SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

นักเรียนทราบไหมครับว่า คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึงอะไร ?
ปัจจุบันภาพกราฟิกมีบทบาทกับงานด้านต่างๆ เป็นอย่างมาก เช่น งาน
นาเสนอข้อมูลในรูปแบบของ เส้นกราฟ กราฟแท่ง แผนภูมิการใช้ภาพกราฟิ ก
ประกอบการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ การสร้างเว็บเพจ การสร้างสื่อการสอน (CAI)
การสร้างการ์ตูน การสร้างโลโก และงานออกแบบต่าง ๆ เป็นต้น โดยภาพกราฟิก
จะทาให้งานมีความสวยงามน่าสนใจยิ่งขึ้น

ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก
กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ
แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ
กราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์
การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน
 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ เช่น 3D max, Maya
ทาให้ได้ภาพที่มีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะสาหรับการออกแบบและสถาปัตยกรรม
เช่น การ์ตูนแอนิเมชั่นเรื่อง ก้านกล้วย

ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ

ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 1
ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ในปี ค.ศ. 1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นภาพที่
เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน
ในปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ ( Massachusetts Institue Technology : MIT]
ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(CathodeRayTube)เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์เนื่องจากมี
ความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเร็วยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. 1950 ระบบ
SAGE (Semi - Automatic Ground Environment) ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาสามารถแปลงสัญญาณ
จากเรดาร์ ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็นระบบกราฟิก เครื่องแรกที่ใช้ปากกาแสง ( Light
Pen : เป็นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลชนิดหนึ่ง) สาหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้
ในปี ค.ศ. 1950 - 1960 มีการทาวิจัยเรื่องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก ซึ่งต่อมาได้
กลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริญญา
เอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ( Ivan Sutherland) เป็นการพัฒนาระบบการวาดเส้น ซึ่งผู้ใช้สามารถกาหนดจุด
บนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิกจะสามารถลากเส้นเชื่อมจุดต่างๆ เหล่านี้
เข้าด้วยกัน กลายเป็นภาพโครงสร้างรูปหลายเหลี่ยม
ปี ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ ( Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะ
ลบ ( Storage - Tube CRT) ซึ่งระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้า จึงทาให้ราคาถูกลง
มาก บริษัทตั้งราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี
ต่อมา
สาหรับซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกก็ได้มีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์เช่นกัน ซึ่งมีการเริ่มต้นจาก
อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ผู้ซึ่งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิก
ต่อมาก็มี สตีเฟน คูน ( Steven Coons, 1966) และ ปิแอร์ เบเซอร์ ( Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ
การสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทาให้ปัจจุบันเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริงสมจังมากขึ้น ในช่วง
10 ปีต่อมาได้มการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสาหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก และปัจจุบันเราก็
ี
ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัยต่างๆ ในอดีตนั่นเอง

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 2
ชนิดภาพกราฟิกที่ใช้ในคอมพิวเตอร์
ภาพที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ของสี ที่เราเรียกว่า พิกเซล มาประกอบ
กันเป็นภาพขนาดต่างๆ พิกเซล (Pixel) มาจากคาว่า Picture และคาว่า Element แปลตรงตัว ก็คือ
องค์ประกอบที่รวมกันเกิดเป็นภาพ สรุปได้ว่า พิกเซล คือ จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เป็นองค์ประกอบรวมกันเป็น
ภาพ ซึ่งภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มี 2 แบบคือ
 แบบ Vector
 แบบ Raster/Bitmap

แบบ Vector
เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึ่งภาพจะมี
ความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยาย
ภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster
ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพื่องานสถาปัตยกรรมตกแต่งภายใน และการออกแบบต่าง ๆ เช่น
การออกแบบรถยนต์ การออกแบบอาคาร การสร้างการ์ตูน เป็นต้น

ภาพกราฟิกแบบ Vector ที่ขยายใหญ่ขน ความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง
ึ้

แบบ Raster/Bitmap
ภาพกราฟิกแบบ Raster หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แบบ Bitmap เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียง
ตัวของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ที่เรียกว่า พิกเซล ในการสร้างภาพ กราฟิกแบบ Raster จะต้อง
กาหนดจานวนพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากาหนดจานวนพิกเซลน้อย เมื่อขยายภาพให้มีขนาดใหญ่
ขึ้น จะทาให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะทาให้แฟ้มภาพมี
ขนาดใหญ่

ภาพกราฟิกแบบ Raster ที่ขยายใหญ่ขน จะมองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยม
ึ้

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 3
รูปแบบของไฟล์
กราฟิกไฟล์สาหรับอินเทอร์เน็ต
ไฟล์กราฟิกที่สนับสนุนระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมี 3 ไฟล์หลัก ๆ คือ
1. ไฟล์สกุล GIF ( Graphics Interlace File)
2. ไฟล์สกุล JPG ( Joint Photographer's Experts Group)
3. ไฟล์สกุล PNG ( Portable Network Graphics)
1. ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File)
เป็นไฟล์กราฟิกมาตรฐานที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต มักจะใช้เมื่อ
- ต้องการไฟล์ที่มีขนาดเล็ก
- จานวนสีและความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก
- ต้องการพื้นแบบโปร่งใส
- ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด
- ต้องการนาเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว
จุดเด่น
- มีขนาดไฟล์ต่า
- สามารถทาพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ (Transparent)
- มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace
- มีโปรแกรมสนับการสร้างจานวนมาก
- เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว
- ความสามารถด้านการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว ( Gif Animation)
จุดด้อย
- แสดงสีได้เพียง 256 สี

ตัวอย่างภาพที่มีนามสกุล .gif

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 4
2. ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group)
เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี
- ภาพที่ต้องการนาเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color)
- ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้
- ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้
ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง
จุดเด่น
- สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit
- สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
- มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ Progressive
่
- มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก
- เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว
- ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ ( compress files)
จุดด้อย
- ทาให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้

ตัวอย่างภาพที่มีนามสกุล .jpeg

3. ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)
จุดเด่น
- สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit)
- สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
- มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด ( Interlace)
- สามารถทาพื้นโปร่งใสได้

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 5
จุดด้อย
- หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมี
ขนาดต่า
- ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า
- ความละเอียดของภาพและจานวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card
- โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย

โครงสร้างของสี

ระบบสี
(Color Model)
ระบบสี

ระบบสี

Additive

Subtractive

ระบบสี Additive
สีในระบบ Additive ประกอบด้วยสีหลัก 3 สี (เช่นเดียวกับแม่สี) คือ สีแดง (Red) สีเขียว (Green)
และ สีน้าเงิน (Blue) เรียกรวมกันว่า RGB ซึ่งมีรูปแบบการผสมสีของ RGB ดังนี้

การผสมกันของแม่สีทั้งสาม
1. ถ้าแม่สีมีค่าเท่ากัน มาผสมกันเป็นคู่ จะได้ผลดังนี้
1 Red
+1 Blue

= Magenta

1 Blue

+1 Green

=Cyan

1 Green

+1 Red

=Yellow

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 6
2. ถ้าแม่สีมีค่าเท่ากัน มาผสมทั้ง 3 สี จะได้ผลดังนี้
1 Red
+1Blue
+1 Green

=White

3. ถ้าแม่สีมีค่าไม่เท่ากัน ผสมกัน จะได้สีต่างๆ กันไป เช่น
2 Red
+1 Green
=Orange
2 Green
+1 Red
=Lime
1 Blue
+1 Green
+4 Red

=Brown

ระบบสี Subtractive
ระบบสี Subtractive มีลักษณะที่ตรงข้ามกับ Additive โดยสีแต่ละสีจะได้จากการลบสีต่างๆ ออกไป
จากระบบ ดังนั้น หากไม่มีการแสดงสีใดๆ จะแสดงผลเป็นสีขาว ขณะที่การแสดงสีทุกสี จะปรากฏเป็นสีดา
และสีหลัก หรือแม่สีของระบบนี้ จะประกอบด้วย สีฟ้า (Cyan) สีม่วงแดง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow)
หรือระบบ CMY เป็นระบบสีที่ใช้กับงานสิ่งพิมพ์ ซึ่งมักจะรวมเอาสีดา มาเป็นแม่สีด้วย จึงเรียกว่าระบบ
CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, blacK) นั่นเอง

ตัวอย่างการผสมสี
CYAN INK

MAGENTA INK

YELLOW INK

BLACK INK

ALL INKS

100% CYAN

-

100% YELLOW

-

GREEN

100% CYAN

-

100% YELLOW

25% BLACK

DARK GREEN

-

100% MAGENTA

100% YELLOW

-

RED

-

100% MAGENTA

100% YELLOW

25% BLACK

DARK RED

100% CYAN

50% MAGENTA

-

-

BLUE

50% CYAN

75% MAGENTA

100% YELLOW

-

BROWN

45% CYAN

30% MAGENTA

30% YELLOW

-

GRAY

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 7
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
1. Photo Retouching
โปรแกรมที่เหมาะสาหรับการแก้ไข ตกแต่งภาพ และ ทาเอฟเฟกต์ให้กับภาพที่ได้สร้างขึ้นมาแล้ว ซึ่ง
อาจจะ มาจากภาพถ่ายจริง ได้แก่ Adobe PhotoShop, Corel Photopaint, PaintShop

2. Graphic Illustrator
โปรแกรมสาหรับการออกแบบงานกราฟิก หรืองาน Lay out ซึ่งเป็นงานสองมิติ มีการเขียนรูปใน
ลักษณะการเน้น เส้นเน้นรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งไม่ใช่รูปถ่าย ได้แก่ Adobe Illustrator, CorelDraw

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 8
3. Computer Aided Design
โปรแกรมสาหรับการเขียนภาพที่แสดงออกถึงมิติ ขนาด ที่ ให้ความชัดเจนของวัตถุที่ต้องการสร้าง
ขึ้นมา ได้แก่ Auto CAD, Prodesign

4. 3D Photo Realistic
โปรแกรมที่สามารถสร้างภาพสามมิติ ที่มีมวลและปริมาตร และมีคุณสมบัติของพื้นผิว จนเกิดความ
สมจริงของแสง และเงา ได้แก่ 3D studio MAX, Auto CAD 3D

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 9
5. Presentation
โปรแกรมกราฟิก สาหรับช่วยในการนาเสนองาน ใน ลักษณะเป็นสไลค์ประกอบคาบรรยาย มีการ
สร้างภาพ กราฟฟิกที่ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น เช่น กราฟชนิดต่าง ๆ หรือการสร้างแผนผังการจัดองค์กรโปรแกรม
ประเภทนี้ ส่วนมากใช้ในงานธุรกิจ

6. Animation
เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลาดับ โปรแกรมจะ แสดงภาพเป็นลาดับให้แลดูเหมือน
ภาพเคลื่อนไหว โดย อาจมีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อนภาพ , เลื่อนภาพ, การเลื่อน
ภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 10
คุณสมบัติของงานกราฟิก
1) งานกราฟิกเข้าใจได้ง่าย มีงานจานวนมากที่แสดงด้วยภาพจะทาให้เข้าใจถึงเรื่องที่ต้องการสื่อ
ความหมายได้ง่ายกว่าการอธิบายด้วยภาษาพูดและภาษาเขียน เพราะภาพกราฟิกมีความชัดเจนเรียบง่าย และ
สามารถเน้นจุดที่ ต้องการได้ เช่ น การใช้ภาพ แผนที่บอกสถานที่ การออกแบบผลิตภัณฑ์อุ ตสาหกรรม
แผนภูมิต่างๆ

แผนที่แสดงด้วยภาพกราฟิก

2) งานกราฟิ ก ดึ งดู ดความสนใจ

งานกราฟิ ก มีความสะดุดตา น่าเชื่อถือ สามารถใช้ส ร้าง

ความสาคัญ และทาให้ตระหนักถึงสิ่งที่ควรเอาใจใส่ จึงใช้ดึงดูดความสนใจได้ดีกว่าการบอกเล่า เช่น ในการ
โฆษณาสินค้าจะใช้งานกราฟิกที่มีสีสันสะดุดตาและการจัดวางที่เหมาะสมเพื่อจูงใจให้ลูกค้าเกิดความสนใจ
สินค้านั้น ๆ การนาเสนอผลงานหรือข้อมูลต่าง ๆ ถ้าใช้ภาพกราฟิกประกอบการช่วยให้ผู้ฟังไม่เบื่อ เกิดความ
เข้าใจ และสนใจติดตามตลอดการนาเสนอ

ภาพโฆษณา สินค้า

เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 11
3) งานกราฟิกช่วยให้จดจาได้มากและเร็วกว่า เนื่องจากมนุษย์จะจาข้อมูลในลักษณะที่เป็นภาพได้
ดีกว่าตัวเลขหรือข้อความ การประยุกต์ใช้งานกราฟิกในการเรียนรู้หรือ การศึกษาจะช่วยให้ผู้เรียนสรุป
ความรู้ได้เป็นอย่างดี ผู้เรียนจึงสามารถจดจาสิ่งต่าง ๆ ได้มากและเร็วกว่า เช่น การใช้ภาพอธิบายการเกิ ด
สุริยุปราคาการใช้ภาพสัตว์สอนให้เด็กรู้จักชื่อสัตว์ชนิดต่าง ๆ การใช้ภาพกราฟิกอธิบายการส่งสินค้าออกที่
ทารายได้เข้าประเทศ

ภาพอธิบายการเกิดสุริยุปราคา

บทบาทและความสาคัญของงานกราฟิก
1) ความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ มนุษย์ประสบความสาเร็จในการค้นพบความจริง และ
กระบวนการทางธรรมชาติมากมาย ความรู้ที่ค้นพบใหม่นี้ ต้องการวิธีการและกระบวนการในการเก็บ
บันทึก การจา และเผยแพร่ การใช้งานกราฟิกช่วยจะทาให้ได้ข้อมูลที่สามารถสื่อสารความหมายให้เข้าใจได้
ง่ายและรวดเร็ว และชัดเจนถูกต้อง เพิ่มประสิทธิภาพให้กับการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน
2) ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ทาให้เกิด
เครื่องมือสาหรับสร้างงานกราฟิกที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถผลิตงานได้ รวดเร็ว มีปริมาณมาก ง่าย
ต่อการใช้งาน ราคาถูกลง และเผยแพร่ได้สะดวกกว้างไกล โดยเฉพาะการใช้คอมพิวเตอร์ในงาน
กราฟิก และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3) จานวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น และความเป็นโลกไร้พรมแดน ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น อย่าง
รวดเร็ว การคมนาคมที่สามารถเดินทางไปทั่วทุกมุมโลกด้วยเวลาไม่มากนัก และ การสื่อสารที่มีเครือข่าย
ครอบคลุมทั่วโลก ทาให้เกิดความจาเป็นต่อการสื่อความหมายทางไกลระหว่างบุคคล และการสื่อ
ความหมายกับประชากรกลุ่มใหญ่ในมุมต่าง ๆ ของโลก เพื่อดาเนินการถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยน
วัฒนธรรม ความร่วมมือทางวิชาการ ธุรกิจ และอื่น ๆ งานกราฟิกจึงเป็นเครื่องผ่อนแรงให้การสื่อ
ความหมาย สามารถสื่อสารได้เข้าใจง่ายและถูกต้องในเวลาสั้น
4) ความแตกต่างระว่างบุคคล บุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ เช่น ความคิด ความ
เข้าใจ ความสามารถ อัตราการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ และอื่น ๆ ความแตกต่างเหล่านี้ทาให้การสื่อความหมาย
ด้วยภาษาพูดและภาษาเขียนในบางครั้งไม่สามารถสร้างความเข้าใจได้ง่ายนัก การใช้งานกราฟิกเข้าช่วยจะ
ทาให้ง่ายต่อการสื่อความหมาย เพิ่มประสิทธิภาพของการคิดในบุคคลที่มีความแตกต่างได้เป็นอย่างดี
เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

หน้า 12

More Related Content

What's hot

ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3mathawee wattana
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติKantiya Dornkanha
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์pavinee2515
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

What's hot (20)

ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
เอกสารประกอบการสอน การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก บทที่_3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติแบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
แบบประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
Still image
Still imageStill image
Still imagejibbie23
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2kroopoom ponritti
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคwattikorn_080
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกPpatbongga
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxssuserfddc3e
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกvorravan
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกสุภรพิชญ์ ชัยชนะ
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกอ้าย ปุ้ย
 

Similar to ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก (20)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
1.1
1.11.1
1.1
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
Still image
Still imageStill image
Still image
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptx
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความหมายและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
1.6
1.61.6
1.6
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerคีตะบลู รักคำภีร์
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์ (18)

ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
 
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
โปรแกรมTinker
โปรแกรมTinkerโปรแกรมTinker
โปรแกรมTinker
 
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinkerหน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
 
คู่มือGogoboard
คู่มือGogoboardคู่มือGogoboard
คู่มือGogoboard
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
 

ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก นักเรียนทราบไหมครับว่า คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึงอะไร ? ปัจจุบันภาพกราฟิกมีบทบาทกับงานด้านต่างๆ เป็นอย่างมาก เช่น งาน นาเสนอข้อมูลในรูปแบบของ เส้นกราฟ กราฟแท่ง แผนภูมิการใช้ภาพกราฟิ ก ประกอบการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ การสร้างเว็บเพจ การสร้างสื่อการสอน (CAI) การสร้างการ์ตูน การสร้างโลโก และงานออกแบบต่าง ๆ เป็นต้น โดยภาพกราฟิก จะทาให้งานมีความสวยงามน่าสนใจยิ่งขึ้น ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ กราฟิกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ  ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน  ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ เช่น 3D max, Maya ทาให้ได้ภาพที่มีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะสาหรับการออกแบบและสถาปัตยกรรม เช่น การ์ตูนแอนิเมชั่นเรื่อง ก้านกล้วย ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 1
  • 2. ประวัติและความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิก ในปี ค.ศ. 1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นภาพที่ เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน ในปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซสต์ ( Massachusetts Institue Technology : MIT] ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหลอดภาพ CRT(CathodeRayTube)เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์เนื่องจากมี ความต้องการที่จะให้การติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มีความเร็วยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. 1950 ระบบ SAGE (Semi - Automatic Ground Environment) ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาสามารถแปลงสัญญาณ จากเรดาร์ ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้ ระบบนี้เป็นระบบกราฟิก เครื่องแรกที่ใช้ปากกาแสง ( Light Pen : เป็นอุปกรณ์สาหรับรับข้อมูลชนิดหนึ่ง) สาหรับการเลือกสัญลักษณ์ บนจอภาพได้ ในปี ค.ศ. 1950 - 1960 มีการทาวิจัยเรื่องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์เป็นจานวนมาก ซึ่งต่อมาได้ กลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1963 วิทยานิพนธ์ปริญญา เอกของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ( Ivan Sutherland) เป็นการพัฒนาระบบการวาดเส้น ซึ่งผู้ใช้สามารถกาหนดจุด บนจอภาพได้โดยตรงโดยการใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบกราฟิกจะสามารถลากเส้นเชื่อมจุดต่างๆ เหล่านี้ เข้าด้วยกัน กลายเป็นภาพโครงสร้างรูปหลายเหลี่ยม ปี ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ ( Tektronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าต้องการจะ ลบ ( Storage - Tube CRT) ซึ่งระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้า จึงทาให้ราคาถูกลง มาก บริษัทตั้งราคาขายไว้เพียง 15,000 ดอลลาร์เท่านั้น จอภาพแบบนี้จึงเป็นที่นิยมกันมากในช่วงเวลา 5 ปี ต่อมา สาหรับซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกก็ได้มีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์เช่นกัน ซึ่งมีการเริ่มต้นจาก อีวาน ซูเธอร์แลนด์ ผู้ซึ่งได้ออกแบบวิธีการหลักๆ รวมทั้งโครงสร้างข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิก ต่อมาก็มี สตีเฟน คูน ( Steven Coons, 1966) และ ปิแอร์ เบเซอร์ ( Pierre Bazier , 1972) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับ การสร้างเส้นโค้งและภาพพื้นผิว ทาให้ปัจจุบันเราสามารถสร้างภาพ 3 มิติ ได้สมจริงสมจังมากขึ้น ในช่วง 10 ปีต่อมาได้มการพัฒนาวิธีการสร้างภาพมากมายสาหรับใช้ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก และปัจจุบันเราก็ ี ได้เห็นผลงานที่สวยงามและแปลกตา ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัยต่างๆ ในอดีตนั่นเอง เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 2
  • 3. ชนิดภาพกราฟิกที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ภาพที่ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ เกิดจากจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ของสี ที่เราเรียกว่า พิกเซล มาประกอบ กันเป็นภาพขนาดต่างๆ พิกเซล (Pixel) มาจากคาว่า Picture และคาว่า Element แปลตรงตัว ก็คือ องค์ประกอบที่รวมกันเกิดเป็นภาพ สรุปได้ว่า พิกเซล คือ จุดสี่เหลี่ยมเล็กๆ ที่เป็นองค์ประกอบรวมกันเป็น ภาพ ซึ่งภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์มี 2 แบบคือ  แบบ Vector  แบบ Raster/Bitmap แบบ Vector เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการอ้างอิงความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคานวณ ซึ่งภาพจะมี ความเป็นอิสระต่อกัน โดยแยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง เส้นโค้ง รูปทรง เมื่อมีการขยาย ภาพความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง แฟ้มมีขนาดเล็กกว่าแบบ Raster ภาพกราฟิกแบบ Vector นิยมใช้เพื่องานสถาปัตยกรรมตกแต่งภายใน และการออกแบบต่าง ๆ เช่น การออกแบบรถยนต์ การออกแบบอาคาร การสร้างการ์ตูน เป็นต้น ภาพกราฟิกแบบ Vector ที่ขยายใหญ่ขน ความละเอียดของภาพจะไม่ลดลง ึ้ แบบ Raster/Bitmap ภาพกราฟิกแบบ Raster หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แบบ Bitmap เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการเรียง ตัวของจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หลากหลายสี ที่เรียกว่า พิกเซล ในการสร้างภาพ กราฟิกแบบ Raster จะต้อง กาหนดจานวนพิกเซลให้กับภาพที่ต้องการสร้าง ถ้ากาหนดจานวนพิกเซลน้อย เมื่อขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ ขึ้น จะทาให้มองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ หรือถ้ากาหนดจานวนพิกเซลมากก็จะทาให้แฟ้มภาพมี ขนาดใหญ่ ภาพกราฟิกแบบ Raster ที่ขยายใหญ่ขน จะมองเห็นภาพเป็นจุดสี่เหลี่ยม ึ้ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 3
  • 4. รูปแบบของไฟล์ กราฟิกไฟล์สาหรับอินเทอร์เน็ต ไฟล์กราฟิกที่สนับสนุนระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมี 3 ไฟล์หลัก ๆ คือ 1. ไฟล์สกุล GIF ( Graphics Interlace File) 2. ไฟล์สกุล JPG ( Joint Photographer's Experts Group) 3. ไฟล์สกุล PNG ( Portable Network Graphics) 1. ไฟล์สกุล GIF (Graphics Interlace File) เป็นไฟล์กราฟิกมาตรฐานที่ทางานบนอินเทอร์เน็ต มักจะใช้เมื่อ - ต้องการไฟล์ที่มีขนาดเล็ก - จานวนสีและความละเอียดของภาพไม่สูงมากนัก - ต้องการพื้นแบบโปร่งใส - ต้องการแสดงผลแบบโครงร่างก่อน แล้วค่อยแสดงผลแบบละเอียด - ต้องการนาเสนอภาพแบบภาพเคลื่อนไหว จุดเด่น - มีขนาดไฟล์ต่า - สามารถทาพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ (Transparent) - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace - มีโปรแกรมสนับการสร้างจานวนมาก - เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว - ความสามารถด้านการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว ( Gif Animation) จุดด้อย - แสดงสีได้เพียง 256 สี ตัวอย่างภาพที่มีนามสกุล .gif เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 4
  • 5. 2. ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็นอีกไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มักใช้กรณี - ภาพที่ต้องการนาเสนอมีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color) - ต้องการบีบไฟล์ตามความต้องการของผู้ใช้ - ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง จุดเด่น - สนับสนุนสีได้ถึง 24 bit - สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสูละเอียดในระบบ Progressive ่ - มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก - เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว - ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ ( compress files) จุดด้อย - ทาให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้ ตัวอย่างภาพที่มีนามสกุล .jpeg 3. ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) จุดเด่น - สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16 bit, 32 bit หรือ 64 bit) - สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ - มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด ( Interlace) - สามารถทาพื้นโปร่งใสได้ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 5
  • 6. จุดด้อย - หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมี ขนาดต่า - ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า - ความละเอียดของภาพและจานวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card - โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย โครงสร้างของสี ระบบสี (Color Model) ระบบสี ระบบสี Additive Subtractive ระบบสี Additive สีในระบบ Additive ประกอบด้วยสีหลัก 3 สี (เช่นเดียวกับแม่สี) คือ สีแดง (Red) สีเขียว (Green) และ สีน้าเงิน (Blue) เรียกรวมกันว่า RGB ซึ่งมีรูปแบบการผสมสีของ RGB ดังนี้ การผสมกันของแม่สีทั้งสาม 1. ถ้าแม่สีมีค่าเท่ากัน มาผสมกันเป็นคู่ จะได้ผลดังนี้ 1 Red +1 Blue = Magenta 1 Blue +1 Green =Cyan 1 Green +1 Red =Yellow เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 6
  • 7. 2. ถ้าแม่สีมีค่าเท่ากัน มาผสมทั้ง 3 สี จะได้ผลดังนี้ 1 Red +1Blue +1 Green =White 3. ถ้าแม่สีมีค่าไม่เท่ากัน ผสมกัน จะได้สีต่างๆ กันไป เช่น 2 Red +1 Green =Orange 2 Green +1 Red =Lime 1 Blue +1 Green +4 Red =Brown ระบบสี Subtractive ระบบสี Subtractive มีลักษณะที่ตรงข้ามกับ Additive โดยสีแต่ละสีจะได้จากการลบสีต่างๆ ออกไป จากระบบ ดังนั้น หากไม่มีการแสดงสีใดๆ จะแสดงผลเป็นสีขาว ขณะที่การแสดงสีทุกสี จะปรากฏเป็นสีดา และสีหลัก หรือแม่สีของระบบนี้ จะประกอบด้วย สีฟ้า (Cyan) สีม่วงแดง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) หรือระบบ CMY เป็นระบบสีที่ใช้กับงานสิ่งพิมพ์ ซึ่งมักจะรวมเอาสีดา มาเป็นแม่สีด้วย จึงเรียกว่าระบบ CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, blacK) นั่นเอง ตัวอย่างการผสมสี CYAN INK MAGENTA INK YELLOW INK BLACK INK ALL INKS 100% CYAN - 100% YELLOW - GREEN 100% CYAN - 100% YELLOW 25% BLACK DARK GREEN - 100% MAGENTA 100% YELLOW - RED - 100% MAGENTA 100% YELLOW 25% BLACK DARK RED 100% CYAN 50% MAGENTA - - BLUE 50% CYAN 75% MAGENTA 100% YELLOW - BROWN 45% CYAN 30% MAGENTA 30% YELLOW - GRAY เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 7
  • 8. ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก 1. Photo Retouching โปรแกรมที่เหมาะสาหรับการแก้ไข ตกแต่งภาพ และ ทาเอฟเฟกต์ให้กับภาพที่ได้สร้างขึ้นมาแล้ว ซึ่ง อาจจะ มาจากภาพถ่ายจริง ได้แก่ Adobe PhotoShop, Corel Photopaint, PaintShop 2. Graphic Illustrator โปรแกรมสาหรับการออกแบบงานกราฟิก หรืองาน Lay out ซึ่งเป็นงานสองมิติ มีการเขียนรูปใน ลักษณะการเน้น เส้นเน้นรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งไม่ใช่รูปถ่าย ได้แก่ Adobe Illustrator, CorelDraw เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 8
  • 9. 3. Computer Aided Design โปรแกรมสาหรับการเขียนภาพที่แสดงออกถึงมิติ ขนาด ที่ ให้ความชัดเจนของวัตถุที่ต้องการสร้าง ขึ้นมา ได้แก่ Auto CAD, Prodesign 4. 3D Photo Realistic โปรแกรมที่สามารถสร้างภาพสามมิติ ที่มีมวลและปริมาตร และมีคุณสมบัติของพื้นผิว จนเกิดความ สมจริงของแสง และเงา ได้แก่ 3D studio MAX, Auto CAD 3D เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 9
  • 10. 5. Presentation โปรแกรมกราฟิก สาหรับช่วยในการนาเสนองาน ใน ลักษณะเป็นสไลค์ประกอบคาบรรยาย มีการ สร้างภาพ กราฟฟิกที่ดูแล้วเข้าใจง่ายขึ้น เช่น กราฟชนิดต่าง ๆ หรือการสร้างแผนผังการจัดองค์กรโปรแกรม ประเภทนี้ ส่วนมากใช้ในงานธุรกิจ 6. Animation เป็นโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหวตามลาดับ โปรแกรมจะ แสดงภาพเป็นลาดับให้แลดูเหมือน ภาพเคลื่อนไหว โดย อาจมีเทคนิคต่างๆ ประกอบการแสดงภาพเช่น การซ้อนภาพ , เลื่อนภาพ, การเลื่อน ภาพให้หายไปได้ และ การ แปลงภาพ รวมถึงมีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 10
  • 11. คุณสมบัติของงานกราฟิก 1) งานกราฟิกเข้าใจได้ง่าย มีงานจานวนมากที่แสดงด้วยภาพจะทาให้เข้าใจถึงเรื่องที่ต้องการสื่อ ความหมายได้ง่ายกว่าการอธิบายด้วยภาษาพูดและภาษาเขียน เพราะภาพกราฟิกมีความชัดเจนเรียบง่าย และ สามารถเน้นจุดที่ ต้องการได้ เช่ น การใช้ภาพ แผนที่บอกสถานที่ การออกแบบผลิตภัณฑ์อุ ตสาหกรรม แผนภูมิต่างๆ แผนที่แสดงด้วยภาพกราฟิก 2) งานกราฟิ ก ดึ งดู ดความสนใจ งานกราฟิ ก มีความสะดุดตา น่าเชื่อถือ สามารถใช้ส ร้าง ความสาคัญ และทาให้ตระหนักถึงสิ่งที่ควรเอาใจใส่ จึงใช้ดึงดูดความสนใจได้ดีกว่าการบอกเล่า เช่น ในการ โฆษณาสินค้าจะใช้งานกราฟิกที่มีสีสันสะดุดตาและการจัดวางที่เหมาะสมเพื่อจูงใจให้ลูกค้าเกิดความสนใจ สินค้านั้น ๆ การนาเสนอผลงานหรือข้อมูลต่าง ๆ ถ้าใช้ภาพกราฟิกประกอบการช่วยให้ผู้ฟังไม่เบื่อ เกิดความ เข้าใจ และสนใจติดตามตลอดการนาเสนอ ภาพโฆษณา สินค้า เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 11
  • 12. 3) งานกราฟิกช่วยให้จดจาได้มากและเร็วกว่า เนื่องจากมนุษย์จะจาข้อมูลในลักษณะที่เป็นภาพได้ ดีกว่าตัวเลขหรือข้อความ การประยุกต์ใช้งานกราฟิกในการเรียนรู้หรือ การศึกษาจะช่วยให้ผู้เรียนสรุป ความรู้ได้เป็นอย่างดี ผู้เรียนจึงสามารถจดจาสิ่งต่าง ๆ ได้มากและเร็วกว่า เช่น การใช้ภาพอธิบายการเกิ ด สุริยุปราคาการใช้ภาพสัตว์สอนให้เด็กรู้จักชื่อสัตว์ชนิดต่าง ๆ การใช้ภาพกราฟิกอธิบายการส่งสินค้าออกที่ ทารายได้เข้าประเทศ ภาพอธิบายการเกิดสุริยุปราคา บทบาทและความสาคัญของงานกราฟิก 1) ความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ มนุษย์ประสบความสาเร็จในการค้นพบความจริง และ กระบวนการทางธรรมชาติมากมาย ความรู้ที่ค้นพบใหม่นี้ ต้องการวิธีการและกระบวนการในการเก็บ บันทึก การจา และเผยแพร่ การใช้งานกราฟิกช่วยจะทาให้ได้ข้อมูลที่สามารถสื่อสารความหมายให้เข้าใจได้ ง่ายและรวดเร็ว และชัดเจนถูกต้อง เพิ่มประสิทธิภาพให้กับการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน 2) ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมากในปัจจุบัน ทาให้เกิด เครื่องมือสาหรับสร้างงานกราฟิกที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถผลิตงานได้ รวดเร็ว มีปริมาณมาก ง่าย ต่อการใช้งาน ราคาถูกลง และเผยแพร่ได้สะดวกกว้างไกล โดยเฉพาะการใช้คอมพิวเตอร์ในงาน กราฟิก และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3) จานวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น และความเป็นโลกไร้พรมแดน ประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น อย่าง รวดเร็ว การคมนาคมที่สามารถเดินทางไปทั่วทุกมุมโลกด้วยเวลาไม่มากนัก และ การสื่อสารที่มีเครือข่าย ครอบคลุมทั่วโลก ทาให้เกิดความจาเป็นต่อการสื่อความหมายทางไกลระหว่างบุคคล และการสื่อ ความหมายกับประชากรกลุ่มใหญ่ในมุมต่าง ๆ ของโลก เพื่อดาเนินการถ่ายทอดความรู้ แลกเปลี่ยน วัฒนธรรม ความร่วมมือทางวิชาการ ธุรกิจ และอื่น ๆ งานกราฟิกจึงเป็นเครื่องผ่อนแรงให้การสื่อ ความหมาย สามารถสื่อสารได้เข้าใจง่ายและถูกต้องในเวลาสั้น 4) ความแตกต่างระว่างบุคคล บุคคลแต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ เช่น ความคิด ความ เข้าใจ ความสามารถ อัตราการเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ และอื่น ๆ ความแตกต่างเหล่านี้ทาให้การสื่อความหมาย ด้วยภาษาพูดและภาษาเขียนในบางครั้งไม่สามารถสร้างความเข้าใจได้ง่ายนัก การใช้งานกราฟิกเข้าช่วยจะ ทาให้ง่ายต่อการสื่อความหมาย เพิ่มประสิทธิภาพของการคิดในบุคคลที่มีความแตกต่างได้เป็นอย่างดี เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม ม.6 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร หน้า 12