SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ชนิดของภาพกราฟิก 
ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์นั้นจะเกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบด้วยสีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั่ง 3 สีมาผสมกันทา ให้เกิดจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมี หลากหลายสีและเมื่อนามาวางต่อกันก็จะเกิดเป็นรูปภาพ 
ภาพพิกเซลที่สามารถใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิดด้วยกัน คือ 
1. ภาพกราฟิกแบบบิตแมป (Bitmap) 
เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการนาจุดสีรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) มาเรียงต่อกันเพื่อ ประกอบขึ้นเป็นภาพคล้ายกับการเรียงกระเบื้องโมเสด โดยแต่ละพิกเซลจะถูกกาหนดตาแหน่งและสีไว้ตายตัว ตัวอย่างของภาพกราฟิกชนิดนี้ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพจากการสแกน และภาพกราฟิกที่สร้างจากโปรแกรมระบายสี ทั่วไป เช่น โปรแกรม Paint เป็นต้น บางครั้งเราจะเรียกภาพกราฟิกชนิดนี้ว่า Raster image 
ภาพแบบบิตแมปนี้ จะเป็นภาพที่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากถูกประกอบขึ้นด้วยจานวนจุดที่คงที่ เพื่อประกอบกันเป็นภาพนั้น ดังนั้นเมื่อมีการขยายภาพ จานวนจุดก็จะยังคงที่เท่าเดิม แต่ขนาดของจุดจะใหญ่ขึ้น ซึ่งจะมีผลให้เสียความคมชัดและเห็นรอยยักชัดเจนขึ้น 
2. ภาพกราฟิกแบบเวคเตอร์ (Vector) 
เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากเส้นตรงและเส้นโค้งที่อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์รวมกับข้อมูลของตาแหน่ง และนามาทาการคานวณให้เกิดเป็นทางเดินของเส้น เรียกว่า เวคเตอร์ (Vector) มาประกอบกันเป็นภาพรูปทรง ของทางเดินของเวคเตอร์ที่ได้จะถูกวาดด้วยจุดไปตามทางเดินนั้น 
ภาพแบบเวคเตอร์นี้ จะเป็นภาพที่ไม่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากเมื่อมีการปรับขนาดของภาพจะใช้ วิธีการคานวณค่าใหม่ แล้ววาดภาพนั้นขึ้นใหม่ตามขนาดใหม่ที่กาหนด จึงยังคงรายละเอียดและความคมชัดของ ภาพไว้ได้ เหมาะสาหรับภาพกราฟิกที่ต้องมีการเปลี่ยนขนาดตามความเหมาะสมเมื่อนาไปใช้งานจริง เช่น โลโก้ บริษัท เป็นต้น

More Related Content

Viewers also liked

Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?
Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?
Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?Carlos Nepomuceno (Nepô)
 
Paket sniffing dengan wireshark
Paket sniffing dengan wiresharkPaket sniffing dengan wireshark
Paket sniffing dengan wiresharkArif Setiawan
 
Fallout nv sound thing
Fallout nv sound thingFallout nv sound thing
Fallout nv sound thingJezzyB
 

Viewers also liked (6)

пирамид
пирамидпирамид
пирамид
 
Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?
Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?
Por que e como revoluções cognitivas geram surtos de inovação?
 
Bulling
BullingBulling
Bulling
 
Paket sniffing dengan wireshark
Paket sniffing dengan wiresharkPaket sniffing dengan wireshark
Paket sniffing dengan wireshark
 
Fallout nv sound thing
Fallout nv sound thingFallout nv sound thing
Fallout nv sound thing
 
Websites to try!
Websites to try!Websites to try!
Websites to try!
 

Similar to 1.6

Still image
Still imageStill image
Still imagejibbie23
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคwattikorn_080
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 

Similar to 1.6 (11)

Still image
Still imageStill image
Still image
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
1.3
1.31.3
1.3
 
1.1
1.11.1
1.1
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

More from wachi_kook (20)

Job4.1
Job4.1Job4.1
Job4.1
 
Job1.2
Job1.2Job1.2
Job1.2
 
Job2.2
Job2.2Job2.2
Job2.2
 
Job2.1
Job2.1Job2.1
Job2.1
 
2.8
2.82.8
2.8
 
2.5
2.52.5
2.5
 
2.2
2.22.2
2.2
 
2.1
2.12.1
2.1
 
6.6
6.66.6
6.6
 
6.5
6.56.5
6.5
 
6.4
6.46.4
6.4
 
6.3
6.36.3
6.3
 
6.2
6.26.2
6.2
 
3.8
3.83.8
3.8
 
3.7
3.73.7
3.7
 
3.6
3.63.6
3.6
 
3.5
3.53.5
3.5
 
3.4
3.43.4
3.4
 
3.3
3.33.3
3.3
 
3.2
3.23.2
3.2
 

1.6

  • 1. ชนิดของภาพกราฟิก ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์นั้นจะเกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่งประกอบด้วยสีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้าให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั่ง 3 สีมาผสมกันทา ให้เกิดจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมี หลากหลายสีและเมื่อนามาวางต่อกันก็จะเกิดเป็นรูปภาพ ภาพพิกเซลที่สามารถใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิดด้วยกัน คือ 1. ภาพกราฟิกแบบบิตแมป (Bitmap) เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการนาจุดสีรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) มาเรียงต่อกันเพื่อ ประกอบขึ้นเป็นภาพคล้ายกับการเรียงกระเบื้องโมเสด โดยแต่ละพิกเซลจะถูกกาหนดตาแหน่งและสีไว้ตายตัว ตัวอย่างของภาพกราฟิกชนิดนี้ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพจากการสแกน และภาพกราฟิกที่สร้างจากโปรแกรมระบายสี ทั่วไป เช่น โปรแกรม Paint เป็นต้น บางครั้งเราจะเรียกภาพกราฟิกชนิดนี้ว่า Raster image ภาพแบบบิตแมปนี้ จะเป็นภาพที่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากถูกประกอบขึ้นด้วยจานวนจุดที่คงที่ เพื่อประกอบกันเป็นภาพนั้น ดังนั้นเมื่อมีการขยายภาพ จานวนจุดก็จะยังคงที่เท่าเดิม แต่ขนาดของจุดจะใหญ่ขึ้น ซึ่งจะมีผลให้เสียความคมชัดและเห็นรอยยักชัดเจนขึ้น 2. ภาพกราฟิกแบบเวคเตอร์ (Vector) เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากเส้นตรงและเส้นโค้งที่อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์รวมกับข้อมูลของตาแหน่ง และนามาทาการคานวณให้เกิดเป็นทางเดินของเส้น เรียกว่า เวคเตอร์ (Vector) มาประกอบกันเป็นภาพรูปทรง ของทางเดินของเวคเตอร์ที่ได้จะถูกวาดด้วยจุดไปตามทางเดินนั้น ภาพแบบเวคเตอร์นี้ จะเป็นภาพที่ไม่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากเมื่อมีการปรับขนาดของภาพจะใช้ วิธีการคานวณค่าใหม่ แล้ววาดภาพนั้นขึ้นใหม่ตามขนาดใหม่ที่กาหนด จึงยังคงรายละเอียดและความคมชัดของ ภาพไว้ได้ เหมาะสาหรับภาพกราฟิกที่ต้องมีการเปลี่ยนขนาดตามความเหมาะสมเมื่อนาไปใช้งานจริง เช่น โลโก้ บริษัท เป็นต้น