยลิงก์ลิสต์ ออกเป็น 2 ส่วน คือ
โหนดไดเร็กทอรี (Node Directory) คือ ส่วนของพอยเตอร์ที่ทํา
หน้้าทีี่ชไปยัังโ ซึงมีีการเชืื่อมต่่อกัับโ
           ี้ โหนด ึ่                     โหนดแต่่ละโหนด
                                                    โ
เอ็จ อินฟอร์เมชัน (Edge Information) เซตโครงสร้างข้อมูลของ
การเชือมโยงประกอบด้วยชื่อโหนด และพอยเตอร์ทช้ไปยังสมาชิก
         ่                                            ี่ ี
ตัวถัดไป

       Directory                    Edge Information
แบบมัลติลิสต์ (MULTI-LIST)
            แบบมลตลสต

ประกอบดวย สวน คอ สวนทเปนไดเรกทอร และเอจ อนฟอรเม
ปร กอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นไดเร็กทอรี แล เอ็จ อินฟอร์เม
ชัน โดยในไดเร็กทอรีของโหนดแต่ละโหนดจะชีไปยังลิงก์ลิสต์ ที่มี
                                            ้
ขอมูล สวน คอ ข้อมลของโหนด
ข้อมล 4 ส่วน คือ ขอมูลของโหนด i โหนด j

Directory                   Edge Information


                          Vi       Next i      Vj        Next j
การแทนโครงสร้างของกราฟแบบ WEIGHED GRAPH

Weighted graph เรียกอย่างหนึ่งว่า ข่ายงาน คือ กราฟที่มี
ตวเลขกากบดานแตละดาน โดยตัวเลขนั้นอาจแสดงถึงระยะทาง
ตัวเลขกํากับด้านแต่ละด้าน โดยตวเลขนนอาจแสดงถงระยะทาง
เวลา ค่าใช้จาย หรือปริมาณต่างๆ
            ่
WEIGHTED GRAPH
                               2
    1              10 ม.
                               B                    i       j   A    B    C    D    E
        A
                                              5ม
                                               ม.       A       0    10   8    0    0
                2 ม.
8 ม.                               3 ม.       5         B       10   0    2    3    5
3                                                       C       8    2    0    15   0
                                              E
                                                        D       0    3    15   0    12
    C
                       4                                E       0    5    0    12   0
                                      12 ม.
        15 ม
           ม.
                           D
ประยุกต์ใช้กราฟ WEIGHTED GRAPH
ประยุกต์์ใช้กับงานต่่างๆ เช่น การกําหนดเส้้นทางการเดิินจาก
            ้               ่      ํ
จุดเริ่มต้นไปถึงปลายทาง ว่าใช้ถนนเส้นใดบ้าง ระยะทางน้อยที่สุด
จัดการเกี่ยวกับโปรเจ็กต์ต่างๆ ว่ามีขั้นตอนอย่างไร กี่วน กี่ช่วโมง
                                                      ั ั
เพื่อคํานวณค่าใช้จาย
                  ่
มี 2 ลักษณะ คือ PERT และ CPM
PERT (PROGRAM EVALUATION AND REVIEW TECHNIQUE)

เป็นเทคนิคสําหรับคํานวณเวลาที่เร็วที่สุดในการทํากิจกรรมแต่ละ
กิจกรรมให้เสร็จ มีข้อกําจัด คือ กิจกรรมจะต้องเป็นไปตามลําดับ
การทํางานก่อน หลัง กิจกรรมใดทําก่อนต้องทําให้เสร็จก่อนจึงจะ
ทํากิจกรรมอื่นได้
PERT

            5          งาน1                  11

                                  3
เรมตน
เริ่ มต้น
                                                   งาน4
                                      งาน3
                7
                                                           8
                              5

                    งาน2                          เสร็ จ
PERT

 จากรูปภาพ เวลาของการทํางานแต่ละขั้นตอน ดังนี้
 เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 1 งานที่ 3 งานที่ 4 เสร็จงาน
     = 5+3+10+8 = 26
 เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 2 งานที่ 3 งานที่ 4 เสร็จงาน
     = 7+5+10+8 = 30
 เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 1 งานที่ 4 เสร็จงาน
     = 5+11+8 = 24
Graph

More Related Content

What's hot

การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟNAMFON Supattra
 
สื่อวงรี
สื่อวงรีสื่อวงรี
สื่อวงรีaass012
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒Kanchit004
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2Pannathat Champakul
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3Pannathat Champakul
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 

What's hot (19)

work1
work1work1
work1
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟ
 
สื่อวงรี
สื่อวงรีสื่อวงรี
สื่อวงรี
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
Graph1
Graph1Graph1
Graph1
 
9 2
9 29 2
9 2
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
 
Graphs
GraphsGraphs
Graphs
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
6 1
6 16 1
6 1
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
9 3
9 39 3
9 3
 
งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
พื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลมพื้นที่ผิวทรงกลม
พื้นที่ผิวทรงกลม
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
9 1
9 19 1
9 1
 

Similar to Graph (9)

Graph theory
Graph theoryGraph theory
Graph theory
 
Graph shortest
Graph shortestGraph shortest
Graph shortest
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2
 

More from Meaw Sukee (20)

Pix2
Pix2Pix2
Pix2
 
Pix
PixPix
Pix
 
Report
ReportReport
Report
 
Google classroom
Google classroomGoogle classroom
Google classroom
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Plan9
Plan9Plan9
Plan9
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Edit
EditEdit
Edit
 
Problem
ProblemProblem
Problem
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
ตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่มตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่ม
 
Cal 190856
Cal 190856Cal 190856
Cal 190856
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Public
PublicPublic
Public
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Bro
BroBro
Bro
 
Training_edmodo
Training_edmodoTraining_edmodo
Training_edmodo
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Table
TableTable
Table
 

Graph

  • 2. ความหมายของกราฟ ฟ กราฟ เป็นโครงสร้างที่แทนความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่มีข้อมูล จํากัดน้อย ความสัมพันธ์ที่ไม่จํากัดว่าต้องเป็นตามลําดับขั้น หรือ ข้อมูลต้องเรียงจากซ้ายไปขวา กราฟ หมายถึง เชตของสิ่งที่เรียกว่าโหนด และเส้นเชื่อม (Edge) g โหนด คือ สมาชิกของความสัมพันธ์ระหว่างโหนด 2 โหนด จะ เขยนอยู นรปของค่ นดับ b) เขียนอย่ในรูปของคูอันดบ (a ,b)
  • 3. Edge a b Node /Vertices ความสัมพันธ์ของโหนด a กับ b
  • 4. ความสํําคััญของกราฟ ฟ กราฟใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลาย เช่น ระบบ เครอขายคอมพวเตอร การวางแผนขายงาน การวิเคราะห์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การวางแผนข่ายงาน การวเคราะห เส้ น ทางวิ ก ฤต การวิ เ คราะห์ เ ส้ น ทางที่ สั้ น ที่ สุ ด ถื อ เป็ น ระบบทีี่ ช่ ว ยในการวางแผนการดํํ า เนิิ น งานเพืื่ อ ใ ้ เ กิิ ด ใ ให้ ประสิทธิภาพสูงสุด
  • 5. ประเภทของกราฟ ป ฟ กราฟไมมทศทาง (Undirected Graph) เปนกราฟทมเสนเชอม กราฟไม่มีทิศทาง (U di t d G h) เป็นกราฟที่มีเส้นเชื่อม ระหว่างโหนด 2 ตัว ไม่มีทศทาง ิ B A C D
  • 6. ประเภทของกราฟ กราฟมีทิศทาง (Directed Graph) เป็นกราฟที่มีเส้นเชื่อมระบุ ทิศทางกํากับอยู่ B A C
  • 7. เส้้นทางเดินในกราฟ ิ ใ ฟ การกําหนดเส้นทางเดินในกราฟมีการเชื่อมต่อ 2 ลักษณะ คือ 1. ต่อกันโดยทางตรง (Directly Connection) 2. ต่อกันแบบทางอ้อม ( Indirectly Connetion)
  • 8. เส้้นทางเดินในกราฟ ิ ใ ระยะทางของการเชือมต่อ การต่อทางตรง ระยะทางจะน้อยกว่า ่ การเชอมตอทางออม การเชือมต่อทางอ้อม ่ เส้นเชื่อมที่เข้าและออกจากโหนด เรียกว่า Degree Outdegree เป็็นเส้นทีออกจากโหนด ่ Indegree เป็นเส้นทีเข้ามายังโหนดนั้นๆ ่
  • 9. B E A C D A B, B C, C E ,D E มีการเชื่อมต่อกันโดยทางตรง A D, B E, A C ,C E มีการเชื่อมต่อกันโดยอ้อม
  • 10. การแทนโครงสร้างข้อมูลกราฟ 1. Adjacency Matrix คือ การแทนด้วยอาร์เรย์ ขนาด n x n y โดยการใส่เลข 1 ในแถวที่ i และคอลัมน์ j มคาเปน หมายถง มีเส้นเชื่อมจาก มีค่าเป็น 1 หมายถึง มเสนเชอมจาก i ไป j มีค่าเป็น 0 หมายถึง ไม่มีเส้นเชื่อมจาก i ไป j
  • 11. โครงสรางกราฟแบบไมมทศทาง โครงสร้างกราฟแบบไม่มีทิศทาง A B i j A B C D E F A 0 1 1 0 0 0 B 1 0 1 1 0 0 D C 1 0 1 1 1 1 C D 0 1 1 0 1 0 E 0 0 1 1 0 0 F 0 0 1 0 0 0 E F
  • 12. โครงสรางกราฟแบบมทศทาง โครงสร้างกราฟแบบมีทิศทาง A B i j A B C D E F A 0 1 1 0 0 0 B 1 0 0 1 0 0 D C 1 0 1 1 1 1 C D 0 1 1 0 1 0 E 0 0 1 1 0 0 F 0 0 1 0 0 0 E F
  • 13. การแทนโครงสรางขอมูลกราฟ โ ส้ ้ ฟ 2. Node Directory เกิดจากแทนกราฟด้วยอาร์เรย์ ต้องมีการ เก็บข้อมูลเส้นทางเชื่อมต่อทุกๆ ด้าน ที่เกิดขึ้น ทําให้สิ้นเปลืองเนื้อ ที่ มี 2 รูปแบบ คือ แบบโหนดไดเร็กทอรี่ (Node Directory) แบบมัลติลิสต์ (Multi-list)
  • 14. แบบโหนดไดเร็กทอรี่ (NODE DIRECTORY) เปนการแทนดวยลงกลสต ออกเปน สวน คอ เป็นการแทนด้วยลิงก์ลิสต์ ออกเป็น 2 ส่วน คือ โหนดไดเร็กทอรี (Node Directory) คือ ส่วนของพอยเตอร์ที่ทํา หน้้าทีี่ชไปยัังโ ซึงมีีการเชืื่อมต่่อกัับโ ี้ โหนด ึ่ โหนดแต่่ละโหนด โ เอ็จ อินฟอร์เมชัน (Edge Information) เซตโครงสร้างข้อมูลของ การเชือมโยงประกอบด้วยชื่อโหนด และพอยเตอร์ทช้ไปยังสมาชิก ่ ี่ ี ตัวถัดไป Directory Edge Information
  • 15. แบบมัลติลิสต์ (MULTI-LIST) แบบมลตลสต ประกอบดวย สวน คอ สวนทเปนไดเรกทอร และเอจ อนฟอรเม ปร กอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็นไดเร็กทอรี แล เอ็จ อินฟอร์เม ชัน โดยในไดเร็กทอรีของโหนดแต่ละโหนดจะชีไปยังลิงก์ลิสต์ ที่มี ้ ขอมูล สวน คอ ข้อมลของโหนด ข้อมล 4 ส่วน คือ ขอมูลของโหนด i โหนด j Directory Edge Information Vi Next i Vj Next j
  • 16. การแทนโครงสร้างของกราฟแบบ WEIGHED GRAPH Weighted graph เรียกอย่างหนึ่งว่า ข่ายงาน คือ กราฟที่มี ตวเลขกากบดานแตละดาน โดยตัวเลขนั้นอาจแสดงถึงระยะทาง ตัวเลขกํากับด้านแต่ละด้าน โดยตวเลขนนอาจแสดงถงระยะทาง เวลา ค่าใช้จาย หรือปริมาณต่างๆ ่
  • 17. WEIGHTED GRAPH 2 1 10 ม. B i j A B C D E A 5ม ม. A 0 10 8 0 0 2 ม. 8 ม. 3 ม. 5 B 10 0 2 3 5 3 C 8 2 0 15 0 E D 0 3 15 0 12 C 4 E 0 5 0 12 0 12 ม. 15 ม ม. D
  • 18. ประยุกต์ใช้กราฟ WEIGHTED GRAPH ประยุกต์์ใช้กับงานต่่างๆ เช่น การกําหนดเส้้นทางการเดิินจาก ้ ่ ํ จุดเริ่มต้นไปถึงปลายทาง ว่าใช้ถนนเส้นใดบ้าง ระยะทางน้อยที่สุด จัดการเกี่ยวกับโปรเจ็กต์ต่างๆ ว่ามีขั้นตอนอย่างไร กี่วน กี่ช่วโมง ั ั เพื่อคํานวณค่าใช้จาย ่ มี 2 ลักษณะ คือ PERT และ CPM
  • 19. PERT (PROGRAM EVALUATION AND REVIEW TECHNIQUE) เป็นเทคนิคสําหรับคํานวณเวลาที่เร็วที่สุดในการทํากิจกรรมแต่ละ กิจกรรมให้เสร็จ มีข้อกําจัด คือ กิจกรรมจะต้องเป็นไปตามลําดับ การทํางานก่อน หลัง กิจกรรมใดทําก่อนต้องทําให้เสร็จก่อนจึงจะ ทํากิจกรรมอื่นได้
  • 20. PERT 5 งาน1 11 3 เรมตน เริ่ มต้น งาน4 งาน3 7 8 5 งาน2 เสร็ จ
  • 21. PERT จากรูปภาพ เวลาของการทํางานแต่ละขั้นตอน ดังนี้ เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 1 งานที่ 3 งานที่ 4 เสร็จงาน = 5+3+10+8 = 26 เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 2 งานที่ 3 งานที่ 4 เสร็จงาน = 7+5+10+8 = 30 เส้นทางที่ 1 เริ่มต้น งานที่ 1 งานที่ 4 เสร็จงาน = 5+11+8 = 24