SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ใบความรู้หน่วยที่ 1
กราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก
1.1 ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก
1.1.1 ความหมายของกราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาด
เขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) กราฟิกจึงหมายถึงศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อ
ความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถ
สื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
1.1.2 ความหมายคอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือ
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การ
ตกแต่งภาพด้วยการทา Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตาม
จินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้
ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น
1.2 ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก
ปี ค.ศ.1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ รูปภาพที่ได้เป็นภาพที่
เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน
ปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซตส์ (MIT) ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ซึ่งมี
หลอดภาพ CRT (Cathode Ray Tube) เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์
ปี ค.ศ. 1950-1960 มีงานวิจัยเรื่องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ออกมาเป็นจานวนมาก
ซึ่งกลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ เช่น
ในปี ค.ศ. 1963 อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland) พัฒนาระบบการวาดเส้น โดย
ผู้ใช้สามารถกาหนดจุดบนจอภาพโดยใช้ปากกาแสง
จากนั้นระบบจะลากเส้นเชื่อมจุดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน กลายเป็นโครงร่างรูปหลายเหลี่ยม
ระบบนี้กลายเป็นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมในการออกแบบระบบงานต่าง ๆ เช่น การ
ออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร เป็นต้น ปี ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกซ์
(Tectronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าจะต้องการลบ (Storage – Tube CRT) ซึ่ง
ระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้า ซึ่งได้รับความนิยมในช่วงเวลา 5 ปีต่อมา
กลางปี ค.ศ. 1970เป็นช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์มีราคาลดลงมาก ทาให้
ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกมีราคาถูกลง คอมพิวเตอร์กราฟิกจึงเริ่มเป็นที่
แพร่หลายในงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น
1.3 ประเภทของภาพกราฟิก
1.3.1 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด
สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบกราฟิก 2 มิติ (2D Graphics) แบ่งได้
เป็น 3 ประเภทโปรแกรม คือ
1. โปรแกรมการวาดเขียน (Paint and Draw Program)
2. โปรแกรมการออกแบบ (Design Program)
3. โปรแกรมแผนภูมิและกราฟ (Chart/Graph)
1.3.2 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ เช่น
3D max, Maya ทาให้ได้ภาพที่มีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะสาหรับการออกแบบและ
สถาปัตยกรรม เช่น การผลิตรถยนต์ และภาพยนตร์การ์ตูน 3 มิติ
งานกราฟิก 3 มิติ มีบทบาทมากในการนาเสนองานให้มีความสวยงาม เร้าความสนใจ
ทาให้ผู้ดูเสมือนเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์จริง ซึ่งก่อนอื่นจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการ
ออกแบบงานกราฟิก 3 มิติก่อน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบงาน 3 มิติต่อไป
1.4 องค์ประกอบของงานกราฟิก
องค์ประกอบหลัก ๆ ในงานกราฟิกจะแบ่งออกเป็น 8 ชนิดคือ จุด , เส้น , รูปร่างและ
รูปทรง , น้าหนัก , สี , ที่ว่าง , พื้นผิว , และตัวอักษร
1.4.1 จุด (Dot)
เป็นองค์ประกอบที่มีขนาดเล็กไม่มีมิติ จุดเมื่ออยู่ในพื้นที่ว่างจะมีผลต่อความรู้สึกของ
ผู้ดูแล และเมื่อนาจุดมาวางเรียงต่อกันจะกลายเป็นเส้น จุดที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นและค่อย
ๆ กระจายตัวออกไปจะทาให้เกิดน้าหนัก
1.4.2 เส้น (Line)
เป็นสื่อแสดงขอบเขตของภาพ ขอบเขตของรูปร่าง รูปทรง ขนาดและทิศทาง เส้นมี
ลักษณะ 2 อย่าง ได้แก่ เส้นตรงและเส้นโค้ง เส้นตรง เป็นเส้นที่แสดงถึงความสง่า เข็มแข็ง
ความรู้สึกมั่นคงแข็งแรง ได้แก่ เส้นตั้งซึ่งเป็นเส้นที่แสดงถึงความสูง ความมีระเบียบ , เส้นนอน
ซึ่งเป็นเส้นที่แสดงถึงความกว้าง ความสงบ ความนิ่งเฉย , เส้นทแยงที่แสดงความเคลื่อนไหว
หรือการไม่อยู่นิ่งไม่หนักแน่น อันตราย ความเร็วและแสดงทิศทาง และ เส้นหยักที่ให้ความรู้สึก
ตื่นเต้น เคลื่อนไหว แปลกตา ไม่แน่นอน ส่วนเส้นโค้ง จะให้ความรู้สึกอ่อนช้อย นุ่มนวล ร่าเริง
ให้ทิศทางการเคลื่อนไหวที่ละมุนละไม
1.4.3 รูปร่างและรูปทรง (Shape,Form)
เป็นรูปที่เกิดจากการนาเส้นมาประกอบกันเป็นรูป ได้แก่ รูปร่าง ซึ่งเป็นรูปที่มีลักษณะ
2 มิติ มีเนื้อที่มีขอบเขต ส่วน รูปทรง เป็นรูปที่มีลักษณะ 3 มิติ มีปริมาณที่เป็นความหนาหรือ
ความลึก
1.4.4 น้้าหนัก (Value)
เป็นคุณค่าของความอ่อน-แก่ของสีหรือแสงเงาที่นามาใช้ในการแสดงออกทางศิลปะ
ทาให้แลดูมีความกลม มีความตื้นลึก
1.4.5 สี (Color)
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งในการสร้างสรรค์งานศิลปะสีในงานศิลปะจะมีผล
ต่อจิตใจ เช่น สีแดงทาให้รู้สึกตื่นเต้น รุนแรง , สีเหลืองทาให้รู้สึกสนุกสนาน , หรือ สีฟ้าทาให้
รู้สึกสงบ เย็น เป็นต้น
1.4.6 ที่ว่าง (Space)
ในงานศิลปะหมายถึงบริเวณหรือพื้นที่ต่าง ๆ ในงานนั้น ๆ
1.4.7 พื้นผิว (Texture)
คือลักษณะผิวในงานศิลปะที่ให้ความรู้ลึกในการเห็น เช่น ลักษณะหยาบ ขรุขระ ริ้วรอย
เรียบ มันวาว เป็นต้น
1.4.8 ตัวอักษร (Type)
ตัวอักษรเป็นสิ่งสาคัญไม่เป็นรองใคร ในการออกแบบงานงานกราฟิกที่ดี นักออกแบบ
อาจจะใช้เพียงแค่ตัวอักษรและสีเป็นส่วนประกอบเพียงสองอย่าง เพื่อสร้างสรรค์งานที่สามารถ
สื่อความหมายออกมาได้
1.5 ชนิดของภาพกราฟิก
ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์นั้นจะเกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่ง
ประกอบด้วยสีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้า
ให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั่ง 3 สีมาผสมกันทาให้เกิดจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล
(Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสีและเมื่อนามาวาง
ต่อกันก็จะเกิดเป็นรูปภาพ
ภาพพิกเซลที่สามารถใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ด้วยกัน คือ
1.5.1 ภาพกราฟิกแบบบิตแมป (Bitmap)
เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการนาจุดสีรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) มา
เรียงต่อกันเพื่อประกอบขึ้นเป็นภาพคล้ายกับการเรียงกระเบื้องโมเสด โดยแต่ละพิกเซลจะถูก
กาหนดตาแหน่งและสีไว้ตายตัว ตัวอย่างของภาพกราฟิกชนิดนี้ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพจากการ
สแกน และภาพกราฟิกที่สร้างจากโปรแกรมระบายสีทั่วไป เช่น โปรแกรม Paint เป็นต้น
บางครั้งเราจะเรียกภาพกราฟิกชนิดนี้ว่า Raster image ภาพแบบบิตแมปนี้ จะเป็นภาพที่
ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากถูกประกอบขึ้นด้วยจานวนจุดที่คงที่เพื่อประกอบกันเป็นภาพ
นั้น ดังนั้นเมื่อมีการขยายภาพ จานวนจุดก็จะยังคงที่เท่าเดิม แต่ขนาดของจุดจะใหญ่ขึ้น ซึ่ง
จะมีผลให้เสียความคมชัดและเห็นรอยยักชัดเจนขึ้น
1.5.2 ภาพกราฟิกแบบเวคเตอร์ (Vector)
เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากเส้นตรงและเส้นโค้งที่อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์รวมกับ
ข้อมูลของตาแหน่งและนามาทาการคานวณให้เกิดเป็นทางเดินของเส้น เรียกว่า เวคเตอร์
(Vector) มาประกอบกันเป็นภาพรูปทรงของทางเดินของเวคเตอร์ที่ได้จะถูกวาดด้วยจุดไปตาม
ทางเดินนั้น ภาพแบบเวคเตอร์นี้ จะเป็นภาพที่ไม่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากเมื่อมีการ
ปรับขนาดของภาพจะใช้วิธีการคานวณค่าใหม่ แล้ววาดภาพนั้นขึ้นใหม่ตามขนาดใหม่ที่
กาหนด จึงยังคงรายละเอียดและความคมชัดของภาพไว้ได้ เหมาะสาหรับภาพกราฟิกที่ต้องมี
การเปลี่ยนขนาดตามความเหมาะสมเมื่อนาไปใช้งานจริง เช่น โลโก้บริษัท เป็นต้น
1.6 ไฟล์ภาพกราฟิก
1.6.1 ไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster
สกุลที่ใช้เก็บไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster มีหลายสกุล เช่น .BMP .DIB
.JPG .JPEG .JPE .GIF .TIFF .TIF .PCX .MSP . PCD .FPX .IMG .MAC .MSP และ
.TGA เป็นต้น ซึ่งลักษณะของไฟล์ภาพจะแตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น
สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง
.JPG .JPEG .JPE
.GIF
ใช้สาหรับรูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจและ
งานที่มีขีดจากัดด้านหน่วยความจา
Adobe Photoshop
PaintShopPro
Illustrator
สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง
.TIFF .TIF เหมาะสาหรับงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ Adobe Photoshop
.BMP .DIB ไฟล์มาตรฐานของระบบ Windows Paint Paintbrush
.PCX เป็นไฟล์ดั้งเดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพ
แบบบิตแมป ใช้กับภาพทั่วไป
CorelDraw
Illustrator
Paintbrush
1.6.2 ไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Vector
สกุลที่ใช้เก็บไฟล์ภาพกราฟิกแบ Vector มีหลายสกุล เช่น .EPS .WMF .CDR .AI
.CGM .DRW .PLT .DXF .PIC และ .PGL เป็นต้น ซึ่งลักษณะของไฟล์ภาพจะแตกต่างกัน
ไป เช่น
สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง
.AI
.EPS
ใช้สาหรับงานที่ต้องการความละเอียด
ของภาพมาก เช่น การสร้างการ์ตูน
โลโก้ เป็นต้น
Illustrator
.WMF ไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม
Microsoft Office
CorelDraw
1.7 โปรแกรมกราฟิก
ในการทางานด้านกราฟิกโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นที่ต้องอาศัยโปรแกรมที่
สร้างขึ้นมาเพื่อจัดการกับงานกราฟิกโดยเฉพาะ ซึ่งโปรแกรมกราฟิกนี้มีอยู่มากมายหลาย
โปรแกรม แต่ที่เป็นที่นิยมใช้และเป็นที่รู้จักกันดีเห็นจะได้แก่ โปรแกรม Adobe Photoshop
และ Adobe Illustrator ของบริษัท Adobe ซึ่งทั้งสองโปรแกรมนี้ถึงแม้ว่าจะนามาใช้ในงาน
กราฟิกได้เหมือนกัน แต่ก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับงานนั้น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเรามักจะใช้
Adobe Photoshop กับงานกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster ขณะที่ใช้ Adobe Illustrator
กับงานกราฟิกแบบ Vector เป็นต้น
1.8 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในการศึกษา
1.8.1 ใช้เป็นสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (E-Learning)
กล่าวคือ สามารถเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ
ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้
1.8.2 จัดระบบการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้ลักษณะรูปแบบ VDO
Conference
สามารถเรียนรู้จากคนละที่ได้ มีการตอบข้อซักถามอย่างทันท่วงทีได้การประชุมกันโดย
มองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยไม่ต้องมาพบกันจริงๆ โดยการประชุมกัน
นั้นอาจเป็นรูปแบบ การประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานที่ต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการ
สื่อสารและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วย ทาให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่เสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย
อื่นๆ ทาให้ผู้เรียน ไม่ต้องเดินทางเข้ามาที่สถานศึกษา
1.8.3 รูปแบบการเรียนโดยใช้สื่อ CAI หรือ "Computer Aided Instruction" หรือ
บางแหล่งอาจจะใช้ค้าว่า "Computer Assisted Instruction"
โดยมีการใช้คาในภาษาไทยว่า "สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน" เป็นกระบวนการเรียนการ
สอน โดยนาเอาสื่อคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการนาเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการ
เรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ซึ่งก็คือ สามารถโต้ตอบ
ระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์
1.8.4 การสร้างผลงานต่าง ๆ ในแบบวิดีโอ วิดิทัศน์
เพื่อนามาใช้ประกอบในการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น
1.8.5 การฝึกการเรียนรู้ในรูปแบบเกมส์หรือเกมส์ออนไลน์
เป็นการฝึกสร้างทักษะ ฝึกสมองและสติปัญญาให้กับเยาวชน ได้มีการพัฒนาการเรียนรู้
ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น
1.9 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิก
1.9.1 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่าน หรือสแกนข้อมูลหรือภาพถ่าย
บนเอกสารเข้าไปในเครื่อง โดยใช้แสงส่องกระทบวัตถุให้สะท้อนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว
ซึ่งข้อมูลจะถูกแปลงเป็นจุดเล็ก ๆ ในแบบดิจิตอลเข้าไปเก็บในเครื่องพีซี เมื่อต้นกาเนิดแสงและ
ตัวรับแสงเลื่อนไป ภาพที่ได้จะเป็นส่วนต่าง ๆ ของภาพต่อเนื่องกันไปทีละแถวของจุดจนกว่าจะ
สุดภาพ
1.9.2 กล้องดิจิตอล (Digital Camera) เราสามารถถ่ายภาพในรูปแบบดิจิตอล ที่มี
ความละเอียดสูงโดยตรงจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอล ถึง 3-4 ล้านพิกเซลขึ้นไป ซึ่งเหมาะกับ
การใช้งานกราฟิก
1.9.3 จอสัมผัส (Touch Screen) เป็นหน้าจอที่ยอมให้ผู้ใช้นิ้วชี้ที่หน้าจอ เพื่อเลือก
เมนูบนหน้าจอได้ งานที่นิยมใช้หน้าจอแบบทัชสกรีน เช่น เครื่อง ATM ร้านขายยา และ
ซูเปอร์มาร์เก็ต
1.9.4 ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่ทางานด้วยการตรวจจับแสง
บนหน้าจอ CRT ของคอมพิวเตอร์ ใช้ในการคลิกเลือก และวาดบนหน้าจอเหมือนกับการใช้
Touch screen แต่จะทางานด้วยการตรวจจับแสงซึ่งใช้กับจอ CRT เท่านั้น ไม่สามารถทางาน
กับจอ LCD หรือ Projector ได้
1.9.5 กระดานกราฟิก (Graphics Tablet) เป็นอุปกรณ์ที่รองรับการวาดภาพ ซึ่ง
สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง สนับสนุนกับโปรแกรมกราฟิกต่าง ๆ เช่น Adobe
Photoshop , Adobe Illustrator เป็นต้น จึงทาให้เราสามารถวาดภาพ และแก้ไขภาพได้
ซึ่งจะแสดงผลเป็นภาพอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นหน้าจอ TFT เหมือน
เครื่อง Tablet PC ซึ่งเราสามารถวาดภาพอยู่บนหน้าจอแสดงผลได้โดยตรง
1.9.6 เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องพิมพ์ใช้แสดงผลงานลงบนกระดาษได้ทั้งตัวอักษร
และรูปภาพ ปัจจุบันมีให้เลือกหลายแบบเพื่อการนาไปใช้งานต่างกัน ดังนี้
1) เลเซอร์พรินเตอร์ ทางานโดยการยิงลาแสงเลเซอร์เพื่อจัดเรียงผงหมึกให้
เกิดเป็นภาพที่ต้องการ จากนั้นก็ใช้แรงดันและความร้อนผลักให้หมึกจับตัวติดกับเนื้อกระดาษ
ผลลัพธ์จะมีความละเอียดมากที่สุด และมีความเร็วสูงในบรรดาเครื่องพิมพ์ทั้งหมด
เครื่องพิมพ์เลเซอร์มี 2 แบบ คือ ขาว/ดา และสี ซึ่งแบบขาว / ดา จะมีราคาอยู่ที่หมื่นกว่า
บาท นิยมใช้ในงานพิมพ์เอกสารในสานักงาน ส่วนแบบสีจะมีราคาอยู่ที่แสนกว่าบาท ซึ่ง
เหมาะกับงานกราฟิกชั้นสูง
2) อิงก์เจ็ตพรินเตอร์ ใช้หลักการพ่นหมึกผ่านทางท่อพ่นหมึกเล็ก โดยให้
เกิดจุดสีเล็ก ๆ เรียงต่อจนเกิดเป็นภาพ จะมีความละเอียดน้อยกว่าเลเซอร์นิดหน่อย ราคา
เครื่องถูก แต่หมึกแพง และพิมพ์ช้ากว่าเลเซอร์จะเหมาะสาหรับงานสี อาร์ตเวิร์ค สิ่งพิมพ์
และถ่ายสติกเกอร์ หากใช้พิมพ์งานเอกสารสานักงานทั่วไปที่เป็นสีขาวดา ราคาหมึกต่อแผ่นจะ
สู้ใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์ไม่ได้ อีกทั้งความละเอียด และความเร็วน้อยกว่ามาก
3) ดอตเมทริกซ์พรินเตอร์ จะใช้หัวเข็มกระแทกลงบนแผ่นหมึกคาร์บอน
ทาให้เกิดรอยหมึกเป็นข้อความ และภาพ ดอตเมตริกซ์เป็นพรินเตอร์ที่มีความละเอียดต่า ราคา
หมึกถูก ราคาเครื่องปานกลาง แต่พิมพ์ช้าทั้งเสียงดัง ปัจจุบันเห็นจะมีแต่ประโยชน์ด้านทา
กระดาษไขสาหรับงานโรเนียวเอกสาร และการพิมพ์โดยซ้อนกระดาษ Carbon ได้เท่านั้น
4) พล็อตเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วาดภาพบนกระดาษโดยการรับคาสั่งจาก
เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานแตกต่างจากพริ้นเตอร์ตรงที่พล็อตเตอร์จะวาดภาพโดยการ
วาดเป็นเส้นด้วยปากกามาต่อกันเป็นภาพ และเปลี่ยนสีโดยใช้ปากกาแต่ละสีวาดผสมกัน ส่วน
เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ลงมาเป็นจุดสีคละกันให้เรามองดูเกิดเป็นภาพ เราจะใช้พล็อตเตอร์ในการ
วาดแบบอาคาร หรือแบบทางวิศวกรรม ที่ถูกสร้างด้วยโปรแกรมออกแบบต่าง ๆ

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3arachaporn
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนNimanong Nim
 
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++Wachi Kook
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคwattikorn_080
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพเทวัญ ภูพานทอง
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกschool
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 2
แบบทดสอบหลังเรียน 2แบบทดสอบหลังเรียน 2
แบบทดสอบหลังเรียน 2Wachi Kook
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์A'Aea Eykol
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7juice1414
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1Bee Saruta
 

What's hot (15)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
 
ประเภท
ประเภทประเภท
ประเภท
 
ประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิคประเภทของภาพกราฟฟิค
ประเภทของภาพกราฟฟิค
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Job1.3
Job1.3Job1.3
Job1.3
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2แบบทดสอบก่อนเรียน 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
 
แบบทดสอบหลังเรียน 2
แบบทดสอบหลังเรียน 2แบบทดสอบหลังเรียน 2
แบบทดสอบหลังเรียน 2
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1ใบความรู้หน่วยที่ 1
ใบความรู้หน่วยที่ 1
 
ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1ใบงานที่ 1.1
ใบงานที่ 1.1
 

Viewers also liked

ใบงานที่ 4.2
ใบงานที่ 4.2ใบงานที่ 4.2
ใบงานที่ 4.2Wachi Kook
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2Wachi Kook
 
ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1Wachi Kook
 
ใบงานที่ 3.3
ใบงานที่ 3.3ใบงานที่ 3.3
ใบงานที่ 3.3Wachi Kook
 
ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3Wachi Kook
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2Wachi Kook
 
ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 1แบบทดสอบก่อนเรียน 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 1Wachi Kook
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashprawit trakoonvidthayanan
 

Viewers also liked (20)

ใบงานที่ 4.2
ใบงานที่ 4.2ใบงานที่ 4.2
ใบงานที่ 4.2
 
Job4.1
Job4.1Job4.1
Job4.1
 
Job5.2
Job5.2Job5.2
Job5.2
 
Job6.2
Job6.2Job6.2
Job6.2
 
Job6.3
Job6.3Job6.3
Job6.3
 
Job6.1
Job6.1Job6.1
Job6.1
 
Job5.1
Job5.1Job5.1
Job5.1
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2
 
ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1
 
ใบงานที่ 3.3
ใบงานที่ 3.3ใบงานที่ 3.3
ใบงานที่ 3.3
 
Job7.1
Job7.1Job7.1
Job7.1
 
Job7.2
Job7.2Job7.2
Job7.2
 
Job2.1
Job2.1Job2.1
Job2.1
 
ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2
 
ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 1แบบทดสอบก่อนเรียน 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
 
2.6new
2.6new2.6new
2.6new
 
Job1.2
Job1.2Job1.2
Job1.2
 
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flashคู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
คู่มือการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Flash
 

Similar to 1.1

ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกคีตะบลู รักคำภีร์
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกอ้าย ปุ้ย
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกvorravan
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2kroopoom ponritti
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกBee Saruta
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Still image
Still imageStill image
Still imagejibbie23
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก Pa'rig Prig
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxssuserfddc3e
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์watcharawittaya school
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 

Similar to 1.1 (20)

ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิกคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2คอมพิวเตอร์กราฟิก2
คอมพิวเตอร์กราฟิก2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Still image
Still imageStill image
Still image
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
creating_computer3.pptx
creating_computer3.pptxcreating_computer3.pptx
creating_computer3.pptx
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
Job1
Job1Job1
Job1
 
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
หน่วยที่ 1 กราฟิกกับการสร้างสรรค์
 
Photoshop cs2
Photoshop cs2Photoshop cs2
Photoshop cs2
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
1.6
1.61.6
1.6
 

More from Wachi Kook

ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1Wachi Kook
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 3++
แบบทดสอบหลังเรียน 3++แบบทดสอบหลังเรียน 3++
แบบทดสอบหลังเรียน 3++Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 3แบบทดสอบก่อนเรียน 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 3Wachi Kook
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 4
แบบทดสอบหลังเรียน 4แบบทดสอบหลังเรียน 4
แบบทดสอบหลังเรียน 4Wachi Kook
 

More from Wachi Kook (17)

ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.2
2.22.2
2.2
 
2.2
2.22.2
2.2
 
Job1.2
Job1.2Job1.2
Job1.2
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
 
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
 
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
 
แบบทดสอบหลังเรียน 3++
แบบทดสอบหลังเรียน 3++แบบทดสอบหลังเรียน 3++
แบบทดสอบหลังเรียน 3++
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 3แบบทดสอบก่อนเรียน 3
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1
 
แบบทดสอบหลังเรียน 4
แบบทดสอบหลังเรียน 4แบบทดสอบหลังเรียน 4
แบบทดสอบหลังเรียน 4
 

1.1

  • 1. ใบความรู้หน่วยที่ 1 กราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก 1.1 ความหมายของกราฟิกและคอมพิวเตอร์กราฟิก 1.1.1 ความหมายของกราฟิก (Graphic) มาจากภาษากรีก ซึ่งหมายถึง การวาด เขียน (Graphikos) และการเขียน (Graphein) กราฟิกจึงหมายถึงศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้สื่อ ความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถ สื่อความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ 1.1.2 ความหมายคอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การสร้าง การตกแต่งแก้ไข หรือ การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการจัดการ ยกตัวอย่างเช่น การ ตกแต่งภาพด้วยการทา Image Retouching ภาพคนแก่ให้มีวัยที่เด็กขึ้น การสร้างภาพตาม จินตนาการ และการใช้ภาพกราฟิกในการนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายได้ ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการและน่าสนใจยิ่งขึ้นด้วยกราฟ แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น 1.2 ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก ปี ค.ศ.1940 คอมพิวเตอร์จะแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ รูปภาพที่ได้เป็นภาพที่ เกิดจากการใช้ตัวอักษรมาประกอบกัน ปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาซูเซตส์ (MIT) ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ซึ่งมี หลอดภาพ CRT (Cathode Ray Tube) เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ ปี ค.ศ. 1950-1960 มีงานวิจัยเรื่องเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ออกมาเป็นจานวนมาก ซึ่งกลายเป็นต้นแบบของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกสมัยใหม่ เช่น ในปี ค.ศ. 1963 อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland) พัฒนาระบบการวาดเส้น โดย ผู้ใช้สามารถกาหนดจุดบนจอภาพโดยใช้ปากกาแสง จากนั้นระบบจะลากเส้นเชื่อมจุดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน กลายเป็นโครงร่างรูปหลายเหลี่ยม ระบบนี้กลายเป็นหลักการพื้นฐานของโปรแกรมในการออกแบบระบบงานต่าง ๆ เช่น การ ออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร เป็นต้น ปี ค.ศ. 1968 บริษัท เทคโทรนิกซ์ (Tectronix) ได้ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าจะต้องการลบ (Storage – Tube CRT) ซึ่ง ระบบนี้ไม่ต้องการหน่วยความจาและระบบการวาดซ้า ซึ่งได้รับความนิยมในช่วงเวลา 5 ปีต่อมา
  • 2. กลางปี ค.ศ. 1970เป็นช่วงเวลาที่อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์มีราคาลดลงมาก ทาให้ ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกมีราคาถูกลง คอมพิวเตอร์กราฟิกจึงเริ่มเป็นที่ แพร่หลายในงานด้านต่าง ๆ มากขึ้น 1.3 ประเภทของภาพกราฟิก 1.3.1 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด สัญลักษณ์ การ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ เช่น ชินจัง โดเรม่อน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบกราฟิก 2 มิติ (2D Graphics) แบ่งได้ เป็น 3 ประเภทโปรแกรม คือ 1. โปรแกรมการวาดเขียน (Paint and Draw Program) 2. โปรแกรมการออกแบบ (Design Program) 3. โปรแกรมแผนภูมิและกราฟ (Chart/Graph) 1.3.2 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติ เช่น 3D max, Maya ทาให้ได้ภาพที่มีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะสาหรับการออกแบบและ สถาปัตยกรรม เช่น การผลิตรถยนต์ และภาพยนตร์การ์ตูน 3 มิติ งานกราฟิก 3 มิติ มีบทบาทมากในการนาเสนองานให้มีความสวยงาม เร้าความสนใจ ทาให้ผู้ดูเสมือนเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์จริง ซึ่งก่อนอื่นจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการ ออกแบบงานกราฟิก 3 มิติก่อน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบงาน 3 มิติต่อไป 1.4 องค์ประกอบของงานกราฟิก องค์ประกอบหลัก ๆ ในงานกราฟิกจะแบ่งออกเป็น 8 ชนิดคือ จุด , เส้น , รูปร่างและ รูปทรง , น้าหนัก , สี , ที่ว่าง , พื้นผิว , และตัวอักษร 1.4.1 จุด (Dot) เป็นองค์ประกอบที่มีขนาดเล็กไม่มีมิติ จุดเมื่ออยู่ในพื้นที่ว่างจะมีผลต่อความรู้สึกของ ผู้ดูแล และเมื่อนาจุดมาวางเรียงต่อกันจะกลายเป็นเส้น จุดที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นและค่อย ๆ กระจายตัวออกไปจะทาให้เกิดน้าหนัก 1.4.2 เส้น (Line) เป็นสื่อแสดงขอบเขตของภาพ ขอบเขตของรูปร่าง รูปทรง ขนาดและทิศทาง เส้นมี ลักษณะ 2 อย่าง ได้แก่ เส้นตรงและเส้นโค้ง เส้นตรง เป็นเส้นที่แสดงถึงความสง่า เข็มแข็ง ความรู้สึกมั่นคงแข็งแรง ได้แก่ เส้นตั้งซึ่งเป็นเส้นที่แสดงถึงความสูง ความมีระเบียบ , เส้นนอน ซึ่งเป็นเส้นที่แสดงถึงความกว้าง ความสงบ ความนิ่งเฉย , เส้นทแยงที่แสดงความเคลื่อนไหว หรือการไม่อยู่นิ่งไม่หนักแน่น อันตราย ความเร็วและแสดงทิศทาง และ เส้นหยักที่ให้ความรู้สึก
  • 3. ตื่นเต้น เคลื่อนไหว แปลกตา ไม่แน่นอน ส่วนเส้นโค้ง จะให้ความรู้สึกอ่อนช้อย นุ่มนวล ร่าเริง ให้ทิศทางการเคลื่อนไหวที่ละมุนละไม 1.4.3 รูปร่างและรูปทรง (Shape,Form) เป็นรูปที่เกิดจากการนาเส้นมาประกอบกันเป็นรูป ได้แก่ รูปร่าง ซึ่งเป็นรูปที่มีลักษณะ 2 มิติ มีเนื้อที่มีขอบเขต ส่วน รูปทรง เป็นรูปที่มีลักษณะ 3 มิติ มีปริมาณที่เป็นความหนาหรือ ความลึก 1.4.4 น้้าหนัก (Value) เป็นคุณค่าของความอ่อน-แก่ของสีหรือแสงเงาที่นามาใช้ในการแสดงออกทางศิลปะ ทาให้แลดูมีความกลม มีความตื้นลึก 1.4.5 สี (Color) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งในการสร้างสรรค์งานศิลปะสีในงานศิลปะจะมีผล ต่อจิตใจ เช่น สีแดงทาให้รู้สึกตื่นเต้น รุนแรง , สีเหลืองทาให้รู้สึกสนุกสนาน , หรือ สีฟ้าทาให้ รู้สึกสงบ เย็น เป็นต้น 1.4.6 ที่ว่าง (Space) ในงานศิลปะหมายถึงบริเวณหรือพื้นที่ต่าง ๆ ในงานนั้น ๆ 1.4.7 พื้นผิว (Texture) คือลักษณะผิวในงานศิลปะที่ให้ความรู้ลึกในการเห็น เช่น ลักษณะหยาบ ขรุขระ ริ้วรอย เรียบ มันวาว เป็นต้น 1.4.8 ตัวอักษร (Type) ตัวอักษรเป็นสิ่งสาคัญไม่เป็นรองใคร ในการออกแบบงานงานกราฟิกที่ดี นักออกแบบ อาจจะใช้เพียงแค่ตัวอักษรและสีเป็นส่วนประกอบเพียงสองอย่าง เพื่อสร้างสรรค์งานที่สามารถ สื่อความหมายออกมาได้ 1.5 ชนิดของภาพกราฟิก ภาพที่เกิดบนจอคอมพิวเตอร์นั้นจะเกิดจากการทางานของโหมดสี RGB ซึ่ง ประกอบด้วยสีแดง (Red) สีเขียว (Green) และสีน้าเงิน (Blue) โดยใช้หลักการยิงประจุไฟฟ้า ให้เกิดการเปล่งแสงของสีทั่ง 3 สีมาผสมกันทาให้เกิดจุดสีสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) ซึ่งมาจากคาว่า Picture กับ Element โดยพิกเซลจะมีหลากหลายสีและเมื่อนามาวาง ต่อกันก็จะเกิดเป็นรูปภาพ
  • 4. ภาพพิกเซลที่สามารถใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก จะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ด้วยกัน คือ 1.5.1 ภาพกราฟิกแบบบิตแมป (Bitmap) เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากการนาจุดสีรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ที่เรียกว่า พิกเซล (Pixel) มา เรียงต่อกันเพื่อประกอบขึ้นเป็นภาพคล้ายกับการเรียงกระเบื้องโมเสด โดยแต่ละพิกเซลจะถูก กาหนดตาแหน่งและสีไว้ตายตัว ตัวอย่างของภาพกราฟิกชนิดนี้ได้แก่ ภาพถ่าย ภาพจากการ สแกน และภาพกราฟิกที่สร้างจากโปรแกรมระบายสีทั่วไป เช่น โปรแกรม Paint เป็นต้น บางครั้งเราจะเรียกภาพกราฟิกชนิดนี้ว่า Raster image ภาพแบบบิตแมปนี้ จะเป็นภาพที่ ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากถูกประกอบขึ้นด้วยจานวนจุดที่คงที่เพื่อประกอบกันเป็นภาพ นั้น ดังนั้นเมื่อมีการขยายภาพ จานวนจุดก็จะยังคงที่เท่าเดิม แต่ขนาดของจุดจะใหญ่ขึ้น ซึ่ง จะมีผลให้เสียความคมชัดและเห็นรอยยักชัดเจนขึ้น 1.5.2 ภาพกราฟิกแบบเวคเตอร์ (Vector) เป็นภาพกราฟิกที่เกิดจากเส้นตรงและเส้นโค้งที่อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์รวมกับ ข้อมูลของตาแหน่งและนามาทาการคานวณให้เกิดเป็นทางเดินของเส้น เรียกว่า เวคเตอร์ (Vector) มาประกอบกันเป็นภาพรูปทรงของทางเดินของเวคเตอร์ที่ได้จะถูกวาดด้วยจุดไปตาม ทางเดินนั้น ภาพแบบเวคเตอร์นี้ จะเป็นภาพที่ไม่ขึ้นอยู่กับความละเอียด เนื่องจากเมื่อมีการ ปรับขนาดของภาพจะใช้วิธีการคานวณค่าใหม่ แล้ววาดภาพนั้นขึ้นใหม่ตามขนาดใหม่ที่ กาหนด จึงยังคงรายละเอียดและความคมชัดของภาพไว้ได้ เหมาะสาหรับภาพกราฟิกที่ต้องมี การเปลี่ยนขนาดตามความเหมาะสมเมื่อนาไปใช้งานจริง เช่น โลโก้บริษัท เป็นต้น 1.6 ไฟล์ภาพกราฟิก 1.6.1 ไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster สกุลที่ใช้เก็บไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster มีหลายสกุล เช่น .BMP .DIB .JPG .JPEG .JPE .GIF .TIFF .TIF .PCX .MSP . PCD .FPX .IMG .MAC .MSP และ .TGA เป็นต้น ซึ่งลักษณะของไฟล์ภาพจะแตกต่างกันไป ตัวอย่างเช่น สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง .JPG .JPEG .JPE .GIF ใช้สาหรับรูปภาพทั่วไป งานเว็บเพจและ งานที่มีขีดจากัดด้านหน่วยความจา Adobe Photoshop PaintShopPro Illustrator
  • 5. สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง .TIFF .TIF เหมาะสาหรับงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ Adobe Photoshop .BMP .DIB ไฟล์มาตรฐานของระบบ Windows Paint Paintbrush .PCX เป็นไฟล์ดั้งเดิมของโปรแกรมแก้ไขภาพ แบบบิตแมป ใช้กับภาพทั่วไป CorelDraw Illustrator Paintbrush 1.6.2 ไฟล์ภาพกราฟิกแบบ Vector สกุลที่ใช้เก็บไฟล์ภาพกราฟิกแบ Vector มีหลายสกุล เช่น .EPS .WMF .CDR .AI .CGM .DRW .PLT .DXF .PIC และ .PGL เป็นต้น ซึ่งลักษณะของไฟล์ภาพจะแตกต่างกัน ไป เช่น สกุลของไฟล์ที่ใช้เก็บ ลักษณะงาน โปรแกรมที่ใช้สร้าง .AI .EPS ใช้สาหรับงานที่ต้องการความละเอียด ของภาพมาก เช่น การสร้างการ์ตูน โลโก้ เป็นต้น Illustrator .WMF ไฟล์มาตรฐานของโปรแกรม Microsoft Office CorelDraw 1.7 โปรแกรมกราฟิก ในการทางานด้านกราฟิกโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นที่ต้องอาศัยโปรแกรมที่ สร้างขึ้นมาเพื่อจัดการกับงานกราฟิกโดยเฉพาะ ซึ่งโปรแกรมกราฟิกนี้มีอยู่มากมายหลาย โปรแกรม แต่ที่เป็นที่นิยมใช้และเป็นที่รู้จักกันดีเห็นจะได้แก่ โปรแกรม Adobe Photoshop และ Adobe Illustrator ของบริษัท Adobe ซึ่งทั้งสองโปรแกรมนี้ถึงแม้ว่าจะนามาใช้ในงาน กราฟิกได้เหมือนกัน แต่ก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมกับงานนั้น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเรามักจะใช้ Adobe Photoshop กับงานกราฟิกแบบ Bitmap หรือ Raster ขณะที่ใช้ Adobe Illustrator กับงานกราฟิกแบบ Vector เป็นต้น
  • 6. 1.8 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในการศึกษา 1.8.1 ใช้เป็นสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (E-Learning) กล่าวคือ สามารถเรียนในลักษณะใดก็ได้ ซึ่งใช้การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ 1.8.2 จัดระบบการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้ลักษณะรูปแบบ VDO Conference สามารถเรียนรู้จากคนละที่ได้ มีการตอบข้อซักถามอย่างทันท่วงทีได้การประชุมกันโดย มองเห็นกันด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยไม่ต้องมาพบกันจริงๆ โดยการประชุมกัน นั้นอาจเป็นรูปแบบ การประชุมกันของกลุ่มบุคคลในสถานที่ต่างๆ โดยใช้อุปกรณ์ด้านการ สื่อสารและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วย ทาให้ไม่ต้องเดินทาง ไม่เสียเวลา ไม่เสียค่าใช้จ่าย อื่นๆ ทาให้ผู้เรียน ไม่ต้องเดินทางเข้ามาที่สถานศึกษา 1.8.3 รูปแบบการเรียนโดยใช้สื่อ CAI หรือ "Computer Aided Instruction" หรือ บางแหล่งอาจจะใช้ค้าว่า "Computer Assisted Instruction" โดยมีการใช้คาในภาษาไทยว่า "สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน" เป็นกระบวนการเรียนการ สอน โดยนาเอาสื่อคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการนาเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการ เรียนโดยตรง และเป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ซึ่งก็คือ สามารถโต้ตอบ ระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ 1.8.4 การสร้างผลงานต่าง ๆ ในแบบวิดีโอ วิดิทัศน์ เพื่อนามาใช้ประกอบในการเรียนการสอนวิชาต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น 1.8.5 การฝึกการเรียนรู้ในรูปแบบเกมส์หรือเกมส์ออนไลน์ เป็นการฝึกสร้างทักษะ ฝึกสมองและสติปัญญาให้กับเยาวชน ได้มีการพัฒนาการเรียนรู้ ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น 1.9 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานกราฟิก 1.9.1 สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่าน หรือสแกนข้อมูลหรือภาพถ่าย บนเอกสารเข้าไปในเครื่อง โดยใช้แสงส่องกระทบวัตถุให้สะท้อนไปตกบนตัวรับแสงทีละแถว ซึ่งข้อมูลจะถูกแปลงเป็นจุดเล็ก ๆ ในแบบดิจิตอลเข้าไปเก็บในเครื่องพีซี เมื่อต้นกาเนิดแสงและ ตัวรับแสงเลื่อนไป ภาพที่ได้จะเป็นส่วนต่าง ๆ ของภาพต่อเนื่องกันไปทีละแถวของจุดจนกว่าจะ สุดภาพ
  • 7. 1.9.2 กล้องดิจิตอล (Digital Camera) เราสามารถถ่ายภาพในรูปแบบดิจิตอล ที่มี ความละเอียดสูงโดยตรงจากกล้องถ่ายภาพดิจิตอล ถึง 3-4 ล้านพิกเซลขึ้นไป ซึ่งเหมาะกับ การใช้งานกราฟิก 1.9.3 จอสัมผัส (Touch Screen) เป็นหน้าจอที่ยอมให้ผู้ใช้นิ้วชี้ที่หน้าจอ เพื่อเลือก เมนูบนหน้าจอได้ งานที่นิยมใช้หน้าจอแบบทัชสกรีน เช่น เครื่อง ATM ร้านขายยา และ ซูเปอร์มาร์เก็ต 1.9.4 ปากกาแสง (Light Pen) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่ทางานด้วยการตรวจจับแสง บนหน้าจอ CRT ของคอมพิวเตอร์ ใช้ในการคลิกเลือก และวาดบนหน้าจอเหมือนกับการใช้ Touch screen แต่จะทางานด้วยการตรวจจับแสงซึ่งใช้กับจอ CRT เท่านั้น ไม่สามารถทางาน กับจอ LCD หรือ Projector ได้ 1.9.5 กระดานกราฟิก (Graphics Tablet) เป็นอุปกรณ์ที่รองรับการวาดภาพ ซึ่ง สามารถทางานกับคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง สนับสนุนกับโปรแกรมกราฟิกต่าง ๆ เช่น Adobe Photoshop , Adobe Illustrator เป็นต้น จึงทาให้เราสามารถวาดภาพ และแก้ไขภาพได้ ซึ่งจะแสดงผลเป็นภาพอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้พัฒนาเป็นหน้าจอ TFT เหมือน เครื่อง Tablet PC ซึ่งเราสามารถวาดภาพอยู่บนหน้าจอแสดงผลได้โดยตรง 1.9.6 เครื่องพิมพ์ (Printer) เครื่องพิมพ์ใช้แสดงผลงานลงบนกระดาษได้ทั้งตัวอักษร และรูปภาพ ปัจจุบันมีให้เลือกหลายแบบเพื่อการนาไปใช้งานต่างกัน ดังนี้ 1) เลเซอร์พรินเตอร์ ทางานโดยการยิงลาแสงเลเซอร์เพื่อจัดเรียงผงหมึกให้ เกิดเป็นภาพที่ต้องการ จากนั้นก็ใช้แรงดันและความร้อนผลักให้หมึกจับตัวติดกับเนื้อกระดาษ ผลลัพธ์จะมีความละเอียดมากที่สุด และมีความเร็วสูงในบรรดาเครื่องพิมพ์ทั้งหมด เครื่องพิมพ์เลเซอร์มี 2 แบบ คือ ขาว/ดา และสี ซึ่งแบบขาว / ดา จะมีราคาอยู่ที่หมื่นกว่า บาท นิยมใช้ในงานพิมพ์เอกสารในสานักงาน ส่วนแบบสีจะมีราคาอยู่ที่แสนกว่าบาท ซึ่ง เหมาะกับงานกราฟิกชั้นสูง 2) อิงก์เจ็ตพรินเตอร์ ใช้หลักการพ่นหมึกผ่านทางท่อพ่นหมึกเล็ก โดยให้ เกิดจุดสีเล็ก ๆ เรียงต่อจนเกิดเป็นภาพ จะมีความละเอียดน้อยกว่าเลเซอร์นิดหน่อย ราคา เครื่องถูก แต่หมึกแพง และพิมพ์ช้ากว่าเลเซอร์จะเหมาะสาหรับงานสี อาร์ตเวิร์ค สิ่งพิมพ์ และถ่ายสติกเกอร์ หากใช้พิมพ์งานเอกสารสานักงานทั่วไปที่เป็นสีขาวดา ราคาหมึกต่อแผ่นจะ สู้ใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์ไม่ได้ อีกทั้งความละเอียด และความเร็วน้อยกว่ามาก 3) ดอตเมทริกซ์พรินเตอร์ จะใช้หัวเข็มกระแทกลงบนแผ่นหมึกคาร์บอน ทาให้เกิดรอยหมึกเป็นข้อความ และภาพ ดอตเมตริกซ์เป็นพรินเตอร์ที่มีความละเอียดต่า ราคา
  • 8. หมึกถูก ราคาเครื่องปานกลาง แต่พิมพ์ช้าทั้งเสียงดัง ปัจจุบันเห็นจะมีแต่ประโยชน์ด้านทา กระดาษไขสาหรับงานโรเนียวเอกสาร และการพิมพ์โดยซ้อนกระดาษ Carbon ได้เท่านั้น 4) พล็อตเตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วาดภาพบนกระดาษโดยการรับคาสั่งจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่จะทางานแตกต่างจากพริ้นเตอร์ตรงที่พล็อตเตอร์จะวาดภาพโดยการ วาดเป็นเส้นด้วยปากกามาต่อกันเป็นภาพ และเปลี่ยนสีโดยใช้ปากกาแต่ละสีวาดผสมกัน ส่วน เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ลงมาเป็นจุดสีคละกันให้เรามองดูเกิดเป็นภาพ เราจะใช้พล็อตเตอร์ในการ วาดแบบอาคาร หรือแบบทางวิศวกรรม ที่ถูกสร้างด้วยโปรแกรมออกแบบต่าง ๆ