SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
คำนำ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560-2563) ของเทศบาลตาบลท่าเสา เป็นการวางแผนพัฒนาที่
มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เป็นกรอบในการกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา
ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาล
ตาบลท่าเสาที่ต้องกาหนดถึงสภาพที่ต้องการจะพัฒนาและแนวทางที่จะทาให้บรรลุถึงสภาพการณ์ นั้น
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา จึงเป็นการกาหนดทิศทางในอนาคต
ของเทศบาล โดยกาหนดตามสภาพการณ์ที่เป็นจริง เพื่อกาหนดความต้องการ แนวทางการแก้ไขปัญหาและ
แนวทางการพัฒนาด้านต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านและเป็นระบบ
หาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค์ต่าง ๆ เพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารราชการของเทศบาลตาบล
ท่าเสา นาไปสู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง
เทศบาลตาบลท่าเสา
พฤษภาคม 2559
สำรบัญ
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลท่าเสา 6
บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ 23
บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 49
บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 64
บทที่ 1
บทนำ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548
กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยกาหนดนิยามความหมายของ
“แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ” หมำยควำมว่ำ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่
กำหนดยุทธศำสตร์และแนวทำงกำรพัฒนำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
จุดมุ่งหมำยเพื่อกำรพัฒนำในอนำคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ แผนกำรบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำจังหวัด อำเภอ และแผนชุมชน รวมถึงนโยบำยในกำรพัฒนำท้องถิ่น
การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มีความสาคัญต่อเทศบาลตาบลท่าเสาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจาก
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เป็นกรอบในการกาหนด
ทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง
โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็น
การกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสาที่ต้องกาหนดถึงสภาพที่ต้องการจะพัฒนาและแนวทางที่จะทา
ให้บรรลุถึงสภาพการณ์นั้น
ดังนั้น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา จึงเป็นการกาหนดทิศทางในอนาคต
ของเทศบาล โดยกาหนดตามสภาพการณ์ที่เป็นจริง เพื่อกาหนดความต้องการ แนวทางแก้ไขปัญหา และแนวทางการ
พัฒนาด้านต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านและเป็นระบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง
โอกาส และอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารราชการของเทศบาลตาบลท่าเสา สามารถนาไป
สู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง
1.1 ลักษณะของแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา ได้จัดทาขึ้นโดยยึดระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 มาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาเทศบาล เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นใน
อนาคต เป็นกระบวนการและกรอบในการกาหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มุ่งไปสู่
สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และการกาหนดสภาพการณ์ที่ต้องการบรรลุ และแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการ
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งต้องสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น และปัญหา/
ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ นโยบายในระดับต่าง ๆ ของรัฐบาล อันจะก่อให้เกิดการบรูณาการด้านการพัฒนาในทุกด้านไป
พร้อม ๆ กันอย่างสมดุล ส่งผลให้เทศบาล อาเภอ และจังหวัด มีแนวทางการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้การ
พัฒนาท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุด และตรงตามความต้องการของประชาชน
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
1. เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะที่พึงประสงค์ของการพัฒนาในอนาคต ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในเขตเทศบาล
ตาบลท่าเสา
2. เพื่อแสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมาย และแนวทางการดาเนินงานของเทศบาลตาบลท่าเสาในการพัฒนาท้องถิ่น
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
2
3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงทิศทางในการพัฒนาที่สอดคล้อง และสอดประสานไปกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ
สังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ตลอดจนสภาพแวดล้อมของเศรษฐกิจและสังคมที่
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
4. เพื่อแสดงให้เห็นว่าผลลัพธ์สุดท้ายของการพัฒนามีเจตจานงในการสร้างระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
ในท้องถิ่น ให้ดีขึ้นในทุกด้านอย่างมีความสมดุล โปร่งใส และตรวจสอบได้
1.3 ขั้นตอนในกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548
ข้อ 16 การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ดาเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดาเนินการ ดังนี้
(1) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
แจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เพื่อนามากาหนดแนวทางการจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณา
ประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
(2) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมแนวทางและข้อมูลนามาวิเคราะห์ เพื่อ
จัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น
(3) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
(4) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
จากระเบียบกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว สามารถสรุปขั้นตอนในการดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การ
พัฒนาได้ 9 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 กำรเตรียมกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน กองวิชาการและแผนงาน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดทาโครงการ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560-2563) ของเทศบาลตาบลท่าเสา เสนอผ่านปลัดเทศบาล โดยขอรับ
อนุมัติจากนายกเทศมนตรีตาบลท่าเสา ซึ่งโครงการดังกล่าวจะเป็นการกาหนดทรัพยากรในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนา และกาหนดปฏิทินการทางานไว้อย่างชัดเจน แล้วแจ้งโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่
1. คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา
2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา
3. หน่วยงานภายในเทศบาล ได้แก่ สานักปลัดเทศบาล กองวิชาการและแผนงาน กองคลัง กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และกองการศึกษา
4. ประชาคม (Civil Society)
ขั้นตอนที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูลและปัญหำสำคัญ
รวบรวมข้อมูล ปัญหา ศักยภาพของท้องถิ่น โดยจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และ
ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และ
ประเด็นที่เกี่ยวข้องตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนามา
กาหนดแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และ
ข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพร้อมทั้งจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
3
ขั้นตอนที่ 3 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเพื่อประเมินสภำพกำรณ์พัฒนำของท้องถิ่นในปัจจุบัน
เป็นการประเมินสถานภาพของท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยการวิเคราะห์ถึงโอกาส และสภาวะคุกคามหรือ
ข้อจากัด อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่น รวมถึงการวิเคราะห์จุดอ่อน
จุดแข็งของท้องถิ่น อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายในท้องถิ่น ซึ่งทั้งหมดเป็นการประเมินสถานภาพของท้องถิ่นในปัจจุบัน
โดยเป็นการตอบคาถามว่า “ปัจจุบันท้องถิ่นมีสถานภาพการพัฒนาอยู่จุดไหน” สาหรับใช้เป็นประโยชน์ในการ
กาหนดการดาเนินงานในอนาคตต่อไป ทั้งนี้ โดยใช้เทคนิค SWOT analysis ซึ่งเป็นการพิจารณาถึงปัจจัยภายใน
ได้แก่ จุดแข็ง (Strength-S) จุดอ่อน (Weak-W) และปัจจัยภายนอก ได้แก่ โอกาส (Opportunity-O) และอุปสรรค
(Threat-T) เป็นเครื่องมือ
SWOT analysis
จุดแข็ง หมายถึง ทรัพยากรในการดาเนินงานหรือทุนทรัพย์ขององค์กร
จุดอ่อน หมายถึง ข้อด้อยขององค์กรในการดาเนินงาน
โอกาส หมายถึง ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้การดาเนินงานขององค์กรดีขึ้น
อุปสรรค หมายถึง ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้การดาเนินงานขององค์กรด้อยลง
ปัจจัยภำยใน ประกอบด้วยปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่ต้องนามาพิจารณา
 ด้านการบริหาร ได้แก่ การแบ่งส่วนราชการ การวางแผน การประสานงาน การมอบ
อานาจ การกากับดูแล เป็นต้น
 ระเบียบ กฎหมาย
 บุคลากร ได้แก่ อัตรากาลัง คุณภาพ วินัย ทัศนคติ พฤติกรรม เป็นต้น
 งบประมาณ รวมทั้งความช่วยเหลือต่าง ๆ
 ระบบฐานข้อมูล
 การประสานงาน/ การอานวยการ/ การร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
 ทรัพยากร เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทางาน
กำรวิเครำะห์จุดแข็ง (Strength = S) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงานมีส่วนดี ความ
เข้มแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ ส่วนที่ส่งเสริมความสาเร็จซึ่งจะพิจารณาในด้านต่าง ๆ
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก
S = Strength
จุดแข็ง
W = Weak
จุดอ่อน
SWOT
ประเด็น
O = Opportunity
โอกาส
T = Threat
อุปสรรค
4
กำรวิเครำะห์จุดอ่อน (Weak = W) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงานว่ามีส่วนเสีย ความ
อ่อนแอ ข้อจากัด ความไม่พร้อม ซึ่งจะพิจารณาในด้านต่าง ๆ เช่นเดียวกับการวิเคราะห์จุดแข็ง
ปัจจัยภำยนอก ประกอบด้วย
 ด้านการเมือง หมายถึง ระดับความขัดแย้ง และกลุ่มผลประโยชน์
 ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ เศรษฐกิจรวมในเขตพื้นที่ (เช่น ผลผลิต รายได้ รายจ่าย การออม
การลงทุน การใช้ที่ดิน แรงงาน) การเกษตรกรรม การพาณิชยกรรม การคลัง
 ด้านสังคม
 นโยบายรัฐบาล/กฎหมาย
 เทคโนโลยี
กำรวิเครำะห์โอกำส (Opportunity = O) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกว่ามีสภาพเป็น
เช่นไร เหตุการณ์สถานการณ์ของโลก ประเทศ จังหวัด และอาเภอ ที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อท้องถิ่นอย่างไร มีการ
เปลี่ยนแปลงใดที่เป็นประโยชน์ หรือเป็นโอกาสอันดีต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
การปกครอง และเทคโนโลยี
กำรวิเครำะห์อุปสรรค (Threat = T) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นอุปสรรคหรือ
ภาวะคุกคาม ก่อให้เกิดผลเสียหรือเป็นข้อจากัดต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ
ปกครอง และเทคโนโลยี เช่นเดียวกับการวิเคราะห์โอกาส
ขั้นตอนที่ 4 กำรกำหนดวิสัยทัศน์และภำรกิจหลักกำรพัฒนำท้องถิ่น
นาข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 3 มากาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น
1. การกาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น
วิสัยทัศน์ (Vision) หมายถึง ถ้อยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณ์ในอุดมคติ ซึ่งเป็น “จุดหมาย” ที่ต้องการให้
เกิดขึ้นในอนาคต อันเป็นการตอบคาถามที่ว่า “ท้องถิ่นต้องการอะไร ในอนาคต”
2. การกาหนดภารกิจหลัก ในการพัฒนาท้องถิ่น
ภำรกิจหลัก (Mission) หมายถึง ข้อความหรือถ้อยแถลงที่แสดงถึงลักษณะ หรือขอบข่ายในการ
ดาเนินงานที่เกี่ยวกับการบริหารและการจัดบริการสาธารณะ รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับองค์กร หรือภาพลักษณ์ที่ต้องการ
นาเสนอ และปณิธานหรือปรัชญาในการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นขอบเขตของบทบาทหน้าที่
หลักหรือขอบเขตของกิจกรรมที่มุ่งเน้นเป็นพิเศษที่ต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้
ดังนั้น การตอบคาถามว่าท้องถิ่นจะต้องทาอะไร เพื่อใคร คาตอบที่เกิดขึ้นก็คือ ความหมายของคาว่า
“ภารกิจหลัก” นั่นเอง หากเปรียบวิสัยทัศน์เป็นเสมือนจุดหมายปลายทางแล้ว ภารกิจหลักก็เป็นเสมือนเส้นทาง
ที่ถูกต้อง ชัดเจนที่จะนาเราไปสู่จุดหมายปลายทางนั้นโดยสวัสดิภาพ ภารกิจหลักมีอยู่ 2 ระดับ คือ ระดับองค์กร
(Organtzational Mission) และระดับส่วนงาน (Departmental Mission) ภารกิจหลักทั้ง 2 ระดับนี้มีความหมาย
เดียวกัน แตกต่างกันเพียงขอบเขตของบทบาทหน้าที่ที่ปลีกย่อยลงไปตามลาดับชั้นของโครงสร้างองค์กรเท่านั้น
แต่ที่สาคัญก็คือภารกิจทั้ง 2 ระดับ ต้องสอดคล้องสนับสนุนกันและกันอย่างน้อยที่สุดต้องไม่ขัดแย้งกัน ในการจัดทา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจะเป็นการแสดงภารกิจหลักระดับองค์กร แต่ขณะเดียวกันหน่วยงานภายในองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นก็จะต้องมีการกาหนดภารกิจของหน่วยงานประกอบไปด้วย
ขั้นตอนที่ 5 กำรกำหนดจุดมุ่งหมำยเพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน
จุดมุ่งหมายเพื่อการวางแผนพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง ขอบเขต หรือประเภทของกิจกรรมที่ควรค่าแก่การ
ดาเนินงานทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะก่อให้เกิดการพัฒนา
ที่ยั่งยืน เพื่อนาไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์และภารกิจหลักที่ได้กาหนดไว้
5
ขั้นตอนที่ 6 กำรกำหนดวัตถุประสงค์กำรพัฒนำท้องถิ่น
เป็นการกาหนดผลสาเร็จที่ต้องการ โดยดาเนินการหลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ท้องถิ่นจะต้องทาแล้วเพื่อนา
ท้องถิ่นไปให้บรรลุความต้องการที่จะเป็นในอนาคต
ขั้นตอนที่ 7 กำรกำหนดยุทธศำสตร์กำรพัฒนำและแนวทำงกำรพัฒนำ
เมื่อได้ดาเนินการกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานการ
วิเคราะห์ SWOT แล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การกาหนดแนวทางการพัฒนาของท้องถิ่น การพัฒนาของท้องถิ่น
ซึ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่บ่งบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององค์กรว่าจะก้าว
ไปสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร อันเป็นการตอบคาถามว่า “ท้องถิ่นจะไปถึงจุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร”
ขั้นตอนที่ 8 กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำท้องถิ่น
เป็นการกาหนดปริมาณหรือจานวนสิ่งที่ต้องการให้บรรลุในแต่ละแนวทางการพัฒนา ภายในเวลาที่กาหนดจึงมี
ความเฉพาะเจาะจงในผลที่คาดว่าจะได้รับในเชิงปริมาณตามช่วงเวลาต่าง ๆ ของกระบวนการดาเนินงาน
ขั้นตอนที่ 9 กำรอนุมัติและประกำศใช้แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น นาผลที่ได้จากขึ้นตอนที่ 1 ถึงขั้นตอนที่ 8 มาจัดทา
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อพิจารณาและ
ปรับปรุงก่อนนาเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่ออนุมัติร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์
การพัฒนา
1.4 ประโยชน์ของกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ
1. เป็นกรอบในการปฏิบัติงาน แผนยุทธศาสตร์เป็นการกาหนดแนวทางเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรและ
เปรียบเสมือนเข็มทิศในการชี้ทางการพัฒนา ทาให้การปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ลดความซ้าซ้อนและการ
สิ้นเปลืองทรัพยากรในการบริหาร
2. เป็นการรวมพลังในองค์กร กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เป็นลักษณะของความร่วมมือร่วมใจกัน
ดาเนินงานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลต่อการมีส่วนร่วม และเป็นพันธกิจร่วมกันในองค์กร ซึ่งผลจากการ
ร่วมมือกันจะนาไปสู่การมีผลงานที่มีประสิทธิภาพ
3. เป็นตัวส่งเสริมกาลังใจในการปฏิบัติงาน แผนยุทธศาสตร์ไม่เป็นเพียงการวิเคราะห์ข้อมูล แต่รวมถึงความคิด
สร้างสรรค์ และแผนยุทธศาสตร์จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ แนวทางและความมุ่งหวัง จึงส่งผลให้เกิดความมั่นใจใน
แนวทางการปฏิบัติงาน โดยปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
4. แผนยุทธศาสตร์เป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงทุกสถานการณ์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ในภาพของ
ศักยภาพหรือจุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร ตลอดทั้งปัจจัยที่จะสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานขององค์กร
6
บทที่ 2
สภำพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐำนของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
2.1 ข้อมูลทั่วไป
 ประวัติควำมเป็นมำ
เทศบำลตำบลท่ำเสำ
(Thasao Subdistrict Municipality)
ตาบลท่าเสา ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในสมัยสุโขทัยได้มีการตั้งเมือง เช่น
เมืองฝาง หรือเมืองสวางคบุรี เมืองทุ่งยั้ง และเวียงเจ้าเงาะ เมืองตาชูชก เป็นต้น ซึ่งเมืองต่าง ๆ เหล่านี้ มีหลักฐาน
ประวัติศาสตร์ทางศิลาจารึกบ้าง หลักฐานทางโบราณคดีบ้าง ในสมัยอยุธยา เมื่อ พ.ศ.1893 ปรากฏว่ามีเมืองขึ้นถึง
16 เมืองด้วยกัน ในจานวน 16 เมืองนี้ มีเมืองพิชัยในท้องที่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบันด้วย ต่อมาพระเจ้าอยู่หัว
บรมโกศเสด็จถึงเมืองทุ่งยั้ง และเมืองสวางคบุรี เพื่อนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ และพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ก่อนที่
พระสังฆราช “เรือน” ไปครองเมืองสวางคบุรี ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือตั้งเมืองพิษณุโลกจนถึงอาเภอน้าปาด
จังหวัดอุตรดิตถ์ และในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช พระเจ้ากรุงธนบุรีก็มีความเกี่ยวพันกับเมืองพิชัยอย่างแน่นแฟ้น
โดยใช้เป็นที่พักทุกครั้งที่กรีฑาทัพผ่านมา และใช้เป็นที่รวบรวมทัพก่อนขึ้น ตีเมืองฝ่ายเหนือ และล้านนา
แต่ก่อนนั้น การเดินทางและการส่งสินค้า เพื่อมาขายทางตอนเหนือมีสะดวกทางเดียว คือ ทางน้า สาหรับ
แม่น้าที่สามารถให้เรือสินค้าขึ้นลงสะดวกถึงภาคเหนือตอนล่าง ก็มีแม่น้าน่านเท่านั้น เรือสินค้าซึ่งมาจากบางกอก
หรือกรุงศรีอยุธยาจะมาขนถ่ายสินค้าส่งขึ้นไปทางเหนือที่อุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางเรือจะขึ้นล่องสะดวก
ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนมกราคม ถ้าเป็นฤดูแล้งก็จะใช้เรือขนถ่ายสินค้าจากเรือใหญ่ ที่ปากน้าโพขึ้นไปสุดทาง
แควน้ากว้างไม่มีเกาะแก่งน้าไม่ไหลเชี่ยว
ท่าเซา เป็นหนึ่งในสามท่าที่เป็นต้นกาเนิดท่าเรือเหมือนกับท่าโพ ท่าอิด มาจนถึงทุกวันนี้ ท่าทั้งสาม
เป็นท่าเรือมาแต่สมัยโบราณ นับตั้งแต่ประมาณปีพุทธศักราช 1400 ซึ่งขณะนั้นขอมได้ปกครองแผ่นดินในแถบนี้ก็ได้ใช้
ท่าทั้งสามนี้เป็นที่ขนถ่ายสินค้า ติดต่อกันตลอดมา และผ่านที่สาคัญทางการค้าในสมัยก่อน
ท่าเซา เมื่อครั้งก่อนปีพุทธศักราช 2430 เป็นป่าดง แต่คาเหนือเรียกว่าท่าเซา มีความหมายเป็นที่พักซึ่งเป็น
ที่หยุดพัก คือ คาว่า เซา-เซา ก็บอกให้หยุดพักนั้นเองและได้เปลี่ยนมาเป็น ท่าเสา จนถึงปัจจุบันนี้
 ขนำดและที่ตั้ง
เทศบาลตาบลท่าเสา เป็นเทศบาลตาบล 1 ใน 16 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอาเภอเมือง
อุตรดิตถ์ ได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตาบลท่าเสาเป็นเทศบาลตาบลท่าเสา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเทศบาลตาบลท่าเสา เมื่อวันที่
17 กรกฎาคม พ.ศ.2551
7
ปัจจุบันสานักงานเทศบาลตาบลท่าเสา ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 10 บ้านม่อนดินแดง ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง
อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองอุตรดิตถ์ และศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ทางทิศเหนือ
ประมาณ 1 กม. และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถไฟ 485 กม. โดยทางรถยนต์ 491 กม.
 ลักษณะทำงภูมิศำสตร์
เทศบาลตาบลท่าเสา มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 25 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลตาบลน้าริด อาเภอเมืองอุตรดิตถ์
ทิศใต้ ติดต่อกับ เทศบาลตาบลบ้านเกาะ อาเภอเมืองอุตรดิตถ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ อาเภอเมืองอุตรดิตถ์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตาบลชัยจุมพล อาเภอลับแล
8
 ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตาบลท่าเสา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ราบลุ่ม
สภาพความลาดชันจะมีความลาดชัน ประมาณ 2-5 เปอร์เซ็นต์
 ทรัพยำกรธรรมชำติ
เทศบาลตาบลท่าเสา มีทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ๆ ในพื้นที่ ดังนี้
1. ลาห้วย ลาน้า และคลอง จานวน 4 สาย ดังนี้
1.1 คลองเหมืองปู่เจ๊ก หมู่ที่ 4 ความยาวประมาณ 0.30 กิโลเมตร
1.2 คลองตาตุ๊ หมู่ที่ 7 ความยาวประมาณ 0.50 กิโลเมตร
1.3 คลองห้วยด้วน หมู่ที่ 8 ความยาวประมาณ 2.00 กิโลเมตร
1.4 คลองด้วน หมู่ที่ 9 ความยาวประมาณ 0.40 กิโลเมตร
2. ป่าไม้
2.1 ป่าไม้เบญจพรรณ ประมาณ 3,500 ไร่
2.2 ป่าสัก ประมาณ 50 ไร่
3. ภูเขา
3.1 ม่อนผู หมู่ที่ 5
3.2 ม่อนชะอม หมู่ที่ 7
2.2 ข้อมูลพื้นฐำนทั่วไป
 ประชำกร
เทศบาลตาบลท่าเสา มีประชากรทั้งสิ้นจานวน 13,996 คน แยกเป็นชาย จานวน 7,063 คน
แยกเป็นหญิง จานวน 6,933 คน อัตราความหนาแน่นของประชาชน 559.44 ต่อตารางกิโลเมตร
ช่วงอำยุ
(ปี)
ชำย
(คน)
หญิง
(คน)
รวม
(คน)
ทารก-6 ปี 462 416 878
7-12 ปี 431 414 845
13-17 ปี 419 383 802
18-60 ปี 4,851 4,587 9,438
60 ปี ขึ้นไป 900 1,133 2,033
รวม 7,063 6,933 13,996
ที่มา : งานทะเบียนราษฎร สานักปลัดเทศบาล (ณ เดือนเมษายน 2559)
9
จานวนครัวเรือนทั้งหมดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 6,908 หลังคาเรือน 10 หมู่บ้าน
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้ำน จำนวนครัวเรือน
1 บ้านคลองห้วยไผ่ 509
2 บ้านหนองบัว 501
3 บ้านหนองผา-นาโปร่ง 1,239
4 บ้านหนองคาฮ้อย 834
5 บ้านม่อนดินแดง 691
6 บ้านบนดง 606
7 บ้านดงตะขบ 478
8 บ้านดงตะขบ 1,347
9 บ้านหนองหิน 342
10 บ้านม่อนดินแดง 361
รวม 6,908
ที่มา : งานทะเบียนราษฎร สานักปลัดเทศบาล (ณ เดือนเมษายน 2559)
 เขตกำรปกครอง
เทศบาลตาบลท่าเสา มีจานวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลตาบลเต็มทั้งหมู่บ้าน จานวน 10
หมู่บ้าน (แยกตามเขต) ดังนี้
เขต หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้ำน ผู้นำหมู่บ้ำน ตำแหน่ง
1 1 บ้านคลองห้วยไผ่ นางบัวหลิ่น เพ็ชรเกิด ผู้ใหญ่บ้าน
2 บ้านหนองบัว นายพงษ์ศักดิ์ ทองลิขิตสกุล ผู้ใหญ่บ้าน
3 บ้านหนองผา-นาโปร่ง นายสมหมาย ก้อนทอง กานันตาบลท่าเสา
4 บ้านหนองคาฮ้อย นายดารง คงคณะ ผู้ใหญ่บ้าน
9 บ้านหนองหิน นายขัน หอมวงศ์ ผู้ใหญ่บ้าน
2 5 บ้านม่อนดินแดง นายสายรุ้ง คาใส ผู้ใหญ่บ้าน
6 บ้านบนดง นายสมบัติ ธรรมโชติ ผู้ใหญ่บ้าน
7 บ้านดงตะขบ นายศุรชัย ปิ่นปาน ผู้ใหญ่บ้าน
8 บ้านดงตะขบ นางณัฐกานต์ นิยมจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน
10 บ้านม่อนดินแดง นายทองสุก เรือนจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน
 อำชีพ/ผลิตภัณฑ์มวลรวมรำยได้
ประชากรในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา ประกอบอาชีพหลายอาชีพ เช่น รับราชการ รับจ้างทั่วไป
ทาการเกษตร ทานา ทาธุรกิจ ค้าขาย ฯลฯ
1. รายได้จากการประกอบอาชีพรับจ้าง ประมาณ 40,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
2. รายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมาณ 40,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
3. รายได้จากการประกอบอาชีพค้าขาย ประมาณ 60,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
10
 หน่วยธุรกิจในเขตเทศบำลตำบลท่ำเสำ มีหน่วยธุรกิจอยู่ในพื้นที่ดังนี้
1. โรงแรม จานวน 7 แห่ง
2. สถานีบริการน้ามัน จานวน 4 แห่ง
3. โรงสีข้าวขนาดใหญ่ จานวน 1 แห่ง
4. หอพัก/บ้านเช่า จานวน 163 แห่ง
5. ร้านค้าทั่วไป จานวน 130 แห่ง
6. ตลาดสด จานวน 1 แห่ง
7. โรงฆ่าสัตว์ จานวน - แห่ง
8. สถานที่จาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข จานวน 67 แห่ง
 เชื้อชำติ
ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลท่าเสาส่วนใหญ่มีเชื้อชาติไทย คิดเป็นร้อยละ 99.00 มีเชื้อชาติ
อื่น ๆ เพียงเล็กน้อย รวมไม่เกินร้อยละ 1
 สถำบันและองค์กรทำงกำรศำสนำ
1. วัด/สานักสงฆ์ จานวน 4 แห่ง
1.1 วัดอรัญญิการาม หมู่ที่ 4
1.2 วัดนาโปร่ง (ม่อนถ้าชัยมงคล) หมู่ที่ 3
1.3 วัดดอยท่าเสา หมู่ที่ 6
1.4 วัดแนวคีรี หมู่ที่ 10
2. ศาลเจ้า จานวน 1 แห่ง
3. มัสยิด จานวน 1 แห่ง
ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา ร้อยละ 98.75 ของจานวนประชากรทั้งหมดนับถือศาสนา
พุทธ ร้อยละ 0.37 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 0.88 นับถือศาสนาคริสต์
 ข้อมูลเกี่ยวกับกำรศึกษำ
เทศบาลตาบลท่าเสา มีสถานศึกษา/แหล่งที่ให้ความรู้กับ เด็ก นักเรียน จานวน 7 แห่ง ดังนี้
สังกัด แห่ง
นักเรียน
(คน)
ห้องเรียน
(ห้อง)
ครู/อำจำรย์
(คน)
1. โรงเรียนวัดอรัญญิการาม 1 293 9 13
2. โรงเรียนม่อนดินแดงวิทยาคม 1 41 8 5
3. โรงเรียนวัดดอย 1 52 7 7
4. โรงเรียนพิชัยดาบหัก 1 1 140 8 11
5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนบ้านม่อนดินแดง 1 60 3 3
6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนค่ายพิชัยดาบหักฯ 1 100 4 4
7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน
(โรงเรียนพิชัยดาบหัก 1)
1 25 1 1
รวม 7 711 40 44
ที่มา : งานการศึกษา กองการศึกษา (ณ เดือนมีนาคม 2559)
11
 กำรสำธำรณูปโภค
ในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา มีระบบสาธารณูปโภคเพื่อให้บริการแก่ประชาชน ดังนี้
1. ทางหลวงแผ่นดิน 3 สายที่สาคัญ ได้แก่
1.1 ถนนบรมอาสน์ (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 102)
1.2 ถนนอินใจมี (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1041)
1.3 ถนนอุตรดิตถ์-เขื่อนสิริกิต์ (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1045)
2. ทางหลวงชนบท 1 สาย ได้แก่
2.1 ถนนหนองคาฮ้อย-ม่อนดินแดง
3. ถนนภายในเขตเทศบาล มีทั้งหมด 266 สาย แยกเป็น
3.1 ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จานวน 260 สาย
3.2 ถนนลูกรัง/หินคลุก จานวน 6 สาย
4. สะพาน จานวน 6 สาย
5. แม่น้า จานวน 1 สาย
6. ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าส่องสว่าง) จานวน 1,804 จุด ครอบคลุมถนน 29 สาย
 ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนที่ออกกำลังกำยและสถำนที่พักผ่อนหย่อนใจ
1. สนามกีฬาอเนกประสงค์ จานวน 2 แห่ง
2. สนามฟุตบอล จานวน 1 แห่ง
3. สนามบาสเก็ตบอล จานวน 2 แห่ง
4. สนามเด็กเล่น จานวน 4 แห่ง
 ลักษณะกำรใช้ที่ดิน
ลำดับ ประเภทกำรใช้ที่ดิน พื้นที่(ไร่)
1 พื้นที่พักอาศัย 7,091
2 พื้นที่พาณิชยกรรม -
3 พื้นที่ตัวหน่วยงานของรัฐ 1,399
4 สวนสาธารณะ/นันทนาการ 58
5 พื้นที่เกษตรกรรม 3,500
6 พื้นที่ตั้งสถานศึกษา 46
7 พื้นที่ป่าไม้ -
8 เนื้อที่อื่น ๆ -
 ข้อมูลเกี่ยวกับกำรใช้บริกำรไฟฟ้ำ
สานักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้บริการไฟฟ้าในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา
โดยมีจานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จานวน 6,908 ราย โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งเขตเทศบาล
12
 ข้อมูลเกี่ยวกับกำรใช้บริกำรน้ำประปำ
เทศบาลตาบลท่าเสาให้บริการประปาครอบคลุมในเขตพื้นที่ของเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน
6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 4,5,6,8,9 และ 10 มีผู้ใช้บริการจานวน 2,099 ครัวเรือน มีแหล่งน้าดิบที่ใช้ผลิตน้าประปา
จานวน 1 แห่ง คือ หนองช้างเพรียง หมู่ที่ 6 บ้านบนดง มีกาลังการผลิต 1,680 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และใช้งานจริงใน
ปัจจุบัน 1,680 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
 ข้อมูลเกี่ยวกับกำรสื่อสำร
1. โทรศัพท์สาธารณะ จานวน 70 แห่ง
2. มีโทรศัพท์พื้นฐานในบ้านจานวน 10 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 1-10)
3. มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ครอบคลุมทุกพื้นที่
4. มีระบบเสียงตามสาย/หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการครอบคลุมร้อยละ 90% ของพื้นที่
 ข้อมูลเกี่ยวกับกำรสำธำรณสุขและสิ่งแวดล้อม
เทศบาลตาบลท่าเสา มีหน่วยพยาบาลที่ให้บริการประชาชนในเรื่องของการรักษาพยาบาล
จานวน 2 แห่ง ดังนี้
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ม่อนดินแดง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5
2. โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 จานวนเตียงคนไข้ 60 เตียง
บุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทุกสังกัดในเขตเทศบาล
1. แพทย์ จานวน 3 คน
2. พยาบาล จานวน 15 คน
3. ทันตแพทย์ จานวน 1 คน
4. เภสัชกร จานวน 1 คน
5. อสม. จานวน 122 คน
6. นักวิชาการสาธารณสุข จานวน 1 คน
7. เจ้าพนักงานสาธารณสุข จานวน 1 คน
ประเภทกำรเจ็บป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำในโรงพยำบำลและศูนย์บริกำรสำธำรณสุขทุกแห่ง 5
อันดับแรก คือ
โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำบล ม่อนดินแดง
อันดับ ประเภทกำรเจ็บป่วย
1 โรคระบบการไหลเวียนเลือด
2 โรคระบบทางเดินหายใจ
3 โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม
4 โรคระบบกล้ามเนื้อ
5 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก
13
โรงพยำบำลค่ำยพิชัยดำบหัก
อันดับ ประเภทกำรเจ็บป่วย (ผู้ป่วยนอก) ประเภทกำรเจ็บป่วย (ผู้ป่วยใน)
1 โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินหายใจ
2 โรคความดันโลหิตสูง อุจจาระร่วง
3 โรคไขมันในเส้นเลือดสูง ติดเชื้อในกระแสเลือด
4 โรคเบาหวาน โรคปอดอักเสบ
5 วิงเวียนศีรษะ โรคไข้เลือดออก
 สิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ
1. อุณหภูมิ ณ เดือนมกราคม 2559 สูงสุด 34.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 18.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิ ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 สูงสุด 34.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 18.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิ ณ เดือนมีนาคม 2559 สูงสุด 35.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 20.0 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิ ณ เดือนเมษายน 2559 สูงสุด 38.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 24.0 องศาเซลเซียส
2. ปริมาณน้าฝน รวมตั้งแต่ต้นปี 123.2 มิลลิเมตร
ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
 แหล่งน้ำที่สร้ำงขึ้น
- บ่อน้าตื้น จานวน 2 แห่ง
- บ่อบาดาลสาธารณะ จานวน 15 แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน จานวน 5 แห่ง (หมู่ที่ 2,3,7)
- ประปากรมอนามัย จานวน 1 แห่ง (หมู่ที่ 1)
- ประปากรมทรัพยากรน้า จานวน 3 แห่ง (หมู่ที่ 2,3,6)
 แหล่งน้ำสำธำรณะ
ที่ รำยชื่อแหล่งน้ำ สถำนที่ ปริมำณพื้นที่/ควำมยำว
1 คลองแม่พร่อง หมู่ที่ 1 กว้าง 30.00 ม. ยาว 1,200.00 ม. ลึกประมาณ 3.00 ม.
2 คลองห้วยไผ่ หมู่ที่ 1-2 กว้าง 30.00 ม. ยาว 1,000.00 ม. ลึกประมาณ 3.00 ม.
3 หนองบัว หมู่ที่ 2 พื้นที่ 22 ไร่ 1 งาน 26 ตารางวา
4 เหมืองปู่หมู หมู่ที่ 3 กว้าง 6.00 ม. ยาว 900.00 ม. ลึกประมาณ 2.50 ม.
5 หนองสองห้อง หมู่ที่ 4 พื้นที่ 14 ไร่
6 บ่อมะขามป้อม หมู่ที่ 10 พื้นที่ 5 ไร่
7 หนองจอก หมู่ที่ 5 พื้นที่ 2 ไร่
8 หนองขาหย่าง หมู่ที่ 5 พื้นที่ 4 ไร่ 2 งาน
9 หนองช้างเพรียง หมู่ที่ 6 พื้นที่ 34 ไร่
10 คลองห้วยด้วน หมู่ที่ 8 กว้าง 6-10 ม. ยาว 800.00 ม. ลึก 3.00 ม.
14
 กำรจัดกำรขยะ
- ปริมาณขยะที่เก็บขนได้ในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 12 ตันต่อวัน ซึ่งสามารถกาจัดได้
ทั้งหมดโดยวิธีฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะและหลักสุขาภิบาล
ยำนพำหนะที่ใช้จัดเก็บขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
ชนิดยำนพำหนะ
จำนวน
(คัน)
พื้นที่รับผิดชอบ
- รถบรรทุกขยะ แบบอัดท้าย ขนาด 6 ตัน
- รถบรรทุกขยะ แบบอัดท้าย ขนาด 8 ตัน
2
2
หมู่ที่ 1-10
หมู่ที่ 1-10
ที่มา : งานบริการรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
จำนวนพนักงำนรักษำควำมสะอำด จำแนกเป็นรำยปี พ.ศ.2556-2558
ปี พ.ศ.
กำรเก็บขนขยะมูลฝอย
จำนวนรถ
(คัน)
พนักงำนขับรถ
(คน)
พนักงำนเก็บขนขยะ
(คน)
จำนวนเที่ยว
เฉลี่ย/วัน
น้ำหนัก/วัน
(ตัน)
2556 4 4 17 1 10
2557 4 4 17 1 11
2558 4 4 17 1 12
ที่มา : งานบริการรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
 ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
เทศบาลตาบลท่าเสา มีหน่วยที่ให้ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จานวน
3 แห่ง ดังนี้
1. หน่วยบริการประชาชนม่อนดินแดง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5
2. จังหวัดทหารบกจังหวัดอุตรดิตถ์ ค่ายพิชัยดาบหัก ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
3. หน่วยบริการสารวัตรทหาร (มณฑลทหารบก) ตั้งอยู่หมู่ที่ 8
 กำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ประกอบด้วย
1. รถยนต์ดับเพลิง จุน้าได้ 4,000 ลบ.ม. จานวน 2 คัน
2. รถยนต์ดับเพลิง จุน้าได้ 12,000 ลบ.ม. จานวน 1 คัน
3. รถกู้ชีพกู้ภัยเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 1 คัน
พนักงานดับเพลิง จานวน 4 คน ผู้ช่วยพนักงานดับเพลิง จานวน 6 คน ทีมกู้ชีพกู้ภัยเทศบาล
ตาบลท่าเสา จานวน 9 คน ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น จานวน 4 คน และอาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(อปพร.) จานวน 114 คน
15
2.3 ข้อมูลด้ำนศักยภำพของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
เทศบาลตาบลท่าเสา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีดความสามารถในการบริหารงาน เพื่อให้บริการ
ประชาชนในเขตพื้นที่การปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยมีระบบโครงสร้างการบริหารงาน
อัตรากาลังบุคลากรขององค์กร สถานการณ์คลัง อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ดังนี้
ฝ่ำยนิติบัญญัติ
สภาเทศบาลตาบลท่าเสา ทาหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วย
 สมาชิกสภาเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 12 คน เลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามกฎหมาย
ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล มีวาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี มีประธานสภาหนึ่งคนและรองประธานสภา
หนึ่งคน ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล
ฝ่ำยบริหำร
การบริหารงานเทศบาลตาบลท่าเสา ประกอบด้วย
 นายกเทศมนตรี เป็นฝ่ายบริหารทางด้านนโยบาย
 รองนายกเทศมนตรี จานวน 2 คน เป็นผู้ช่วย
 เลขานุการนายกเทศมนตรี จานวน 1 คน
 ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี จานวน 1 คน
 ฝ่ายปฏิบัติงานประจามีปลัดเทศบาลเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง
เป็นฝ่ายปฏิบัติ ติดตามนโยบายที่นายกเทศมนตรีมอบหมายงานให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนที่กาหนด แบ่งเป็น
ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ 6 ส่วน ดังนี้
1. สานักปลัดเทศบาล
2. กองวิชาการและแผนงาน
3. กองคลัง
4. กองช่าง
5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
6. กองการศึกษา
อัตรำกำลัง
เทศบาลตาบลท่าเสามีพนักงานเทศบาล พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานจ้างตามภารกิจและ
พนักงานจ้างทั่วไป รวมจานวนทั้งสิ้น 103 คน แยกเป็น
16
 พนักงานเทศบาลสามัญ จานวน 37 คน
สำนัก/กอง
ระดับ พนักงำนเทศบำลสำมัญ
(คน)8 7 6 5 4 3 2 1
ปลัดเทศบาล 1 - - - - - - - 1
สานักปลัดเทศบาล 1 2 1 2 1 - 1 - 8
กองวิชาการและแผนงาน - 1 1 - 1 - 1 - 4
กองคลัง 1 - 5 - 2 - 1 - 9
กองช่าง 1 1 1 1 1 1 - - 6
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม - 1 2 1 - - - - 4
กองการศึกษา - 1 1 1 1 - - 1 5
รวมทั้งสิ้น 4 6 11 5 6 1 3 1 37
ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา
 พนักงานส่วนท้องถิ่น จานวน 3 คน
สำนัก/กอง ระดับ
พนักงำนส่วนท้องถิ่น
(คน)
กองการศึกษา ครูผู้ช่วย 3
รวมทั้งสิ้น 3
ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา
 พนักงานจ้างตามภารกิจและพนักงานจ้างทั่วไป จานวน 63 คน
สำนัก/กอง
พนักงำนจ้ำงตำมภำรกิจ
(คน)
พนักงำนจ้ำงทั่วไป
(คน)
พนักงำนจ้ำงเหมำบริกำร
(คน)
สานักปลัดเทศบาล 6 1 7
กองวิชาการและแผนงาน 2 - 2
กองคลัง 7 2 9
กองช่าง 6 13 19
กองสาธารณสุขฯ 3 22 25
กองการศึกษา 1 - 1
รวมทั้งสิ้น 25 38 63
ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา
17
โครงสร้ำงสภำเทศบำลตำบลท่ำเสำ
เทศบำลตำบลท่ำเสำ
ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร
ประธานสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี
เลขานุการสภาเทศบาล ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
รองประธานสภาเทศบาล
สมาชิกสภาเทศบาล รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี
18
โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนเทศบำลตำบลท่ำเสำ
1.1 ฝ่ำยอำนวยกำร 2.1 ฝ่ำยแผนงำนและงบประมำณ 3.1 ฝ่ำยบริหำรงำนกำรคลัง 4.1 ฝ่ำยแบบแผนและก่อสร้ำง 5.1 ฝ่ำยบริหำรงำนสำธำรณสุข 6.1 ฝ่ำยบริหำรกำรศึกษา
- งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป
- งานการเจ้าหน้าที่ - งานวิเคราะห์นโยบายและแผน - งานการเงินและบัญชี - งานแบบแผนและควบคุม - งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข - งานพัสดุ และการเงิน
- งานเลขานุการและงานรัฐพิธี - งานจัดทางบประมาณ - งานระเบียบการคลังและ อาคาร - งานรักษาความสะอาด การคลัง
- งานอื่น มิได้อยู่ในส่วนราชการใด - งานบริการและเผยแพร่วิชาการ สถิติการคลัง - งานก่อสร้าง - งานระบาดวิทยา และควบคุมโรค - งานส่งเสริมการศึกษา
1.2 ฝ่ำยปกครอง - งานข้อมูลข่าวสารของท้องถิ่น - งานพัสดุและทรัพย์สิน - งานจัดสถานที่และการไฟฟ้า - งานสุขาภิบาลอาหารและสถาน - งานศาสนา ประเพณี
- งานทะเบียนราษฎรและ - งานนิติการ - งานพัฒนารายได้ สาธารณะ ประกอบการ และวัฒนธรรม
บัตรประชาชน - งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ - งานแผนที่ภาษีและทะเบียน - งานประสานสาธารณูปโภค - งานป้องกันยาเสพติด - งานนันทนาการและกีฬา
- งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - งานตราเทศบัญญัติ ที่มิใช่เรื่อง ทรัพย์สิน - งานควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อม - งานพัฒนาชุมชน
- งานรักษาความสงบเรียบร้อย งบประมาณประจาปี
และความมั่นคง
- งานจดทะเบียนพาณิชย์
ปลัดเทศบำล
สำนักปลัดเทศบำล กองคลัง กองช่ำง กองสำธำรณสุขและสิ่งแวดล้อม
นำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ
รองนำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ
สภำเทศบำลตำบลท่ำเสำ
กองวิชำกำรและแผนงำน กองกำรศึกษำ
ที่ปรึกษำนำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ
19
สถำนะกำรคลังของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ตำรำงแสดงงบประมำณเปรียบเทียบรำยได้จริง-รำยจ่ำยจริง
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2554-2558
ปีงบประมำณ รำยได้จริง รำยจ่ำยจริง
2554 51,760,199.24 42,585,756.03
2555 60,855,268.21 49,423,238.22
2556 67,533,359.89 58,774,283.98
2557 69,032,352.76 62,875,868.52
2558 75,168,932.30 72,002,781.03
ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
สถิติกำรจัดเก็บภำษีโรงเรือนและที่ดินของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558
ปี พ.ศ.
ภำษีโรงเรือนและที่ดิน
จำนวนรำย จำนวนเงิน
2554 270 1,403,129.00
2555 308 1,580,562.00
2556 334 2,060,268.25
2557 365 2,492,183.00
2558 394 2,895,353.21
ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
สถิติกำรจัดเก็บภำษีบำรุงท้องที่ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558
ปี พ.ศ.
ภำษีบำรุงท้องที่
จำนวนรำย จำนวนเงิน
2554 2,012 72,793.00
2555 2,044 79,270.00
2556 2,131 85,351.00
2557 2,248 76,874.95
2558 2,272 82,724.10
ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
20
สถิติกำรจัดเก็บภำษีป้ำยของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558
ปี พ.ศ.
ภำษีป้ำย
จำนวนรำย จำนวนเงิน
2554 88 164,170.00
2555 101 185,361.00
2556 96 196,574.00
2557 110 196,953.00
2558 100 187,557.00
ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
สถิติกำรจัดเก็บค่ำขยะ ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-.2558
ปี พ.ศ.
ค่ำขยะ
จำนวนรำย จำนวนเงิน
2554 1,156 539,400.00
2555 1,344 585,270.00
2556 1,431 642,900.00
2557 1,532 653,280.00
2558 1,628 718,020.00
ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
สถิติกำรจัดเก็บค่ำน้ำประปำ ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558
ปี พ.ศ.
ค่ำน้ำประปำ
จำนวนรำย จำนวนเงิน
2554 1,413 1,827,889.79
2555 2,038 3,085,460.88
2556 2,125 3,521,700.73
2557 2,615 3,613,954.00
2558 2,729 4,452,752.00
ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
21
กำรบริหำรรำยรับ
ตำรำงแสดงงบประมำณรำยรับของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2558
หมวด
งบประมำณ
2556 2557 2558
1. ภาษีอากร
2. ค่าธรรมเนียมค่าปรับและใบอนุญาต
3. รายได้จากทรัพย์สิน
4. รายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์
5. รายได้เบ็ดเตล็ด
6. ภาษีจัดสรร
7. เงินอุดหนุนทั่วไป
8. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
9. เงินอุดหนุนทั่วไป (ระบุวัตถุประสงค์)
2,522,033.70
760,172.30
848,297.25
3,521,700.73
317,042.02
29,892,826.89
17,896,693.00
11,774,594.00
-
2,836,517.95
1,098,606.60
1,169,412.12
3,613,954.00
267,124.00
28,703,719.00
19,115,469.00
12,227,550.00
-
3,309,203.31
1,638,221.00
1,350,487.41
4,452,752.00
1,428,694.55
29,618094.75
18,502,428.00
-
14,869,051.28
รวมรำยรับทั้งสิ้น 67,533,359.89 69,032,352.76 75,168,932.30
ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
กำรบริหำรรำยจ่ำย
ตำรำงแสดงงบประมำณรำยจ่ำยของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2558
หมวด
งบประมำณ
2556 2557 2558
1. รายจ่ายงบกลาง
2. เงินเดือนและค่าจ้างประจา
3. ค่าจ้างชั่วคราว
4. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ
5. ค่าสาธารณูปโภค
6. เงินอุดหนุน
7. รายจ่ายอื่น
8. ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
9. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
10. เงินอุดหนุนทั่วไป (ระบุวัตถุประสงค์)
1,917,235.63
15,510,433.00
-
8,506,433.30
5,187,622.80
1,911,877.67
12,000.00
13,954,087.58
11,774,594.00
-
2,922,785.42
18,653,409.00
-
10,764,430.05
5,137,974.13
3,005,042.19
2,713,785.00
7,450,892.73
12,227,550.00
-
1,627,916.06
19,689,195.00
-
12,349,839.73
5,749,980.99
2,834,521.77
40,235.00
15,001,684.20
-
14,709,408.28
รวมรำยจ่ำยทั้งสิ้น 58,774,283.98 62,875,868.52 72,002,781.03
ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
22
2.4 จุดยืนทำงยุทธศำสตร์ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ
“ท่าเสาตาบลน่าอยู่ ด้วยสภาพแวดล้อมที่ดี
ชุมชนมีความเข้มแข็ง คนชรา/ผู้ยากไร้ ได้รับการสงเคราะห์”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ์นอกจากจะคานึงถึงอานาจหน้าที่ใน
การบริหารราชการตามที่กฎหมายกาหนดแล้ว ยังคานึงถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาตามยุทธศาสตร์
คสช. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ นโยบาย
ของรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(แผนพัฒนาจังหวัด) ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์อาเภอ(แผนพัฒนาอาเภอ) ซึ่งเทศบาลตาบลท่าเสา มีความมุ่งมั่นในการบริหาร
จัดการ จานวน 6 ด้าน คือ ด้ำนคมนำคมและแหล่งน้ำเพื่อกำรบริโภค – อุปโภค ทางเทศบาลตาบลท่าเสามี
แนวทางการพัฒนาก่อสร้าง ปรับปรุง ท่อระบายน้า พัฒนาระบบการคมนาคม และระบบจราจร และการพัฒนา
ก่อสร้าง ปรับปรุงแหล่งน้าเพื่อการบริโภค-อุปโภค เช่น โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล. หมู่ที่ 1-10 ตาบลท่าเสา
โครงการปรับปรุงระบบผลิตน้าประปา หมู่ที่ 1-10 ตาบลท่าเสา ด้ำนกำรศึกษำ สังคม และสำธำรณสุข มีแนวทาง
การพัฒนาในการให้การสงเคราะห์ เด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ การพัฒนาป้องกันและระงับโรคติดต่อต่างๆ
การพัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก การแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร การแพทย์
ฉุกเฉิน เช่น โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้างให้กับเด็กนักเรียนในตาบลท่าเสา โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรค
ไข้เลือดออก ด้ำนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการพัฒนาการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย แนวทางการพัฒนาการบาบัดและจัดการขยะมูลฝอย เช่น โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ในช่วงเทศกาล โครงการคัดแยกขยะในสถานที่ราชการ ชุมชน วัดและโรงเรียน ด้ำนเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน เช่น โครงการอบรมและฝึกทักษะอาชีพให้กับกลุ่มอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ
ด้ำนอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี มีแนวทางการพัฒนาส่งเสริม สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม
ประเพณีให้แก่ประชาชน เช่น โครงการรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ด้ำนกำรบริหำรงำนและกำรจัดกำรบ้ำนเมืองที่ดี
มีแนวทางการพัฒนาระบบการให้บริการแก่ประชาชน แนวทางการพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพ ขีดความสามารถของบุคลากรของท้องถิ่น เช่น โครงการจัดงานวันเทศบาล โครงการ
ฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพให้กับบุคลากรของเทศบาลตาบลท่าเสา ดังนั้น ยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน เป็นยุทธศาสตร์ที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและตอบสนองความต้องการของประชาชนตาบลท่าเสา ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงและ
ยั่งยืนตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
23
บทที่ 3
แผนยุทธศำสตร์
3.1 กรอบแนวคิดในกำรจัดทำยุทธศำสตร์กำรพัฒนำท้องถิ่น
3.1.1 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ คสช. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์อาเภอ (แผนพัฒนาอาเภอ)
ยุทธศาสตร์และนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)และรัฐบาล
ยุทธศำสตร์หลัก
1 ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน
3 ยุทธศาสตร์สร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน
4 ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
5 ยุทธศาสตร์การสร้างความความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคม
6 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
7 ยุทธศาสตร์ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจให้เกิด
ประโยชน์กับประชาชนในการใช้บริการอย่างแท้จริง
8 ยุทธศาสตร์ในเรื่องการปรับปรุงระบบโทรคมนาคม เทคโนโลยีของชาติให้เกิดความ
มั่นคงและยั่งยืนในอนาคตให้ทัดเทียมอาเซียน และประชาคมโลก
9 ยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างยั่งยืน
กำรจัดทำงบประมำณในลักษณะบูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์ ที่สอดคล้องตำมกรอบยุทธศำสตร์ชำติ
การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ได้กาหนดประเด็นที่เห็นควรดาเนินการ จานวน 17 เรื่อง ประกอบด้วย
1 การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์
2 การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
3 การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์
4 การป้องกัน ปราบปราบ และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
5 การจัดการปัญหาที่ดินทากิน
6 การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ
7 การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
8 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
9 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
10 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
11 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์
12 การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)

More Related Content

What's hot

Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandPattie Pattie
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบันJib Sridum
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่jab bph
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารMr-Dusit Kreachai
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวTananya Jangouksom
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1Kanjana thong
 

What's hot (20)

แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
01 1
01 101 1
01 1
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่ทีมเลขานุการมือใหม่
ทีมเลขานุการมือใหม่
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาแผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษา
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
มุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหารมุมมองผู้บริหาร
มุมมองผู้บริหาร
 
0 afcap
0 afcap0 afcap
0 afcap
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57แผนยุทศาสตร์ อปท57
แผนยุทศาสตร์ อปท57
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
5 ภาครัฐดิจิทัล เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม  ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2559 - 2561) การเพิ่มเติม ฉบับที่ 1
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)

แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปสปสช นครสวรรค์
 
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...Somyoch Comesite
 
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีแผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีthongtaneethongtanee
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)Korawan Sangkakorn
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566plan8
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นSurasak Tumthong
 
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 

Similar to แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563) (20)

แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาสามปี (2560-2562) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูปแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
 
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
แนวทางและหลักเกณฑ์การจัดทำและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่...
 
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีแผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
1 7
1   71   7
1 7
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566แผนปฏิบัติการประจำปี2566
แผนปฏิบัติการประจำปี2566
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
บทที่ ๑
บทที่ ๑บทที่ ๑
บทที่ ๑
 
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
strategy PR
 strategy PR strategy PR
strategy PR
 
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...
คู่มือการใช้งานระบบกรอกข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส...
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 

More from Kanjana thong

ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไป
ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไปประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไป
ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไปKanjana thong
 
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560Kanjana thong
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...Kanjana thong
 
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560Kanjana thong
 
ประกาศการรับสมัครนักเรียน นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียน
ประกาศการรับสมัครนักเรียน  นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียนประกาศการรับสมัครนักเรียน  นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียน
ประกาศการรับสมัครนักเรียน นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียนKanjana thong
 
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560Kanjana thong
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...Kanjana thong
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...Kanjana thong
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...Kanjana thong
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560Kanjana thong
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559Kanjana thong
 
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559Kanjana thong
 
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559Kanjana thong
 
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559Kanjana thong
 
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560Kanjana thong
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560Kanjana thong
 
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสา
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสากำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสา
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสาKanjana thong
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559Kanjana thong
 
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559Kanjana thong
 
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้ว
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้วประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้ว
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้วKanjana thong
 

More from Kanjana thong (20)

ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไป
ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไปประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไป
ประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานจ้างทั่วไป
 
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน เมษายน 2560
 
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2560-2562) ผลการดำเนินงานประจ...
 
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560
สรุปผลการดำเนินการจััดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มีนาคม 2560
 
ประกาศการรับสมัครนักเรียน นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียน
ประกาศการรับสมัครนักเรียน  นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียนประกาศการรับสมัครนักเรียน  นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียน
ประกาศการรับสมัครนักเรียน นักศึกษา ทำงานช่วงปิดเทอม เพื่อมีรายได้ระหว่างเรียน
 
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560
สรุปผลการพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือนกุมภาพันธ์ 2560
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
 
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
เอกสารประกอบการประกวดราคาจ้างเหมา ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) โครงการก...
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน มกราคม 2560
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ธันวาคม 2559
 
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน พฤศจิกายน 2559
 
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559
ผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ตุลาคม 2559
 
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559
รายงานการติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2559
 
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
เทศบัญญัติ เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
 
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
 
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสา
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสากำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสา
กำหนดการออกสำรวจภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ประจำปี 2560 ทต.ท่าเสา
 
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน กันยายน 2559
 
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
มติการประชุม ก.ท.จ.อุตรดิตถ์ ครั้งที่ 9/2559 เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2559
 
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้ว
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้วประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้ว
ประกาศการขายทอดตลาดพัสดุชำรุด และไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการแล้ว
 

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)

  • 1.
  • 2. คำนำ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560-2563) ของเทศบาลตาบลท่าเสา เป็นการวางแผนพัฒนาที่ มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เป็นกรอบในการกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาล ตาบลท่าเสาที่ต้องกาหนดถึงสภาพที่ต้องการจะพัฒนาและแนวทางที่จะทาให้บรรลุถึงสภาพการณ์ นั้น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา จึงเป็นการกาหนดทิศทางในอนาคต ของเทศบาล โดยกาหนดตามสภาพการณ์ที่เป็นจริง เพื่อกาหนดความต้องการ แนวทางการแก้ไขปัญหาและ แนวทางการพัฒนาด้านต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านและเป็นระบบ หาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค์ต่าง ๆ เพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารราชการของเทศบาลตาบล ท่าเสา นาไปสู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง เทศบาลตาบลท่าเสา พฤษภาคม 2559
  • 3. สำรบัญ บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตาบลท่าเสา 6 บทที่ 3 แผนยุทธศาสตร์ 23 บทที่ 4 รายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 49 บทที่ 5 การติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ 64
  • 4. บทที่ 1 บทนำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 กาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยกาหนดนิยามความหมายของ “แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ” หมำยควำมว่ำ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ กำหนดยุทธศำสตร์และแนวทำงกำรพัฒนำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งแสดงถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ จุดมุ่งหมำยเพื่อกำรพัฒนำในอนำคต โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ แผนกำรบริหำร รำชกำรแผ่นดิน ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำจังหวัด อำเภอ และแผนชุมชน รวมถึงนโยบำยในกำรพัฒนำท้องถิ่น การวางแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มีความสาคัญต่อเทศบาลตาบลท่าเสาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เนื่องจาก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เป็นกรอบในการกาหนด ทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา ให้มุ่งไปสู่สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จึงเป็น การกาหนดทิศทางการพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสาที่ต้องกาหนดถึงสภาพที่ต้องการจะพัฒนาและแนวทางที่จะทา ให้บรรลุถึงสภาพการณ์นั้น ดังนั้น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา จึงเป็นการกาหนดทิศทางในอนาคต ของเทศบาล โดยกาหนดตามสภาพการณ์ที่เป็นจริง เพื่อกาหนดความต้องการ แนวทางแก้ไขปัญหา และแนวทางการ พัฒนาด้านต่าง ๆ ตามอานาจหน้าที่ โดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้านและเป็นระบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารราชการของเทศบาลตาบลท่าเสา สามารถนาไป สู่การแก้ไขปัญหาและสนองตอบความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง 1.1 ลักษณะของแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา ได้จัดทาขึ้นโดยยึดระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2548 มาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทศบาล เนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแผนพัฒนาที่มุ่งไปสู่สภาพการณ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นใน อนาคต เป็นกระบวนการและกรอบในการกาหนดทิศทางการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มุ่งไปสู่ สภาพการณ์อันพึงประสงค์ได้อย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง โดยสามารถจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และการกาหนดสภาพการณ์ที่ต้องการบรรลุ และแนวทางในการบรรลุบนพื้นฐานของการ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งต้องสอดคล้องกับศักยภาพของท้องถิ่น และปัญหา/ ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ นโยบายในระดับต่าง ๆ ของรัฐบาล อันจะก่อให้เกิดการบรูณาการด้านการพัฒนาในทุกด้านไป พร้อม ๆ กันอย่างสมดุล ส่งผลให้เทศบาล อาเภอ และจังหวัด มีแนวทางการพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้การ พัฒนาท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุด และตรงตามความต้องการของประชาชน 1.2 วัตถุประสงค์ของกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ 1. เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะที่พึงประสงค์ของการพัฒนาในอนาคต ที่ต้องการให้เกิดขึ้นในเขตเทศบาล ตาบลท่าเสา 2. เพื่อแสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมาย และแนวทางการดาเนินงานของเทศบาลตาบลท่าเสาในการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
  • 5. 2 3. เพื่อแสดงให้เห็นถึงทิศทางในการพัฒนาที่สอดคล้อง และสอดประสานไปกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และ สังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์การ พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ตลอดจนสภาพแวดล้อมของเศรษฐกิจและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา 4. เพื่อแสดงให้เห็นว่าผลลัพธ์สุดท้ายของการพัฒนามีเจตจานงในการสร้างระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ในท้องถิ่น ให้ดีขึ้นในทุกด้านอย่างมีความสมดุล โปร่งใส และตรวจสอบได้ 1.3 ขั้นตอนในกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ข้อ 16 การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้ดาเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีขั้นตอนดาเนินการ ดังนี้ (1) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อ แจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และประเด็นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เพื่อนามากาหนดแนวทางการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณา ประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (2) คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมแนวทางและข้อมูลนามาวิเคราะห์ เพื่อ จัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา แล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น (3) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เพื่อเสนอผู้บริหารท้องถิ่น (4) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา จากระเบียบกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว สามารถสรุปขั้นตอนในการดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การ พัฒนาได้ 9 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กำรเตรียมกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ งานวิเคราะห์นโยบายและแผน กองวิชาการและแผนงาน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการจัดทาโครงการ จัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560-2563) ของเทศบาลตาบลท่าเสา เสนอผ่านปลัดเทศบาล โดยขอรับ อนุมัติจากนายกเทศมนตรีตาบลท่าเสา ซึ่งโครงการดังกล่าวจะเป็นการกาหนดทรัพยากรในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา และกาหนดปฏิทินการทางานไว้อย่างชัดเจน แล้วแจ้งโครงการที่ได้รับอนุมัติให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ได้แก่ 1. คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา 2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาเทศบาลตาบลท่าเสา 3. หน่วยงานภายในเทศบาล ได้แก่ สานักปลัดเทศบาล กองวิชาการและแผนงาน กองคลัง กองช่าง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และกองการศึกษา 4. ประชาคม (Civil Society) ขั้นตอนที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูลและปัญหำสำคัญ รวบรวมข้อมูล ปัญหา ศักยภาพของท้องถิ่น โดยจัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหา ความต้องการ ประเด็นการพัฒนา และ ประเด็นที่เกี่ยวข้องตลอดจนความช่วยเหลือทางวิชาการ และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เพื่อนามา กาหนดแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา โดยให้นาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และ ข้อมูลในแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพร้อมทั้งจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
  • 6. 3 ขั้นตอนที่ 3 กำรวิเครำะห์ศักยภำพเพื่อประเมินสภำพกำรณ์พัฒนำของท้องถิ่นในปัจจุบัน เป็นการประเมินสถานภาพของท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยการวิเคราะห์ถึงโอกาส และสภาวะคุกคามหรือ ข้อจากัด อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่น รวมถึงการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของท้องถิ่น อันเป็นสภาวะแวดล้อมภายในท้องถิ่น ซึ่งทั้งหมดเป็นการประเมินสถานภาพของท้องถิ่นในปัจจุบัน โดยเป็นการตอบคาถามว่า “ปัจจุบันท้องถิ่นมีสถานภาพการพัฒนาอยู่จุดไหน” สาหรับใช้เป็นประโยชน์ในการ กาหนดการดาเนินงานในอนาคตต่อไป ทั้งนี้ โดยใช้เทคนิค SWOT analysis ซึ่งเป็นการพิจารณาถึงปัจจัยภายใน ได้แก่ จุดแข็ง (Strength-S) จุดอ่อน (Weak-W) และปัจจัยภายนอก ได้แก่ โอกาส (Opportunity-O) และอุปสรรค (Threat-T) เป็นเครื่องมือ SWOT analysis จุดแข็ง หมายถึง ทรัพยากรในการดาเนินงานหรือทุนทรัพย์ขององค์กร จุดอ่อน หมายถึง ข้อด้อยขององค์กรในการดาเนินงาน โอกาส หมายถึง ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้การดาเนินงานขององค์กรดีขึ้น อุปสรรค หมายถึง ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้การดาเนินงานขององค์กรด้อยลง ปัจจัยภำยใน ประกอบด้วยปัจจัยด้านต่าง ๆ ที่ต้องนามาพิจารณา  ด้านการบริหาร ได้แก่ การแบ่งส่วนราชการ การวางแผน การประสานงาน การมอบ อานาจ การกากับดูแล เป็นต้น  ระเบียบ กฎหมาย  บุคลากร ได้แก่ อัตรากาลัง คุณภาพ วินัย ทัศนคติ พฤติกรรม เป็นต้น  งบประมาณ รวมทั้งความช่วยเหลือต่าง ๆ  ระบบฐานข้อมูล  การประสานงาน/ การอานวยการ/ การร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง  ทรัพยากร เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทางาน กำรวิเครำะห์จุดแข็ง (Strength = S) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงานมีส่วนดี ความ เข้มแข็ง ความสามารถ ศักยภาพ ส่วนที่ส่งเสริมความสาเร็จซึ่งจะพิจารณาในด้านต่าง ๆ ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก S = Strength จุดแข็ง W = Weak จุดอ่อน SWOT ประเด็น O = Opportunity โอกาส T = Threat อุปสรรค
  • 7. 4 กำรวิเครำะห์จุดอ่อน (Weak = W) เป็นการพิจารณาปัจจัยภายในหน่วยงานว่ามีส่วนเสีย ความ อ่อนแอ ข้อจากัด ความไม่พร้อม ซึ่งจะพิจารณาในด้านต่าง ๆ เช่นเดียวกับการวิเคราะห์จุดแข็ง ปัจจัยภำยนอก ประกอบด้วย  ด้านการเมือง หมายถึง ระดับความขัดแย้ง และกลุ่มผลประโยชน์  ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ เศรษฐกิจรวมในเขตพื้นที่ (เช่น ผลผลิต รายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน การใช้ที่ดิน แรงงาน) การเกษตรกรรม การพาณิชยกรรม การคลัง  ด้านสังคม  นโยบายรัฐบาล/กฎหมาย  เทคโนโลยี กำรวิเครำะห์โอกำส (Opportunity = O) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกว่ามีสภาพเป็น เช่นไร เหตุการณ์สถานการณ์ของโลก ประเทศ จังหวัด และอาเภอ ที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อท้องถิ่นอย่างไร มีการ เปลี่ยนแปลงใดที่เป็นประโยชน์ หรือเป็นโอกาสอันดีต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และเทคโนโลยี กำรวิเครำะห์อุปสรรค (Threat = T) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นอุปสรรคหรือ ภาวะคุกคาม ก่อให้เกิดผลเสียหรือเป็นข้อจากัดต่อท้องถิ่น โดยจะต้องพิจารณาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการ ปกครอง และเทคโนโลยี เช่นเดียวกับการวิเคราะห์โอกาส ขั้นตอนที่ 4 กำรกำหนดวิสัยทัศน์และภำรกิจหลักกำรพัฒนำท้องถิ่น นาข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 3 มากาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักการพัฒนาท้องถิ่น 1. การกาหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น วิสัยทัศน์ (Vision) หมายถึง ถ้อยแถลงที่ระบุถึงสภาพการณ์ในอุดมคติ ซึ่งเป็น “จุดหมาย” ที่ต้องการให้ เกิดขึ้นในอนาคต อันเป็นการตอบคาถามที่ว่า “ท้องถิ่นต้องการอะไร ในอนาคต” 2. การกาหนดภารกิจหลัก ในการพัฒนาท้องถิ่น ภำรกิจหลัก (Mission) หมายถึง ข้อความหรือถ้อยแถลงที่แสดงถึงลักษณะ หรือขอบข่ายในการ ดาเนินงานที่เกี่ยวกับการบริหารและการจัดบริการสาธารณะ รวมทั้งแนวคิดเกี่ยวกับองค์กร หรือภาพลักษณ์ที่ต้องการ นาเสนอ และปณิธานหรือปรัชญาในการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นขอบเขตของบทบาทหน้าที่ หลักหรือขอบเขตของกิจกรรมที่มุ่งเน้นเป็นพิเศษที่ต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ ดังนั้น การตอบคาถามว่าท้องถิ่นจะต้องทาอะไร เพื่อใคร คาตอบที่เกิดขึ้นก็คือ ความหมายของคาว่า “ภารกิจหลัก” นั่นเอง หากเปรียบวิสัยทัศน์เป็นเสมือนจุดหมายปลายทางแล้ว ภารกิจหลักก็เป็นเสมือนเส้นทาง ที่ถูกต้อง ชัดเจนที่จะนาเราไปสู่จุดหมายปลายทางนั้นโดยสวัสดิภาพ ภารกิจหลักมีอยู่ 2 ระดับ คือ ระดับองค์กร (Organtzational Mission) และระดับส่วนงาน (Departmental Mission) ภารกิจหลักทั้ง 2 ระดับนี้มีความหมาย เดียวกัน แตกต่างกันเพียงขอบเขตของบทบาทหน้าที่ที่ปลีกย่อยลงไปตามลาดับชั้นของโครงสร้างองค์กรเท่านั้น แต่ที่สาคัญก็คือภารกิจทั้ง 2 ระดับ ต้องสอดคล้องสนับสนุนกันและกันอย่างน้อยที่สุดต้องไม่ขัดแย้งกัน ในการจัดทา แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจะเป็นการแสดงภารกิจหลักระดับองค์กร แต่ขณะเดียวกันหน่วยงานภายในองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นก็จะต้องมีการกาหนดภารกิจของหน่วยงานประกอบไปด้วย ขั้นตอนที่ 5 กำรกำหนดจุดมุ่งหมำยเพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน จุดมุ่งหมายเพื่อการวางแผนพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง ขอบเขต หรือประเภทของกิจกรรมที่ควรค่าแก่การ ดาเนินงานทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะก่อให้เกิดการพัฒนา ที่ยั่งยืน เพื่อนาไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์และภารกิจหลักที่ได้กาหนดไว้
  • 8. 5 ขั้นตอนที่ 6 กำรกำหนดวัตถุประสงค์กำรพัฒนำท้องถิ่น เป็นการกาหนดผลสาเร็จที่ต้องการ โดยดาเนินการหลังจากที่ทราบภารกิจหลักที่ท้องถิ่นจะต้องทาแล้วเพื่อนา ท้องถิ่นไปให้บรรลุความต้องการที่จะเป็นในอนาคต ขั้นตอนที่ 7 กำรกำหนดยุทธศำสตร์กำรพัฒนำและแนวทำงกำรพัฒนำ เมื่อได้ดาเนินการกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจหลัก วัตถุประสงค์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยอาศัยพื้นฐานการ วิเคราะห์ SWOT แล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การกาหนดแนวทางการพัฒนาของท้องถิ่น การพัฒนาของท้องถิ่น ซึ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่บ่งบอกถึงลักษณะการเคลื่อนตัวขององค์กรว่าจะก้าว ไปสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนาคตได้อย่างไร อันเป็นการตอบคาถามว่า “ท้องถิ่นจะไปถึงจุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร” ขั้นตอนที่ 8 กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำท้องถิ่น เป็นการกาหนดปริมาณหรือจานวนสิ่งที่ต้องการให้บรรลุในแต่ละแนวทางการพัฒนา ภายในเวลาที่กาหนดจึงมี ความเฉพาะเจาะจงในผลที่คาดว่าจะได้รับในเชิงปริมาณตามช่วงเวลาต่าง ๆ ของกระบวนการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 9 กำรอนุมัติและประกำศใช้แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น นาผลที่ได้จากขึ้นตอนที่ 1 ถึงขั้นตอนที่ 8 มาจัดทา ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตาบลท่าเสา เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อพิจารณาและ ปรับปรุงก่อนนาเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่ออนุมัติร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนา 1.4 ประโยชน์ของกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำ 1. เป็นกรอบในการปฏิบัติงาน แผนยุทธศาสตร์เป็นการกาหนดแนวทางเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรและ เปรียบเสมือนเข็มทิศในการชี้ทางการพัฒนา ทาให้การปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ลดความซ้าซ้อนและการ สิ้นเปลืองทรัพยากรในการบริหาร 2. เป็นการรวมพลังในองค์กร กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์เป็นลักษณะของความร่วมมือร่วมใจกัน ดาเนินงานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลต่อการมีส่วนร่วม และเป็นพันธกิจร่วมกันในองค์กร ซึ่งผลจากการ ร่วมมือกันจะนาไปสู่การมีผลงานที่มีประสิทธิภาพ 3. เป็นตัวส่งเสริมกาลังใจในการปฏิบัติงาน แผนยุทธศาสตร์ไม่เป็นเพียงการวิเคราะห์ข้อมูล แต่รวมถึงความคิด สร้างสรรค์ และแผนยุทธศาสตร์จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ แนวทางและความมุ่งหวัง จึงส่งผลให้เกิดความมั่นใจใน แนวทางการปฏิบัติงาน โดยปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 4. แผนยุทธศาสตร์เป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงทุกสถานการณ์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ในภาพของ ศักยภาพหรือจุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร ตลอดทั้งปัจจัยที่จะสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานขององค์กร
  • 9. 6 บทที่ 2 สภำพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐำนของเทศบำลตำบลท่ำเสำ 2.1 ข้อมูลทั่วไป  ประวัติควำมเป็นมำ เทศบำลตำบลท่ำเสำ (Thasao Subdistrict Municipality) ตาบลท่าเสา ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ในสมัยสุโขทัยได้มีการตั้งเมือง เช่น เมืองฝาง หรือเมืองสวางคบุรี เมืองทุ่งยั้ง และเวียงเจ้าเงาะ เมืองตาชูชก เป็นต้น ซึ่งเมืองต่าง ๆ เหล่านี้ มีหลักฐาน ประวัติศาสตร์ทางศิลาจารึกบ้าง หลักฐานทางโบราณคดีบ้าง ในสมัยอยุธยา เมื่อ พ.ศ.1893 ปรากฏว่ามีเมืองขึ้นถึง 16 เมืองด้วยกัน ในจานวน 16 เมืองนี้ มีเมืองพิชัยในท้องที่ของจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบันด้วย ต่อมาพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศเสด็จถึงเมืองทุ่งยั้ง และเมืองสวางคบุรี เพื่อนมัสการพระแท่นศิลาอาสน์ และพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ก่อนที่ พระสังฆราช “เรือน” ไปครองเมืองสวางคบุรี ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือตั้งเมืองพิษณุโลกจนถึงอาเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ และในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช พระเจ้ากรุงธนบุรีก็มีความเกี่ยวพันกับเมืองพิชัยอย่างแน่นแฟ้น โดยใช้เป็นที่พักทุกครั้งที่กรีฑาทัพผ่านมา และใช้เป็นที่รวบรวมทัพก่อนขึ้น ตีเมืองฝ่ายเหนือ และล้านนา แต่ก่อนนั้น การเดินทางและการส่งสินค้า เพื่อมาขายทางตอนเหนือมีสะดวกทางเดียว คือ ทางน้า สาหรับ แม่น้าที่สามารถให้เรือสินค้าขึ้นลงสะดวกถึงภาคเหนือตอนล่าง ก็มีแม่น้าน่านเท่านั้น เรือสินค้าซึ่งมาจากบางกอก หรือกรุงศรีอยุธยาจะมาขนถ่ายสินค้าส่งขึ้นไปทางเหนือที่อุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางเรือจะขึ้นล่องสะดวก ตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนมกราคม ถ้าเป็นฤดูแล้งก็จะใช้เรือขนถ่ายสินค้าจากเรือใหญ่ ที่ปากน้าโพขึ้นไปสุดทาง แควน้ากว้างไม่มีเกาะแก่งน้าไม่ไหลเชี่ยว ท่าเซา เป็นหนึ่งในสามท่าที่เป็นต้นกาเนิดท่าเรือเหมือนกับท่าโพ ท่าอิด มาจนถึงทุกวันนี้ ท่าทั้งสาม เป็นท่าเรือมาแต่สมัยโบราณ นับตั้งแต่ประมาณปีพุทธศักราช 1400 ซึ่งขณะนั้นขอมได้ปกครองแผ่นดินในแถบนี้ก็ได้ใช้ ท่าทั้งสามนี้เป็นที่ขนถ่ายสินค้า ติดต่อกันตลอดมา และผ่านที่สาคัญทางการค้าในสมัยก่อน ท่าเซา เมื่อครั้งก่อนปีพุทธศักราช 2430 เป็นป่าดง แต่คาเหนือเรียกว่าท่าเซา มีความหมายเป็นที่พักซึ่งเป็น ที่หยุดพัก คือ คาว่า เซา-เซา ก็บอกให้หยุดพักนั้นเองและได้เปลี่ยนมาเป็น ท่าเสา จนถึงปัจจุบันนี้  ขนำดและที่ตั้ง เทศบาลตาบลท่าเสา เป็นเทศบาลตาบล 1 ใน 16 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอาเภอเมือง อุตรดิตถ์ ได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตาบลท่าเสาเป็นเทศบาลตาบลท่าเสา ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบลท่าเสา อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเทศบาลตาบลท่าเสา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2551
  • 10. 7 ปัจจุบันสานักงานเทศบาลตาบลท่าเสา ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 10 บ้านม่อนดินแดง ตาบลท่าเสา อาเภอเมือง อุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเมืองอุตรดิตถ์ และศาลากลางจังหวัดอุตรดิตถ์ทางทิศเหนือ ประมาณ 1 กม. และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถไฟ 485 กม. โดยทางรถยนต์ 491 กม.  ลักษณะทำงภูมิศำสตร์ เทศบาลตาบลท่าเสา มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 25 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลตาบลน้าริด อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ ทิศใต้ ติดต่อกับ เทศบาลตาบลบ้านเกาะ อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เทศบาลเมืองอุตรดิตถ์ อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนตาบลชัยจุมพล อาเภอลับแล
  • 11. 8  ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของเทศบาลตาบลท่าเสา ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ราบลุ่ม สภาพความลาดชันจะมีความลาดชัน ประมาณ 2-5 เปอร์เซ็นต์  ทรัพยำกรธรรมชำติ เทศบาลตาบลท่าเสา มีทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญ ๆ ในพื้นที่ ดังนี้ 1. ลาห้วย ลาน้า และคลอง จานวน 4 สาย ดังนี้ 1.1 คลองเหมืองปู่เจ๊ก หมู่ที่ 4 ความยาวประมาณ 0.30 กิโลเมตร 1.2 คลองตาตุ๊ หมู่ที่ 7 ความยาวประมาณ 0.50 กิโลเมตร 1.3 คลองห้วยด้วน หมู่ที่ 8 ความยาวประมาณ 2.00 กิโลเมตร 1.4 คลองด้วน หมู่ที่ 9 ความยาวประมาณ 0.40 กิโลเมตร 2. ป่าไม้ 2.1 ป่าไม้เบญจพรรณ ประมาณ 3,500 ไร่ 2.2 ป่าสัก ประมาณ 50 ไร่ 3. ภูเขา 3.1 ม่อนผู หมู่ที่ 5 3.2 ม่อนชะอม หมู่ที่ 7 2.2 ข้อมูลพื้นฐำนทั่วไป  ประชำกร เทศบาลตาบลท่าเสา มีประชากรทั้งสิ้นจานวน 13,996 คน แยกเป็นชาย จานวน 7,063 คน แยกเป็นหญิง จานวน 6,933 คน อัตราความหนาแน่นของประชาชน 559.44 ต่อตารางกิโลเมตร ช่วงอำยุ (ปี) ชำย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ทารก-6 ปี 462 416 878 7-12 ปี 431 414 845 13-17 ปี 419 383 802 18-60 ปี 4,851 4,587 9,438 60 ปี ขึ้นไป 900 1,133 2,033 รวม 7,063 6,933 13,996 ที่มา : งานทะเบียนราษฎร สานักปลัดเทศบาล (ณ เดือนเมษายน 2559)
  • 12. 9 จานวนครัวเรือนทั้งหมดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 6,908 หลังคาเรือน 10 หมู่บ้าน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้ำน จำนวนครัวเรือน 1 บ้านคลองห้วยไผ่ 509 2 บ้านหนองบัว 501 3 บ้านหนองผา-นาโปร่ง 1,239 4 บ้านหนองคาฮ้อย 834 5 บ้านม่อนดินแดง 691 6 บ้านบนดง 606 7 บ้านดงตะขบ 478 8 บ้านดงตะขบ 1,347 9 บ้านหนองหิน 342 10 บ้านม่อนดินแดง 361 รวม 6,908 ที่มา : งานทะเบียนราษฎร สานักปลัดเทศบาล (ณ เดือนเมษายน 2559)  เขตกำรปกครอง เทศบาลตาบลท่าเสา มีจานวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลตาบลเต็มทั้งหมู่บ้าน จานวน 10 หมู่บ้าน (แยกตามเขต) ดังนี้ เขต หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้ำน ผู้นำหมู่บ้ำน ตำแหน่ง 1 1 บ้านคลองห้วยไผ่ นางบัวหลิ่น เพ็ชรเกิด ผู้ใหญ่บ้าน 2 บ้านหนองบัว นายพงษ์ศักดิ์ ทองลิขิตสกุล ผู้ใหญ่บ้าน 3 บ้านหนองผา-นาโปร่ง นายสมหมาย ก้อนทอง กานันตาบลท่าเสา 4 บ้านหนองคาฮ้อย นายดารง คงคณะ ผู้ใหญ่บ้าน 9 บ้านหนองหิน นายขัน หอมวงศ์ ผู้ใหญ่บ้าน 2 5 บ้านม่อนดินแดง นายสายรุ้ง คาใส ผู้ใหญ่บ้าน 6 บ้านบนดง นายสมบัติ ธรรมโชติ ผู้ใหญ่บ้าน 7 บ้านดงตะขบ นายศุรชัย ปิ่นปาน ผู้ใหญ่บ้าน 8 บ้านดงตะขบ นางณัฐกานต์ นิยมจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน 10 บ้านม่อนดินแดง นายทองสุก เรือนจันทร์ ผู้ใหญ่บ้าน  อำชีพ/ผลิตภัณฑ์มวลรวมรำยได้ ประชากรในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา ประกอบอาชีพหลายอาชีพ เช่น รับราชการ รับจ้างทั่วไป ทาการเกษตร ทานา ทาธุรกิจ ค้าขาย ฯลฯ 1. รายได้จากการประกอบอาชีพรับจ้าง ประมาณ 40,000 บาท/ครัวเรือน/ปี 2. รายได้จากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ประมาณ 40,000 บาท/ครัวเรือน/ปี 3. รายได้จากการประกอบอาชีพค้าขาย ประมาณ 60,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
  • 13. 10  หน่วยธุรกิจในเขตเทศบำลตำบลท่ำเสำ มีหน่วยธุรกิจอยู่ในพื้นที่ดังนี้ 1. โรงแรม จานวน 7 แห่ง 2. สถานีบริการน้ามัน จานวน 4 แห่ง 3. โรงสีข้าวขนาดใหญ่ จานวน 1 แห่ง 4. หอพัก/บ้านเช่า จานวน 163 แห่ง 5. ร้านค้าทั่วไป จานวน 130 แห่ง 6. ตลาดสด จานวน 1 แห่ง 7. โรงฆ่าสัตว์ จานวน - แห่ง 8. สถานที่จาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข จานวน 67 แห่ง  เชื้อชำติ ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลท่าเสาส่วนใหญ่มีเชื้อชาติไทย คิดเป็นร้อยละ 99.00 มีเชื้อชาติ อื่น ๆ เพียงเล็กน้อย รวมไม่เกินร้อยละ 1  สถำบันและองค์กรทำงกำรศำสนำ 1. วัด/สานักสงฆ์ จานวน 4 แห่ง 1.1 วัดอรัญญิการาม หมู่ที่ 4 1.2 วัดนาโปร่ง (ม่อนถ้าชัยมงคล) หมู่ที่ 3 1.3 วัดดอยท่าเสา หมู่ที่ 6 1.4 วัดแนวคีรี หมู่ที่ 10 2. ศาลเจ้า จานวน 1 แห่ง 3. มัสยิด จานวน 1 แห่ง ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา ร้อยละ 98.75 ของจานวนประชากรทั้งหมดนับถือศาสนา พุทธ ร้อยละ 0.37 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 0.88 นับถือศาสนาคริสต์  ข้อมูลเกี่ยวกับกำรศึกษำ เทศบาลตาบลท่าเสา มีสถานศึกษา/แหล่งที่ให้ความรู้กับ เด็ก นักเรียน จานวน 7 แห่ง ดังนี้ สังกัด แห่ง นักเรียน (คน) ห้องเรียน (ห้อง) ครู/อำจำรย์ (คน) 1. โรงเรียนวัดอรัญญิการาม 1 293 9 13 2. โรงเรียนม่อนดินแดงวิทยาคม 1 41 8 5 3. โรงเรียนวัดดอย 1 52 7 7 4. โรงเรียนพิชัยดาบหัก 1 1 140 8 11 5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนบ้านม่อนดินแดง 1 60 3 3 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนค่ายพิชัยดาบหักฯ 1 100 4 4 7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน (โรงเรียนพิชัยดาบหัก 1) 1 25 1 1 รวม 7 711 40 44 ที่มา : งานการศึกษา กองการศึกษา (ณ เดือนมีนาคม 2559)
  • 14. 11  กำรสำธำรณูปโภค ในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา มีระบบสาธารณูปโภคเพื่อให้บริการแก่ประชาชน ดังนี้ 1. ทางหลวงแผ่นดิน 3 สายที่สาคัญ ได้แก่ 1.1 ถนนบรมอาสน์ (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 102) 1.2 ถนนอินใจมี (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1041) 1.3 ถนนอุตรดิตถ์-เขื่อนสิริกิต์ (ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1045) 2. ทางหลวงชนบท 1 สาย ได้แก่ 2.1 ถนนหนองคาฮ้อย-ม่อนดินแดง 3. ถนนภายในเขตเทศบาล มีทั้งหมด 266 สาย แยกเป็น 3.1 ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จานวน 260 สาย 3.2 ถนนลูกรัง/หินคลุก จานวน 6 สาย 4. สะพาน จานวน 6 สาย 5. แม่น้า จานวน 1 สาย 6. ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าส่องสว่าง) จานวน 1,804 จุด ครอบคลุมถนน 29 สาย  ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนที่ออกกำลังกำยและสถำนที่พักผ่อนหย่อนใจ 1. สนามกีฬาอเนกประสงค์ จานวน 2 แห่ง 2. สนามฟุตบอล จานวน 1 แห่ง 3. สนามบาสเก็ตบอล จานวน 2 แห่ง 4. สนามเด็กเล่น จานวน 4 แห่ง  ลักษณะกำรใช้ที่ดิน ลำดับ ประเภทกำรใช้ที่ดิน พื้นที่(ไร่) 1 พื้นที่พักอาศัย 7,091 2 พื้นที่พาณิชยกรรม - 3 พื้นที่ตัวหน่วยงานของรัฐ 1,399 4 สวนสาธารณะ/นันทนาการ 58 5 พื้นที่เกษตรกรรม 3,500 6 พื้นที่ตั้งสถานศึกษา 46 7 พื้นที่ป่าไม้ - 8 เนื้อที่อื่น ๆ -  ข้อมูลเกี่ยวกับกำรใช้บริกำรไฟฟ้ำ สานักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดอุตรดิตถ์ ให้บริการไฟฟ้าในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา โดยมีจานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จานวน 6,908 ราย โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งเขตเทศบาล
  • 15. 12  ข้อมูลเกี่ยวกับกำรใช้บริกำรน้ำประปำ เทศบาลตาบลท่าเสาให้บริการประปาครอบคลุมในเขตพื้นที่ของเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 4,5,6,8,9 และ 10 มีผู้ใช้บริการจานวน 2,099 ครัวเรือน มีแหล่งน้าดิบที่ใช้ผลิตน้าประปา จานวน 1 แห่ง คือ หนองช้างเพรียง หมู่ที่ 6 บ้านบนดง มีกาลังการผลิต 1,680 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และใช้งานจริงใน ปัจจุบัน 1,680 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน  ข้อมูลเกี่ยวกับกำรสื่อสำร 1. โทรศัพท์สาธารณะ จานวน 70 แห่ง 2. มีโทรศัพท์พื้นฐานในบ้านจานวน 10 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 1-10) 3. มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ 4. มีระบบเสียงตามสาย/หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการครอบคลุมร้อยละ 90% ของพื้นที่  ข้อมูลเกี่ยวกับกำรสำธำรณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลท่าเสา มีหน่วยพยาบาลที่ให้บริการประชาชนในเรื่องของการรักษาพยาบาล จานวน 2 แห่ง ดังนี้ 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ม่อนดินแดง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 2. โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 จานวนเตียงคนไข้ 60 เตียง บุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทุกสังกัดในเขตเทศบาล 1. แพทย์ จานวน 3 คน 2. พยาบาล จานวน 15 คน 3. ทันตแพทย์ จานวน 1 คน 4. เภสัชกร จานวน 1 คน 5. อสม. จานวน 122 คน 6. นักวิชาการสาธารณสุข จานวน 1 คน 7. เจ้าพนักงานสาธารณสุข จานวน 1 คน ประเภทกำรเจ็บป่วยที่เข้ำรับกำรรักษำในโรงพยำบำลและศูนย์บริกำรสำธำรณสุขทุกแห่ง 5 อันดับแรก คือ โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำบล ม่อนดินแดง อันดับ ประเภทกำรเจ็บป่วย 1 โรคระบบการไหลเวียนเลือด 2 โรคระบบทางเดินหายใจ 3 โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม 4 โรคระบบกล้ามเนื้อ 5 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในช่องปาก
  • 16. 13 โรงพยำบำลค่ำยพิชัยดำบหัก อันดับ ประเภทกำรเจ็บป่วย (ผู้ป่วยนอก) ประเภทกำรเจ็บป่วย (ผู้ป่วยใน) 1 โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินหายใจ 2 โรคความดันโลหิตสูง อุจจาระร่วง 3 โรคไขมันในเส้นเลือดสูง ติดเชื้อในกระแสเลือด 4 โรคเบาหวาน โรคปอดอักเสบ 5 วิงเวียนศีรษะ โรคไข้เลือดออก  สิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ 1. อุณหภูมิ ณ เดือนมกราคม 2559 สูงสุด 34.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 18.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 สูงสุด 34.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 18.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ณ เดือนมีนาคม 2559 สูงสุด 35.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 20.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ ณ เดือนเมษายน 2559 สูงสุด 38.0 องศาเซลเซียส ต่าสุด 24.0 องศาเซลเซียส 2. ปริมาณน้าฝน รวมตั้งแต่ต้นปี 123.2 มิลลิเมตร ที่มา : สถานีอุตุนิยมวิทยาอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์  แหล่งน้ำที่สร้ำงขึ้น - บ่อน้าตื้น จานวน 2 แห่ง - บ่อบาดาลสาธารณะ จานวน 15 แห่ง - ประปาหมู่บ้าน จานวน 5 แห่ง (หมู่ที่ 2,3,7) - ประปากรมอนามัย จานวน 1 แห่ง (หมู่ที่ 1) - ประปากรมทรัพยากรน้า จานวน 3 แห่ง (หมู่ที่ 2,3,6)  แหล่งน้ำสำธำรณะ ที่ รำยชื่อแหล่งน้ำ สถำนที่ ปริมำณพื้นที่/ควำมยำว 1 คลองแม่พร่อง หมู่ที่ 1 กว้าง 30.00 ม. ยาว 1,200.00 ม. ลึกประมาณ 3.00 ม. 2 คลองห้วยไผ่ หมู่ที่ 1-2 กว้าง 30.00 ม. ยาว 1,000.00 ม. ลึกประมาณ 3.00 ม. 3 หนองบัว หมู่ที่ 2 พื้นที่ 22 ไร่ 1 งาน 26 ตารางวา 4 เหมืองปู่หมู หมู่ที่ 3 กว้าง 6.00 ม. ยาว 900.00 ม. ลึกประมาณ 2.50 ม. 5 หนองสองห้อง หมู่ที่ 4 พื้นที่ 14 ไร่ 6 บ่อมะขามป้อม หมู่ที่ 10 พื้นที่ 5 ไร่ 7 หนองจอก หมู่ที่ 5 พื้นที่ 2 ไร่ 8 หนองขาหย่าง หมู่ที่ 5 พื้นที่ 4 ไร่ 2 งาน 9 หนองช้างเพรียง หมู่ที่ 6 พื้นที่ 34 ไร่ 10 คลองห้วยด้วน หมู่ที่ 8 กว้าง 6-10 ม. ยาว 800.00 ม. ลึก 3.00 ม.
  • 17. 14  กำรจัดกำรขยะ - ปริมาณขยะที่เก็บขนได้ในเขตเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 12 ตันต่อวัน ซึ่งสามารถกาจัดได้ ทั้งหมดโดยวิธีฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะและหลักสุขาภิบาล ยำนพำหนะที่ใช้จัดเก็บขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ชนิดยำนพำหนะ จำนวน (คัน) พื้นที่รับผิดชอบ - รถบรรทุกขยะ แบบอัดท้าย ขนาด 6 ตัน - รถบรรทุกขยะ แบบอัดท้าย ขนาด 8 ตัน 2 2 หมู่ที่ 1-10 หมู่ที่ 1-10 ที่มา : งานบริการรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จำนวนพนักงำนรักษำควำมสะอำด จำแนกเป็นรำยปี พ.ศ.2556-2558 ปี พ.ศ. กำรเก็บขนขยะมูลฝอย จำนวนรถ (คัน) พนักงำนขับรถ (คน) พนักงำนเก็บขนขยะ (คน) จำนวนเที่ยว เฉลี่ย/วัน น้ำหนัก/วัน (ตัน) 2556 4 4 17 1 10 2557 4 4 17 1 11 2558 4 4 17 1 12 ที่มา : งานบริการรักษาความสะอาด กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม  ควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เทศบาลตาบลท่าเสา มีหน่วยที่ให้ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จานวน 3 แห่ง ดังนี้ 1. หน่วยบริการประชาชนม่อนดินแดง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 2. จังหวัดทหารบกจังหวัดอุตรดิตถ์ ค่ายพิชัยดาบหัก ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 3. หน่วยบริการสารวัตรทหาร (มณฑลทหารบก) ตั้งอยู่หมู่ที่ 8  กำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ประกอบด้วย 1. รถยนต์ดับเพลิง จุน้าได้ 4,000 ลบ.ม. จานวน 2 คัน 2. รถยนต์ดับเพลิง จุน้าได้ 12,000 ลบ.ม. จานวน 1 คัน 3. รถกู้ชีพกู้ภัยเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 1 คัน พนักงานดับเพลิง จานวน 4 คน ผู้ช่วยพนักงานดับเพลิง จานวน 6 คน ทีมกู้ชีพกู้ภัยเทศบาล ตาบลท่าเสา จานวน 9 คน ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น จานวน 4 คน และอาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (อปพร.) จานวน 114 คน
  • 18. 15 2.3 ข้อมูลด้ำนศักยภำพของเทศบำลตำบลท่ำเสำ เทศบาลตาบลท่าเสา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีดความสามารถในการบริหารงาน เพื่อให้บริการ ประชาชนในเขตพื้นที่การปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยมีระบบโครงสร้างการบริหารงาน อัตรากาลังบุคลากรขององค์กร สถานการณ์คลัง อานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ดังนี้ ฝ่ำยนิติบัญญัติ สภาเทศบาลตาบลท่าเสา ทาหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ประกอบด้วย  สมาชิกสภาเทศบาลตาบลท่าเสา จานวน 12 คน เลือกตั้งโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามกฎหมาย ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล มีวาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี มีประธานสภาหนึ่งคนและรองประธานสภา หนึ่งคน ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งจากสมาชิกสภาเทศบาลตามมติของสภาเทศบาล ฝ่ำยบริหำร การบริหารงานเทศบาลตาบลท่าเสา ประกอบด้วย  นายกเทศมนตรี เป็นฝ่ายบริหารทางด้านนโยบาย  รองนายกเทศมนตรี จานวน 2 คน เป็นผู้ช่วย  เลขานุการนายกเทศมนตรี จานวน 1 คน  ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี จานวน 1 คน  ฝ่ายปฏิบัติงานประจามีปลัดเทศบาลเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้าง เป็นฝ่ายปฏิบัติ ติดตามนโยบายที่นายกเทศมนตรีมอบหมายงานให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนที่กาหนด แบ่งเป็น ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ 6 ส่วน ดังนี้ 1. สานักปลัดเทศบาล 2. กองวิชาการและแผนงาน 3. กองคลัง 4. กองช่าง 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 6. กองการศึกษา อัตรำกำลัง เทศบาลตาบลท่าเสามีพนักงานเทศบาล พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานจ้างตามภารกิจและ พนักงานจ้างทั่วไป รวมจานวนทั้งสิ้น 103 คน แยกเป็น
  • 19. 16  พนักงานเทศบาลสามัญ จานวน 37 คน สำนัก/กอง ระดับ พนักงำนเทศบำลสำมัญ (คน)8 7 6 5 4 3 2 1 ปลัดเทศบาล 1 - - - - - - - 1 สานักปลัดเทศบาล 1 2 1 2 1 - 1 - 8 กองวิชาการและแผนงาน - 1 1 - 1 - 1 - 4 กองคลัง 1 - 5 - 2 - 1 - 9 กองช่าง 1 1 1 1 1 1 - - 6 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม - 1 2 1 - - - - 4 กองการศึกษา - 1 1 1 1 - - 1 5 รวมทั้งสิ้น 4 6 11 5 6 1 3 1 37 ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา  พนักงานส่วนท้องถิ่น จานวน 3 คน สำนัก/กอง ระดับ พนักงำนส่วนท้องถิ่น (คน) กองการศึกษา ครูผู้ช่วย 3 รวมทั้งสิ้น 3 ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา  พนักงานจ้างตามภารกิจและพนักงานจ้างทั่วไป จานวน 63 คน สำนัก/กอง พนักงำนจ้ำงตำมภำรกิจ (คน) พนักงำนจ้ำงทั่วไป (คน) พนักงำนจ้ำงเหมำบริกำร (คน) สานักปลัดเทศบาล 6 1 7 กองวิชาการและแผนงาน 2 - 2 กองคลัง 7 2 9 กองช่าง 6 13 19 กองสาธารณสุขฯ 3 22 25 กองการศึกษา 1 - 1 รวมทั้งสิ้น 25 38 63 ที่มา : งานบริหารงานบุคคล สานักปลัดเทศบาล เทศบาลตาบลท่าเสา
  • 20.
  • 21. 17 โครงสร้ำงสภำเทศบำลตำบลท่ำเสำ เทศบำลตำบลท่ำเสำ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ประธานสภาเทศบาล นายกเทศมนตรี เลขานุการสภาเทศบาล ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี รองประธานสภาเทศบาล สมาชิกสภาเทศบาล รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี
  • 22. 18 โครงสร้ำงกำรบริหำรงำนเทศบำลตำบลท่ำเสำ 1.1 ฝ่ำยอำนวยกำร 2.1 ฝ่ำยแผนงำนและงบประมำณ 3.1 ฝ่ำยบริหำรงำนกำรคลัง 4.1 ฝ่ำยแบบแผนและก่อสร้ำง 5.1 ฝ่ำยบริหำรงำนสำธำรณสุข 6.1 ฝ่ำยบริหำรกำรศึกษา - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานบริหารงานทั่วไป - งานการเจ้าหน้าที่ - งานวิเคราะห์นโยบายและแผน - งานการเงินและบัญชี - งานแบบแผนและควบคุม - งานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข - งานพัสดุ และการเงิน - งานเลขานุการและงานรัฐพิธี - งานจัดทางบประมาณ - งานระเบียบการคลังและ อาคาร - งานรักษาความสะอาด การคลัง - งานอื่น มิได้อยู่ในส่วนราชการใด - งานบริการและเผยแพร่วิชาการ สถิติการคลัง - งานก่อสร้าง - งานระบาดวิทยา และควบคุมโรค - งานส่งเสริมการศึกษา 1.2 ฝ่ำยปกครอง - งานข้อมูลข่าวสารของท้องถิ่น - งานพัสดุและทรัพย์สิน - งานจัดสถานที่และการไฟฟ้า - งานสุขาภิบาลอาหารและสถาน - งานศาสนา ประเพณี - งานทะเบียนราษฎรและ - งานนิติการ - งานพัฒนารายได้ สาธารณะ ประกอบการ และวัฒนธรรม บัตรประชาชน - งานรับเรื่องราวร้องทุกข์ - งานแผนที่ภาษีและทะเบียน - งานประสานสาธารณูปโภค - งานป้องกันยาเสพติด - งานนันทนาการและกีฬา - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - งานตราเทศบัญญัติ ที่มิใช่เรื่อง ทรัพย์สิน - งานควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อม - งานพัฒนาชุมชน - งานรักษาความสงบเรียบร้อย งบประมาณประจาปี และความมั่นคง - งานจดทะเบียนพาณิชย์ ปลัดเทศบำล สำนักปลัดเทศบำล กองคลัง กองช่ำง กองสำธำรณสุขและสิ่งแวดล้อม นำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ รองนำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ สภำเทศบำลตำบลท่ำเสำ กองวิชำกำรและแผนงำน กองกำรศึกษำ ที่ปรึกษำนำยกเทศมนตรีตำบลท่ำเสำ
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. 19 สถำนะกำรคลังของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ตำรำงแสดงงบประมำณเปรียบเทียบรำยได้จริง-รำยจ่ำยจริง ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2554-2558 ปีงบประมำณ รำยได้จริง รำยจ่ำยจริง 2554 51,760,199.24 42,585,756.03 2555 60,855,268.21 49,423,238.22 2556 67,533,359.89 58,774,283.98 2557 69,032,352.76 62,875,868.52 2558 75,168,932.30 72,002,781.03 ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559 สถิติกำรจัดเก็บภำษีโรงเรือนและที่ดินของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558 ปี พ.ศ. ภำษีโรงเรือนและที่ดิน จำนวนรำย จำนวนเงิน 2554 270 1,403,129.00 2555 308 1,580,562.00 2556 334 2,060,268.25 2557 365 2,492,183.00 2558 394 2,895,353.21 ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559 สถิติกำรจัดเก็บภำษีบำรุงท้องที่ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558 ปี พ.ศ. ภำษีบำรุงท้องที่ จำนวนรำย จำนวนเงิน 2554 2,012 72,793.00 2555 2,044 79,270.00 2556 2,131 85,351.00 2557 2,248 76,874.95 2558 2,272 82,724.10 ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
  • 27. 20 สถิติกำรจัดเก็บภำษีป้ำยของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558 ปี พ.ศ. ภำษีป้ำย จำนวนรำย จำนวนเงิน 2554 88 164,170.00 2555 101 185,361.00 2556 96 196,574.00 2557 110 196,953.00 2558 100 187,557.00 ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559 สถิติกำรจัดเก็บค่ำขยะ ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-.2558 ปี พ.ศ. ค่ำขยะ จำนวนรำย จำนวนเงิน 2554 1,156 539,400.00 2555 1,344 585,270.00 2556 1,431 642,900.00 2557 1,532 653,280.00 2558 1,628 718,020.00 ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559 สถิติกำรจัดเก็บค่ำน้ำประปำ ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ช่วงระหว่ำงปี พ.ศ.2554-2558 ปี พ.ศ. ค่ำน้ำประปำ จำนวนรำย จำนวนเงิน 2554 1,413 1,827,889.79 2555 2,038 3,085,460.88 2556 2,125 3,521,700.73 2557 2,615 3,613,954.00 2558 2,729 4,452,752.00 ที่มา : งานพัฒนารายได้ กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
  • 28. 21 กำรบริหำรรำยรับ ตำรำงแสดงงบประมำณรำยรับของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2558 หมวด งบประมำณ 2556 2557 2558 1. ภาษีอากร 2. ค่าธรรมเนียมค่าปรับและใบอนุญาต 3. รายได้จากทรัพย์สิน 4. รายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ 5. รายได้เบ็ดเตล็ด 6. ภาษีจัดสรร 7. เงินอุดหนุนทั่วไป 8. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 9. เงินอุดหนุนทั่วไป (ระบุวัตถุประสงค์) 2,522,033.70 760,172.30 848,297.25 3,521,700.73 317,042.02 29,892,826.89 17,896,693.00 11,774,594.00 - 2,836,517.95 1,098,606.60 1,169,412.12 3,613,954.00 267,124.00 28,703,719.00 19,115,469.00 12,227,550.00 - 3,309,203.31 1,638,221.00 1,350,487.41 4,452,752.00 1,428,694.55 29,618094.75 18,502,428.00 - 14,869,051.28 รวมรำยรับทั้งสิ้น 67,533,359.89 69,032,352.76 75,168,932.30 ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559 กำรบริหำรรำยจ่ำย ตำรำงแสดงงบประมำณรำยจ่ำยของเทศบำลตำบลท่ำเสำ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2556-2558 หมวด งบประมำณ 2556 2557 2558 1. รายจ่ายงบกลาง 2. เงินเดือนและค่าจ้างประจา 3. ค่าจ้างชั่วคราว 4. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 5. ค่าสาธารณูปโภค 6. เงินอุดหนุน 7. รายจ่ายอื่น 8. ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 9. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 10. เงินอุดหนุนทั่วไป (ระบุวัตถุประสงค์) 1,917,235.63 15,510,433.00 - 8,506,433.30 5,187,622.80 1,911,877.67 12,000.00 13,954,087.58 11,774,594.00 - 2,922,785.42 18,653,409.00 - 10,764,430.05 5,137,974.13 3,005,042.19 2,713,785.00 7,450,892.73 12,227,550.00 - 1,627,916.06 19,689,195.00 - 12,349,839.73 5,749,980.99 2,834,521.77 40,235.00 15,001,684.20 - 14,709,408.28 รวมรำยจ่ำยทั้งสิ้น 58,774,283.98 62,875,868.52 72,002,781.03 ที่มา : งานการเงินและบัญชี กองคลัง ณ เดือนเมษายน 2559
  • 29. 22 2.4 จุดยืนทำงยุทธศำสตร์ของเทศบำลตำบลท่ำเสำ “ท่าเสาตาบลน่าอยู่ ด้วยสภาพแวดล้อมที่ดี ชุมชนมีความเข้มแข็ง คนชรา/ผู้ยากไร้ ได้รับการสงเคราะห์” ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ์นอกจากจะคานึงถึงอานาจหน้าที่ใน การบริหารราชการตามที่กฎหมายกาหนดแล้ว ยังคานึงถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ คสช. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ นโยบาย ของรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(แผนพัฒนาจังหวัด) ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์อาเภอ(แผนพัฒนาอาเภอ) ซึ่งเทศบาลตาบลท่าเสา มีความมุ่งมั่นในการบริหาร จัดการ จานวน 6 ด้าน คือ ด้ำนคมนำคมและแหล่งน้ำเพื่อกำรบริโภค – อุปโภค ทางเทศบาลตาบลท่าเสามี แนวทางการพัฒนาก่อสร้าง ปรับปรุง ท่อระบายน้า พัฒนาระบบการคมนาคม และระบบจราจร และการพัฒนา ก่อสร้าง ปรับปรุงแหล่งน้าเพื่อการบริโภค-อุปโภค เช่น โครงการก่อสร้างถนน ค.ส.ล. หมู่ที่ 1-10 ตาบลท่าเสา โครงการปรับปรุงระบบผลิตน้าประปา หมู่ที่ 1-10 ตาบลท่าเสา ด้ำนกำรศึกษำ สังคม และสำธำรณสุข มีแนวทาง การพัฒนาในการให้การสงเคราะห์ เด็ก สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ การพัฒนาป้องกันและระงับโรคติดต่อต่างๆ การพัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก การแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร การแพทย์ ฉุกเฉิน เช่น โครงการเรียนรู้สู่โลกกว้างให้กับเด็กนักเรียนในตาบลท่าเสา โครงการรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลือดออก ด้ำนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และสิ่งแวดล้อม มีแนวทางการพัฒนาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย แนวทางการพัฒนาการบาบัดและจัดการขยะมูลฝอย เช่น โครงการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาล โครงการคัดแยกขยะในสถานที่ราชการ ชุมชน วัดและโรงเรียน ด้ำนเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน เช่น โครงการอบรมและฝึกทักษะอาชีพให้กับกลุ่มอาชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ ด้ำนอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี มีแนวทางการพัฒนาส่งเสริม สร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีให้แก่ประชาชน เช่น โครงการรดน้าดาหัวผู้สูงอายุ ด้ำนกำรบริหำรงำนและกำรจัดกำรบ้ำนเมืองที่ดี มีแนวทางการพัฒนาระบบการให้บริการแก่ประชาชน แนวทางการพัฒนาส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพ ขีดความสามารถของบุคลากรของท้องถิ่น เช่น โครงการจัดงานวันเทศบาล โครงการ ฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพให้กับบุคลากรของเทศบาลตาบลท่าเสา ดังนั้น ยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน เป็นยุทธศาสตร์ที่มี วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและตอบสนองความต้องการของประชาชนตาบลท่าเสา ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริงและ ยั่งยืนตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง
  • 30. 23 บทที่ 3 แผนยุทธศำสตร์ 3.1 กรอบแนวคิดในกำรจัดทำยุทธศำสตร์กำรพัฒนำท้องถิ่น 3.1.1 การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ คสช. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (แผนพัฒนาจังหวัด) ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ ยุทธศาสตร์อาเภอ (แผนพัฒนาอาเภอ) ยุทธศาสตร์และนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)และรัฐบาล ยุทธศำสตร์หลัก 1 ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 3 ยุทธศาสตร์สร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน 4 ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน 5 ยุทธศาสตร์การสร้างความความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคม 6 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 7 ยุทธศาสตร์ในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจให้เกิด ประโยชน์กับประชาชนในการใช้บริการอย่างแท้จริง 8 ยุทธศาสตร์ในเรื่องการปรับปรุงระบบโทรคมนาคม เทคโนโลยีของชาติให้เกิดความ มั่นคงและยั่งยืนในอนาคตให้ทัดเทียมอาเซียน และประชาคมโลก 9 ยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต คอร์รัปชั่นอย่างยั่งยืน กำรจัดทำงบประมำณในลักษณะบูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์ ที่สอดคล้องตำมกรอบยุทธศำสตร์ชำติ การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ได้กาหนดประเด็นที่เห็นควรดาเนินการ จานวน 17 เรื่อง ประกอบด้วย 1 การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ 2 การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3 การจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ 4 การป้องกัน ปราบปราบ และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 5 การจัดการปัญหาที่ดินทากิน 6 การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ 7 การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ 8 การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 9 การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 10 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 11 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 12 การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา