SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
อุทกวิทยา (Hydrology)
                การระเหยและการคายนํา
                                   ้
         (EVAPORATION AND TRANSPRIRATION)




                       ี
              การสูญเสยทางอุทกวิทยา
             (Hydrologic Abstractions)
          ่  ั
 เป็ นทีแน่ชดว่า ปริมาณนํ้ าจากอากาศ หรือ นํ้ าฝน เมือตก
                                                      ่
      ่พนโลกแล ้ว จะไหลบ่าลงสูทตําและกลายเป็ นปริมาณ
ลงสู ื้                        ่ ี่ ่
นํ้ าท่าไหลในแม่นํ้า

                    ่      ่ ื้
 แต่ปริมาณนํ้ าฝนทีตกลงสูพนโลกทังหมด อาจไม่สามารถ
                                     ้
เปลียนแปลงเป็ นปริมาณนํ้ าท่าได ้ 100%
    ่

 กระบวนการทีทําให ้เกิดการสูญหายไปของนํ้ าฝนก่อน
               ่
                                          ี
เหลือกลายเป็ นปริมาณนํ้ าท่า คือ “การสูญเสยทางอุทก
วิทยา”


หน้า 2




                                                            1
Hydrologic Abstractions
             Rainfall




                               Abstracted




                                                                Runoff
หน้า 3




                            ี
                   การสูญเสยทางอุทกวิทยา
                  (Hydrologic Abstractions)
 ปริมาณการสูญเสยทางอุทกวิทยาทีสําคัญประกอบด ้วย
                ี              ่
         •   การดักของพืช (Interception)
         •   การขังตามหลุม บ่อ หรือทีลมพืนที่ (Surface storage or
                                      ่ ุ่ ้
             depression storage)
         •        ึ
             การซมผ่านผิวดิน (Infiltration)
         •   การระเหย (Evaporation)
         •   การคายระเหย (Evapotraspiration)

 ปริมาณนํ้ าฝนทังหมดทีตก เมือหักปริมาณการสูญเสย
                    ้     ่    ่                   ี
                      ่                         ึ่
เรียกว่าปริมาณนํ้ าฝนสวนเกิน (Rainfall excess) ซงจะมีผล
ต่อการเกิดปริมาณนํ้ าท่าต่อไป


หน้า 4




                                                                         2
การด ักของพืช
         (Interception)




หน้า 5




               การข ังตามหลุมตามบ่อ
              (Depression storage)




หน้า 6




                                      3
ึ
         การซมผ่านผิวดิน (Infiltration)
 ปริมาณนํ้ าฝนเมือตก่
    ่ ื้
ลงสูพนดินแล ้ว นํ้ า
      ่
บางสวนจะสูญเสยไปี
         ึ
จากการซมลงไปในดิน

 Infiltration คือ การ
 ึ
ซมผ่านผิวดินของนํ้ าลง
ไปในดิน




หน้า 7




                             ้
             องค์ประกอบของเนือหา
 การระเหย (evaporation)
 การคายนํ้ า (transpiration)
 การคายนํ้ ารวมการระเหย (evapotranspiration)




หน้า 8




                                                4
การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา
                                          ้




                    2


                                             4
                                                                 5

          1                         3

หน้า 9




                  การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา
                                          ้
 ในวัฏจักรของนํ้ า การระเหยสามารถเกิดขึนได ้ตลอดเวลา
                                        ้
                                   ่
ในทุกกระบวนการของวัฏจักรของนํ้ า เชน
          •   การระเหยทีเกิดขึนขณะทีนํ้าจากอากาศกําลังตกลงสูพนโลก
                        ่     ้         ่                            ่ ื้
          •   การระเหยจากทะเลมหาสมุทร
          •   การระเหยจากนํ้ าทีค ้างหรือเก็บกักด ้วยต ้นไม ้ใบหญ ้า
                                ่
          •   การระเหยจากแหล่งนํ้ าจืด
          •   การระเหยจากดิน
          •   การระเหยจากการคายนํ้ าของพืช




หน้า 10




                                                                            5
การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา
                                          ้
          ึ                                      ึ
 ในการศกษาด ้านอุทกวิทยา มีความจําเป็ นต ้องศกษาการ
        ่                       ้     ่
ระเหยเพือนํ าไปวิเคราะห์ปริมาณนําฝนสวนเกินทีจะตกลง
                                               ่
     ้
บนพืนโลก ทีสามารถทําให ้เกิดปริมาณนํ้ าท่าได ้
              ่

                    ้
 นักอุทกวิทยาใชข ้อมูลปริมาณนํ้ าฝนทีวัดได ้จากสถานีวด
                                       ่              ั
                                ่
นํ้ าฝนไปวิเคราะห์ปริมาณนํ้ าฝนสวนเกิน

  อย่างไรก็ตามการวัดนํ้ าฝนจะวัดเหนือ
 พืนดินเพียงตามระยะของเครืองมือ (ไม่ก ี่
   ้                        ่
 ฟุต)


หน้า 11




                  การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา
                                          ้
 ดังนั นปริมาณการระเหยในทางอุทวิทยาจึงพิจารณาเฉพาะ
        ้
                 ่                           ้     ึ่
ปริมาณการระเหยทีเกิดระหว่างสถานีตรวจวัด ถึงพืนดิน ซง
ครอบคลุมการระเหยต่อไปนี:้
          •   การระเหยจากนํ้ าทีค ้างหรือเก็บกักด ้วยต ้นไม ้ใบหญ ้า
                                ่
          •   การระเหยจากพืนดิน
                             ้
          •   การคายระเหยและการคายนํ้ าของพืช
          •                             ่
              การระเหยจากผิวนํ้ าจืด เชน หนองนํ้ า บึง และอ่างเก็บนํ้ า
 การระเหยต่อไปนีจะไม่นํามาพิจารณา
                 ้
          •                            ึ่
              การระเหยโดยตรงจากเม็ดฝน ซงเกิดขึนขณะทีนํ้าจากอากาศ
                                              ้     ่
                          ่ ื้
              กําลังตกลงสูพนโลก
          •   การระเหยจากทะเลมหาสมุทร


หน้า 12




                                                                          6
การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา
                                          ้
                        ้
 นอกจากการระเหยจะใชในการวิเคราะห์ปริมาณนํ้ าฝน
 ่
สวนเกินเพือประเมินปริมาณนํ้ าท่าแล ้ว
          ่
          •   บางครังปริมาณการระเหยของนํ้ าจะเป็ นแฟคเตอร์ทสําคัญในการ
                     ้                                       ี่
                   ิ
              ตัดสนใจเกียวกับการออกแบบอ่างเก็บนํ้ าในพืนทีทรกันดารหรือ
                          ่                            ้ ่ ุ
              แห ้งแล ้ง (arid region)

          •   การระเหยและการคายนํ้ า (การคายระเหย) จะเป็ นดรรชนีบอกถึง
                      ่                      ื้
              การเปลียนแปลงหรือการลดความชนในลุมนํ้ า และเป็ นแฟคเตอร์
                                                 ่
              ทีสําคัญทีใชในการคํานวณความต ้องการนํ้ าของพืชทีปลูกใน
                ่       ่ ้                                   ่
              โครงการชลประทานต่าง ๆ




หน้า 13




                  การระเหย (Evaporation)

 กระบวนการระเหย
คือ การทีนํ้าในสถานะ
         ่
ของเหลวเปลียน ่
สถานะกลายเป็ นไอนํ้ า
(water vapor)


 ทางด ้านอุทกวิทยานั นการระเหยหมายถึง อ ัตราการ
                      ้
เปลียนแปลงปริมาณไอนําหรือโมเลกุลของนําสุทธิไปสู่
    ่                   ้               ้
บรรยากาศ


หน้า 14




                                                                         7
การระเหย (Evaporation)
 ในสภาพธรรมชาติ บริเวณผิวนํ้ า
กับบรรยากาศนันจะมีการ
             ้
แลกเปลียนโมเลกุลของนํ้ า
       ่
ตลอดเวลา
          •    มีทงการระเหย (โมเลกุลของ
                     ั้
                             ่
               นํ้ าหลุดออกสูบรรยากาศ)
          •    และการกลันตัว (โมเลกุลของ
                          ่
                                        ่ ิ
               นํ้ าจากบรรยากาศกลับคืนสูผว
               นํ้ า)
 การระเหยจะหยุดก็ตอเมืออัตรา
                    ่    ่
การระเหยเท่ากับการกลันตัว
                      ่


หน้า 15




              แฟคเตอร์ควบคุมกระบวนการระเหย
 อัตราการระเหยนํ้ าขึนอยูกบแฟคเตอร์ทสําคัญ 2 ประการ
                      ้   ่ ั        ี่
คือ
               • แฟคเตอร์เกียวกับอุตนยมหรือสภาพลมฟ้ าอากาศ
                             ่       ุ ิ
               (Meteorological factors)


               • แฟคเตอร์เกียวกับลักษณะของผิวทีมการระเหย
                             ่                 ่ ี
               (Nature of evaporation surface)




หน้า 16




                                                             8
แฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยมวิทยา
                            ่        ุ ิ
                  (Meteorological factors)
   เนืองจากการระเหยของ
           ่
  นํ้ าเป็ นกระบวนการ                   solar radiation
  แลกเปลียนพลังงาน
               ่
             ี
   รังสแสงอาทิตย์ (solar
  radiation) จึงเป็ นแฟคเตอร์
  ทีสําคัญมากทีสดต่อการ
      ่             ่ ุ                         evaporation
                 ึ่
  ระเหย ซงมีการเปลียนแปลง
                        ่
  ตาม:
          •   ละติจด
                   ู
          •   ฤดูกาล
          •   เวลาของวัน
          •   และสภาพของท ้องฟ้ า



หน้า 17




                 แฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยมวิทยา
                            ่        ุ ิ
                  (Meteorological factors)
 อัตราการระเหยยังขึนอยูกบแฟคเตอร์อน ๆ อีกคือ
                    ้   ่ ั        ื่
          •   ความเร็วลม
          •   อุณหภูมของอากาศ
                      ิ
          •   ความดันไอนํ้ า
          •   และอาจขึนอยูกบ
                        ้    ่ ั
              ความดันบรรยากาศอีกด ้วย




หน้า 18




                                                              9
ข้อคิด - ทําไมอากาศอิมต ัว
                                          ่

 ความร ้อน
          •   ทําให ้โมเลกุลของนํ้ าเคลือนทีเร็วจนชนะแรงยึดเหนียวหลุดสู่
                                        ่   ่                  ่
              บรรยากาศ (การระเหย)
 อากาศอิมตัว
         ่
          •   เมือโมเลกุลของนํ้ าเต็มความจุของอากาศจะกลันตัว
                 ่                                      ่
 การลดอุณหภูม ิ
          •   อากาศเย็นทําให ้เกิดการควบแน่นได ้ดีกว่าอากาศร ้อน
              เนืองจากโมเลกุลของไอนํ้ าเย็นมี
                 ่
                                       ี
              พลังงานน ้อยกว่า จึงสูญเสย
              ความเร็วและเปลียนสถานะเป็ น
                               ่
              ของเหลวได ้ง่าย

หน้า 19




แฟคเตอร์เกียวก ับล ักษณะของผิวทีมการระเหย
           ่                    ่ ี
   (Nature of evaporation surface)
                   ่                    ่
 พืนผิวต่าง ๆ ทีได ้รับนํ้ าฝนโดยตรง เชน พืนดิน พืนหญ ้า
     ้                                      ้      ้
พืนถนน หรืออาคาร จะเป็ นผิวทีการระเหยมีโอกาสเกิดขึน
  ้                              ่                   ้
เต็มที่ เนืองจากพืนทีดงกล่าว สามารถรับแสงแดดได ้เต็มที่
           ่      ้ ่ ั

 อัตราการระเหยบนพืนผิวทีมนํ้านั น จะมีจํานวนจํากัดโดย มี
                        ้      ่ ี  ้
ค่าไม่เกินจํานวนนํ้ าฝนทีต ้องการทําให ้ผิวดังกล่าวอิมตัวด ้วย
                          ่                          ่
        ั
นํ้ า (ศกยภาพในการรับนํ้ าของแต่ละพืนผิว)
                                      ้




หน้า 20




                                                                           10
แฟคเตอร์เกียวก ับล ักษณะของผิวทีมการระเหย
           ่                    ่ ี
   (Nature of evaporation surface)
 อัตราการระเหยจะมีคามากในระยะเริมต ้น
                    ่            ่

 เมือการระเหยเกิดขึนต่อไปเรือย ๆ พืนผิว (ดิน) ก็จะเริม
      ่             ้        ่       ้                ่
แห ้ง อัตราการระเหยลดลงและอุณหภูมของดินจะสูงขึนเพือ
                                   ิ              ้     ่
รักษาการสมดุลของพลังงาน

 เมือถึงระยะเวลาหนึง การะเหยก็จะหยุดเพราะไม่มกรรมวิธ ี
     ่                 ่                         ี
              ่ ่ ึ      ้    ่ ิ
ทีจะดึงนํ้ าทีอยูลกลงไปขึนมาสูผวดิน เพือการระเหยได ้อีก
  ่                                    ่




หน้า 21




          การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                        ้
 เนืองจากอ่างเก็บนํ้ า มีวตถุประสงค์หลักในการเก็บนํ้ าในฤดูฝน
        ่                  ั
      ้                ้
ไว ้ใชตลอดปี หรือไว ้ใชในฤดูแล ้ง

             ี                                     ิ่
 การสูญเสยของปริมาณนํ้ าไปโดยเปล่าประโยชน์จงเป็ นสงที่
                                            ึ
ต ้องพิจารณา

            ี                           ํ
 การสูญเสยจากการระเหยจากผิวนํ้ ามีความสาคัญมากอย่างหนึง
                                                       ่
เนืองจากอ่างเก็บนํ้ ามีพนทีผวนํ้ ามาก
   ่                    ื้ ่ ิ

 ดังนันต ้องมีการคํานวณหาอัตราการระเหยเพือให ้ทราบปริมาณ
           ้                                        ่
นํ้ า เพือวางแผนบริหารนํ้ า หรือจ่ายนํ้ าได ้อย่างเพียงพอทังปี
         ่                                                 ้


หน้า 22




                                                                 11
อ่างเก็บนํา
                                                          ้




หน้า 23




          การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                        ้
 การวัดการระเหยโดยตรงในสนามอาจจะกระทําได ้ยากหรือ
                   ึ่
เป็ นไปไม่ได ้เลย ซงไม่เหมือนกับการวัดระดับนํ้ าของแม่นํ้า
หรือปริมาณนํ้ าฝน

 ดังนั นจึงมีผู ้เสนอวิธการต่างๆ ในการคํานวณการระเหยจาก
        ้                ี
อ่างเก็บนํ้ า ดังนี้
          •   หลักดุลยภาพของนํ้ า (Water Budget Determination)
          •   หลักดุลยภาพของพลังงาน (Energy Budget Determination)
          •   วิธ ี Aerodynamic
          •         ้
              ใชข ้อมูลถาดวัดการระเหยและข ้อมูลอุตนยมวิทยาทีเกียวข ้อง
                                                  ุ ิ       ่ ่


หน้า 24




                                                                         12
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
                 ้
 วิธนจะใชหลักการของสมดุลของนํ้ า (water budget) คือ
        ี ี้
นํ้ าจะไม่การสูญหาย แต่จะมีการเปลียนสถานะและเปลียน
                                       ่             ่
ตําแหน่งทีอยู่
             ่
                                    ึ่
 ข ้อมูลทีจําเป็ นในการวิเคราะห์ซงต ้องตรวจวัดได ้จากอ่าง
               ่
เก็บนํ้ า (สมมติฐานคือ ข ้อมูลต่างๆ วัดได ้จริง)
          •   ปริมาตรนํ้ าทีมอยูในอ่างเก็บนํ้ า (storage, S)
                               ่ ี ่
          •   ปริมาณนํ้ าทีไหลเข ้าอ่าง (surface inflow, I)
                             ่
          •   ปริมาณนํ้ าทีไหลออกจากอ่าง (surface outflow, O)
                           ่
          •           ึ               ั้
              การรั่วซมลงไปในดินชนล่าง (subsurface seepage, Og )
          •   และปริมาณนํ้ าฝน (Precipitation, P)


หน้า 25




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
         ่ ้
 สมการทีใชในการวิเคราะห์คอสมการต่อเนือง
                          ื           ่
    S  Inflow  Outflow
    S  ( I  P )  (O  Og  E )             E  ( S1  S 2 )  I  P  O  Og
    E  S  I  P  O  Og

Inflow (I)          Evaporation (E) Precipitation (P)

                                                                   Outflow
                   S                                                (O)

                                     Storage (S)

                                                                      Outflow
                         Seepage (Og)                                   (O)
หน้า 26




                                                                                   13
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
 ทฤษฎีวธนดเหมือนว่าเป็ นวิธทงายมาก แต่ในทางปฏิบต ิ
            ิ ี ี้ ู            ี ี่ ่          ั
   ้      ่          ่ ื่
นั นจะไม่คอยได ้ค่าทีเชอถือได ้มากนัก

 การคํานวณด ้วยวิธนจะมีความถูกต ้องสูงเมือ ค่าต่างๆ ใน
                   ี ี้                   ่
สมการต่อเนือง (I, P, Og, O, S) สามารถวัดได ้โดยตรง
           ่

 แต่ในทางปฏิบตไม่สามารถวัดค่าต่างๆ ได ้โดยตรง ดังนั น
                 ั ิ                                 ้
การคํานวณด ้วยวิธนจะมีความผิดพลาดตามไปด ้วย
                  ี ี้




หน้า 27




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
 ความผิดพลาดจากการประเมินค่าปริมาณนํ้ าฝน (P )
          •   จะไม่คอยมีปัญหามากนัก
                    ่
              −   ถ ้าพิจารณาค่าเฉลียความลึกนํ้ าฝนทีสถานีตางๆ ทีตงอยูบนฝั่ งรอบๆ อ่าง
                                       ่                ่     ่   ่ ั้ ่
                  เก็บนํ้ า เป็ นค่าความลึกนํ้ าฝนทีตกลงมาในอ่างฯ
                                                    ่
          •   แต่ความผิดพลาดยังคงมีเนืองจาก
                                      ่
              −   ไม่มการติดตังสถานีวดนํ้ าฝนรอบอ่างโดยตรงเนืองจาก
                       ี          ้      ั                        ่
                   – ทําได ้ยาก และสิ      ้นเปลืองค่าใช ้จ่ายมาก
              −   แม ้มีการติดตังสถานี แต่ในกรณีทภมประเทศรอบ ๆ อ่างมีลกษณะสูงชัน
                                    ้                  ี่ ู ิ           ั
                  มากเกินไป
                   – การใช ้ข ้อมูลนํ้ าฝนเฉลียจากสถานีรอบ ๆ อ่าง อาจคลาดเคลือนได ้
                                                 ่                           ่
              −   ถ ้าพืนทีผวนํ้ าของอ่างเก็บนํ้ ามีขนาดใหญ่มาก
                         ้ ่ ิ
                   – อาจทําให ้ลักษณะสภาพอากาศผิดแผกจากภูมประเทศรอบ ๆ
                                                                    ิ
                   – ปริมาณนํ้ าฝนโดยรอบไม่สามารถเป็ นตัวแทนฝนตกในอ่างได ้



หน้า 28




                                                                                         14
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
 ความผิดพลาดจากการประเมินปริมาณนํ้ าไหลเข ้าอ่างฯ (I )
          •   จะมีความถูกต ้องสูงถ ้าปริมาณนํ้ าไหลเข ้าอ่างวัดค่าได ้
              −   ต ้องมีการตังสถานีวดนํ้ าท่าในทุกจุดทีนํ้าไหลเข ้าอ่างฯ
                              ้      ั                  ่


          •   จะมีความผิดพลาดเมือไม่สามารถวัดนํ้ าไหลเข ้าอ่างได ้โดยตรง
                                ่
              −   ต ้องประเมินโดยใช ้หลักการทางอุทกวิทยา ซึงก่อให ้เกิดความ
                                                           ่
                                   ่
                  คลาดเคลือนได ้ ซึงความคลาดเคลือนขึนอยูกบ:
                            ่                     ่   ้  ่ ั

                  – จํานวนเปอร์เซ็นต์ของพืนทีลมนํ้ าทีไม่มสถานีวดนํ้ า
                                           ้ ่ ุ่      ่    ี     ั
                           ่
                  – ความเชือถือได ้ของโค ้งปริมาณนํ้ า (rating curve)




หน้า 29




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
                                   ึ
 ความผิดพลาดจากการวัดอัตราการรั่วซม (Og )
          •                 ึ            ั้
              อัตราการรั่วซมลงไปในดินชนล่างจะคํานวณจากการวัดระดับนํ้ า
              ใต ้ดินและค่า permeability ของดิน
              −     ่
                  ซึงมีความผิดพลาดค่อนข ้างสูง
 ความผิดพลาดจากการวัดปริมาณนํ้ าไหลออก (O)
          •                     ื่           ่ ้
              ขึนอยูกบความน่าเชอถือของสมการทีใชในการคํานวณปริมาณ
                  ้  ่ ั
              นํ้ าไหลออกทีอาคารทางออกต่างๆ
                           ่
              −   Spillway
              −   River outlet




หน้า 30




                                                                              15
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                   ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา
                                        ้
 ความผิดพลาดจากการประเมิน ค่าการเปลียนแปลง
                                     ่
ปริมาตรเก็บกัก ( S )
          • ขึนอยูกบความถูกต ้องในการเก็บข ้อมูลระดับขึนลงของนํ้ าในอ่าง
              ้   ่ ั                                  ้

          • จะมีความผิดพลาด                                  12       10           8
                                                                                         ้ ่ ิ ้
                                                                                       พืนทีผวนํา (ตร. กม.)
                                                                                                 6          4        2        0

            น ้อย                                      168


          − ถ ้าหากว่าความสัมพันธ์                     166

            ระหว่างระดับและพืนที่้
                                     ระด ับ (ม.รทก.)


                                                       164
            ผิวนํ้ า (stage area                       162
            relationship) นัน ้
            ถูกต ้องเพียงพอ                            160                               ปริมาตรเก็บกัก

                                                       158                               พืนทีผวนํ้า
                                                                                           ้ ่ ิ


                                                       156

                                                       154
                                                             0    5        10          15       20        25    30       35   40
หน้า 31                                                                         ปริมาตรเก็บก ัก (ล้าน ลบ.ม.)




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
            ้
 วิธการใชหลักดุลยภาพของพลังงานคํานวณหาปริมาณการ
     ี
                       ้
ระเหยก็คล ้ายๆ กับการใชหลักดุลยภาพของนํ้ า
          •              ้
              กล่าวคือ ใชสมการต่อเนืองในรูปของพลังงาน
                                    ่
          •   และคํานวณหาปริมาณการระเหยจากปริมาณทีเหลือเพือรักษา
                                                      ่   ่
              ดุลยภาพหรือการสมดุลของพลังงาน
 ปั จจุบนการคํานวณปริมาณการระเหยด ้วยวิธนี้
         ั                               ี
          •    ่            ้                      ้
              สวนมากจะใชเฉพาะในงานวิจัยและไม่ใชกว ้างขวางในกรณีทวๆ    ั่
              ไป
          •         ี
              นอกเสยจากว่าจะมีการปรับปรุงเครืองมือในการวัดข ้อมูลให ้
                                             ่
              ทันสมัยยิงขึน
                       ่ ้



หน้า 32




                                                                                                                                   16
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                           ้
               ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 สมการสมดุลพลังงานมีรปแบบดังนี้
                       ู
         Qn  Qh  Qe  Qz  Qv
          Qn คือ       ี ุ
                 รังสสทธิจากดวงอาทิตย์ (net radiation) ของทุก
                 คลืนความถีทถกดูดเก็บ (absorbed) โดยนํ้ า
                     ่         ่ ี่ ู
                                               ่
          Qh คือ sensible heat ทีถายกลับคืนสูบรรยากาศ
                                      ่ ่
                                             ้
          Qe คือ พลังงานทีจําเป็ นต ้องใชในการระเหย
                             ่
          Qz คือ จํานวนพลังงานทีเพิมขึนและเก็บกักโดยนํ้ าในอ่าง
                                       ่ ่ ้
          Qv คือ พลังงานสุทธิท ี่ advect ลงไปในนํ้ าในอ่าง
                 พลังงานสุทธิของนํ้ าไหลเข ้าและไหลออกจากอ่างเรียกว่า
                 advected energy
          ทุกเทอมมีหน่วยเป็ นคาลอรีตอตารางเซนติเมตร
                                        ่ ่


หน้า 33




             การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                           ้
               ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 ทําการจัดรูปสมการพลังงานใหม่ ทําให ้ได ้สมการการคํานวณ
ปริมาณการระเหย (E) ในหน่วย เซนติเมตร มีดงนี้
                                           ั
                                  • Hv คือ ปริมาณความร ้อนทีมวลสารดูดเข ้าไป
                                                              ่
Qn  Qh  Qe  Qz  Qv              ในการเปลียนจากนํ้ าเป็ นไอ (latent heat of
                                               ่
                                    vaporization)
                                                   ่
                                  • R คือ อัตราสวนปริมาณความร ้อนทีสญเสย
                                                                      ่ ู  ี
                                    โดยการนํ า (conduction) ต่อปริมาณความ
               Qn  Qv  Qz                      ี                ่ึ
                                    ร ้อนทีสญเสยโดยการระเหย ซงเรียกว่า
                                           ่ ู
          E                                 ่
                                    อัตราสวนโบเวน (Bowen ratio)
                H v 1  R      •  คือ density ของนํ้ า
                                  • p คือ ความดันบรรยากาศ (มิลลิบาร์)
        T Ta       p
R  0.61 o       .                • Ta คือ อุณหภูมของบรรยากาศ (องศาเซลเซียส)
                                                   ิ
        e o  e a 1000            • ea คือ ความดันไอนํ้ าของบรรยากาศ
                                           (มิลลิบาร์)
                                  • To คือ อุณหภูมของผิวนํ้ า (องศาเซลเซียส)
                                                     ิ
                                  • eo คือ ความดันไอนํ้ าทีจดอิมตัวเมืออุณหภูม ิ To
                                                           ่ ุ ่      ่
หน้า 34




                                                                                      17
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 จากสมการ                                                       Qn  Qv  Qz
                                                           E
                                                                  H v 1  R 
     Qn  Qh  Qe  Qz  Qv                                        To  T a p
                                                        R  0.61           .
                                                                   eo  ea 1000
 พบว่า
          •                                                     ้    ่
              ค่าของ Qh นันทําการวัดหรือคํานวณได ้ยาก จึงนิยมใชอัตราสวน
                          ้
              โบเวนเพือจะตัดเทอม Qh ออกจากสมการพลังงาน
                       ่
          •                        ่             ้   ่    ่   ่
              โบเวนได ้พบว่าค่าคงทีในสมการ (R) นันมีคาอยูในชวงระหว่าง 0.58
              ถึง 0.66
              −     ่
                  ซึงจะขึนอยูกบความมั่นคง (stability) ของบรรยากาศ
                         ้   ่ ั
          •                                ้
              และได ้สรุปว่าค่า 0.61 นีจะใชในกรณีทสภาพบรรยากาศปกติทั่วไป
                                       ้          ี่
          •   ค่า Qn ประมาณได ้จากสมการต่อไปนี้


หน้า 35




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 จากสมการ                             Qn  Qv  Qz
                                 E
                                        H v 1  R 
            ี ุ
   สมการรังสสทธิจากดวงอาทิตย์                        สมการสมดุลนํ้ า (Water budjet)
   Qn  Qs  Qr  Qa  Qar  Qo                       S 2  S1  I  P  O  Qg  E
                                                                X (คูณด ้วย)
                                                                           ่
                                                         อุณหภูมของนํ้ าในสวนต่างๆ
                                                                ิ


                  1
Qv  Q z           ( IT I  PT p  OT o  Q gT g  ET E  S 1T1  S 2T 2 )
                  A



หน้า 36




                                                                                      18
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
         ี ุ
 ค่ารังสสทธิจากดวงอาทิตย์ (Qn) จะต ้องประมาณให ้ถูกต ้อง
มากทีสด จากสมการ
     ่ ุ
                      Qn  Qs  Qr  Qa  Qar  Qo
          •                    ี ่ ั้
              Qs คือ รังสคลืนสน (shortwave radiation) จากดวงอาทิตย์และ
              ท ้องฟ้ าทีตกลงบนผิวนํ้ า
                         ่
          •                ี ่ ั้ ่
              Qr คือ รังสคลืนสนทีสะท ้อนกลับออกไป
          •                   ี ่
              Qa คือ รังสคลืนยาว (longwave radiation) ทีตกหรือปรากฏ
                                                           ่           ที่
                 ั้
               ชนบรรยากาศ
          •                 ี ่
              Qar คือ รังสคลืนยาวทีสะท ้อนกลับออกไป
                                      ่
          •   Qo คือ รังส ่  ีคลืนยาวทีถกปล่อยออกมา (emitted longwave
                                        ่ ู
               radiation)



หน้า 37




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 ค่าของ energy advection และ storage (เทอม Qv-Qz ในหน่วย
คาลอรี/ตร. ซม.) คํานวณจากสมการ
        ่
                                          ทุก ๆ เทอมในสมการสมดุลนํ้ า มี
สมการสมดุลนํ้ า (Water budjet)           หน่วยเป็ น ลบ. ซม.
 S 2  S1  I  P  O  Qg  E            เนืองจากพลังงาน (คาลอรี) ที่
                                               ่                      ่
                                         สะสมต่อนํ้ าหนักหนึงกรัมของนํ้ า คือ
                                                            ่
                                         ผลคูณของความร ้อนจําเพาะ
           X (คูณด ้วย)                  (specific heat) และอุณหภูม ิ
    อุณหภูมของนํ้ าในสวนต่างๆ
                ิ             ่           ถ ้าให ้ความหนาแน่นของนํ้ าและ
    (TI , T p , To , Tg , TE , T1 , T2 ) ความร ้อนจําเพาะมีคาเท่ากับ 1 ก็จะ
                                                              ่
                                         ได ้

                             1
                Qv  Q z      ( IT I  PT p  OT o  Q gT g  ET E  S 1T1  S 2T 2 )
                             A
                 TI, TP …คือ      อุณหภูมในส่วนต่างๆ (องศาเซลเซียส)
                                         ิ
หน้า 38
                 A คือ พืนผิวนํ้ าของทะเลสาบหรืออ่างเก็บนํ้ า (ตร.ซม.)
                           ้




                                                                                         19
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน
 อุณหภูมของนํ้ าฝนจะสมมุตเท่ากับอุณหภูมกระเปาะเปี ยก
          ิ               ิ             ิ
(wet-bulb temperature)

            ิ        ่ ึ
 อุณหภูมของนํ้ าทีซมลงไปในดินจะสมมุตเท่ากับอุณหภูม ิ
                                     ิ
ของนํ้ าในอ่างทีลกทีสดหรือทีก ้นอ่าง
                ่ ึ ่ ุ     ่

     ่
 สวนอุณหภูมของนํ้ าทีระเหยจะเป็ นอุณหภูมของนํ้ าทีผวนํ้ า
              ิ       ่                  ิ         ่ ิ
ในอ่างนั่นเอง




หน้า 39




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                    ด้วยวิธ ี Aerodynamic
 การพัฒนาสมการแบบ turbulent-transport นั นมาจาก
                                          ้
แนวความคิดพืนฐานสองวิธด ้วยกันคือ
            ้         ี
          •    การผสมไม่ตอเนือง (discontinuous) หรือ mixing-length
                         ่   ่
               −     ่
                   ซึงเกิดจากแนวความคิดของ Prandtl และ Schmidt
          •    การผสมแบบต่อเนือง (continuous mixing)
                              ่
               −     ่
                   ซึงเป็ นแนวคิดของ Taylor
                                    ี ้     ้   ้
 ต่อจากนั นได ้มีการทบทวนนํ าเอาวิธทังสองนีไปใชโดยเริม
           ้                                          ่
เตรียมการทดลองล่วงหน ้าทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์ (Hefner)
                         ่
และทะเลสาบมี๊ ด (Mead)



หน้า 40




                                                                     20
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                    ด้วยวิธ ี Aerodynamic
 สมการทีคดค ้นขึนโดย Sverdrup และ Sutton นํ าเอาไป
           ่ ิ   ้
ตรวจสอบความถูกต ้องทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์ (Hefner) และ
                     ่
ทะเลสาบมี๊ ด (Mead)

          •    สมการให ้ผลเป็ นทีน่าพอใจทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์
                                 ่        ่

          •                                ้
               แต่ไม่ถกต ้องเพียงพอเมือไปใชกับทะเลสาบมี๊ ด
                      ู               ่




หน้า 41




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                    ด้วยวิธ ี Aerodynamic
 สมการเอมไพริกลต่าง ๆ ทีพัฒนาขึนจะพิจารณาการระเหยเป็ น
                   ั        ่      ้
       ั่   ่
ฟั งก์ชนกับสวนย่อย ๆ ของบรรยากาศและจะมีแนวทางคล ้าย ๆ กับ
                                 ่
วิธการ turbulent-transport ในบางสวน
    ี
                                ่ ้
 ยกตัวอย่างสมการของ Dalton ทีใชคํานวณการระเหยดังนี้
                         E  eo  ea a  bV 
          •    e0 คือ ความดันไอนํ้ าทีผวนํ้ า่ ิ
                                        ้
                      ในบางกรณีใชค่าความดันไอนํ้ าทีจดอิมตัว เมืออุณหภูม ิ
                                                           ่ ุ ่ ่
                      เท่ากับอุณหภูมของอากาศ
                                          ิ
          •                                 ่ ุ ึ่
               ea คือ ความดันไอนํ้ าทีจดซงมีความสูงคงทีจากผิวนํ้ า
                                                              ่
                      หรือทีจดในอากาศทีอยูเหนือผิวนํ้ า
                             ่ ุ                   ่ ่
          •    V คือ ความเร็วลมทีจดสูงคงทีจดหนึง
                                    ่ ุ              ่ ุ ่


หน้า 42




                                                                             21
การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                    ด้วยวิธ ี Aerodynamic
              ั                  ่      ้     ้
 สูตรเอมไพริกบหลายสูตรด ้วยกันทีพัฒนาขึนโดยใชข ้อมูล
ทีรวบรวมจากทะเลสาบเฮฟเน่อร์อาทิเชน
  ่                                ่
                        E  0.00304(eo  e2 )V4
                        E  0.00241(eo  e8 )V8
                        E  0.00271(eo  e2 )V4
          •    E     คือ   ปริมาณการระเหย (นิวต่อวัน)
                                                 ้
          •    e     คือ   ความดันไอนํ้ า (นิวของปรอท)
                                             ้
          •    V     คือ   ความเร็วลม (ไมล์ตอวัน)
                                               ่
          •    ตัวเลข subscripts ต่าง ๆ คือ ความสูงทีอยูเหนือผิวนํ้ า (เมตร)
                                                     ่ ่



หน้า 43




              การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา
                                            ้
                    ด้วยวิธ ี Aerodynamic
 ถ ้าหากว่า
          •    ความดันไอนํ้ ามีหน่วยเป็ นมิลลิบาร์
          •    ความเร็วลมมีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที
          •    และปริมาณการระเหยมีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรต่อวัน จะได ้
                      E  0.122(eo  e2 )V4
                      E  0.097(eo  e8 )V8
                      E  0.109(eo  e2 )V4

 สมการแรกให ้ผลการคํานวณดีทสดทีทะเลมี๊ ด
                            ี่ ุ ่
 และเหตุผลประกอบหลายประการจึงเชอว่าเป็ นวิธทดสําหรับ
                                   ื่       ี ี่ ี
          ้
ประยุกต์ใชในกรณีทวไป
                 ่ั


หน้า 44




                                                                               22
้ ้
คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ
     ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ
                      ุ ิ
 ถาดวัดการระเหย (pan evaporation)
          •                ่                 ่ ิ   ้
                  เป็ นเครืองมือวัดการระเหยทีนยมใชกันมากทีสดในปั จจุบน
                                                            ่ ุ      ั
          •                                               ้
                  ข ้อมูลทีได ้จากถาดวัดการระเหยจะนํ าไปใชงานออกแบบ
                             ่
                  ทางด ้านอุทกวิทยาและการจัดการโครงการพัฒนาแหล่งนํ้ าต่างๆ


 ถึงแม ้ว่าถาดวัดการระเหย
  ยังเป็ นทีวพากษ์วจารณ์
            ่ ิ     ิ
  เกียวกับความถูกต ้องทาง
      ่
  ด ้าน theoretical grounds
  ก็ตาม

หน้า 45




                       ้ ้
คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ
     ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ
                      ุ ิ
     อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ
                                       ้   ่ ั
              •    ขนาด

                   −   โดยทั่วไปการระเหยจากถาดขนาดใหญ่จะมากกว่าจากถาดขนาดเล็ก
                       อย่างเห็นได ้ชัด
                                      ้
                        – ถ ้าความชืนสัมพัทธ์ของอากาศตํา
                                                       ่

                   −   ความแตกต่างระหว่างอัตราการระเหยจากถาดทีมขนาดไม่เท่ากันจะลด
                                                                     ่ ี
                       น ้อยลง
                                          ้
                        – แต่ถ ้ามีความชืนสัมพัทธ์ของอากาศเพิมขึน่ ้
                        – ถ ้าในบริเวณรอบ ๆ ถาดวัดการระเหยมีการปลูกต ้นไม ้ จะควบคุม
                                        ้
                            ให ้มีความชืนสัมพันธ์คอนข ้างสูงอยูเสมอ
                                                  ่            ่




หน้า 46




                                                                                       23
้ ้
คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ
     ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ
                      ุ ิ
     อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ
                                       ้   ่ ั
          •   สี
              −    เนืองจากสีดําจะดูดพลังงานความร ้อนไว ้ได ้มากกว่าสีออน
                      ่                                                ่
              −         ้                  ่ ี ี
                   ดังนันการระเหย จากถาดทีมสดําจะมากกว่าการระเหยจากถาดขนาด
                               ี ี ่
                   เดียวกันแต่มสออนกว่า


          •         ี่ ้
              วัสดุทใชทําถาด
              −    การระเหยจากถาดทีทําด ้วยทองแดงจะมากกว่าถาดทีทําด ้วย
                                   ่                           ่
                   อะลูมเนียม
                        ิ




หน้า 47




                       ้ ้
คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ
     ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ
                      ุ ิ
     อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ
                                       ้   ่ ั
          •   ระดับนํ้ าในถาด
              −    ถาดทีมระดับนํ้ าอยูตํากว่าจะมีการระเหยมากกว่าถาดทีนํ้าลึก
                        ่ ี           ่ ่                            ่

                   – ทังนีเพราะผิวนํ้ าของถาดทีมระดับนํ้ าตํากว่าจะได ้รับความ
                         ้ ้                   ่ ี          ่
                     กระทบกระเทือนจากความปั่ นป่ วนของลมทีพัดผ่านมากกว่า
                                                                 ่
                   – นอกจากนันขอบของถาดยังมีอณหภูมสง เนืองจากทีผวทีสมผัส
                               ้                   ุ       ิ ู     ่       ่ ิ ่ ั
                     กับแสงแดดและบรรยากาศมากกว่า อุณหภูมของนํ้ าในถาดทีมนํ้า
                                                                     ิ             ่ ี
                     ตืนจะสูงกว่า
                       ้

              −    ถึงอย่างไรก็ตาม การเปลียนแปลงระดับนํ้ าในถาดนันจะมีผลต่ออัตรา
                                          ่                      ้
                   การระเหยของถาดทีวางอยูบนดินหรืออยูเหนือผิวดินมากกว่าถาดทีฝัง
                                      ่     ่         ่                        ่
                   ไว ้ในดิน




หน้า 48




                                                                                         24
ชนิดของถาดว ัดการระเหย
 ถาดวัดระเหย อาจแบ่งออกได ้เป็ น 3 ชนิด คือ

          •   ชนิดฝั งดิน (sunken pan)
          •   ชนิดลอยอยูเหนือนํ้ า (floating pan)
                           ่
          •   ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan)
                      ่




หน้า 49




                    ชนิดฝังดิน (sunken pan)
 ข ้อดี
          •                                                     ่
              สามารถขจัดอุปสรรคอันเกิดจาก boundary effect อาทิเชน
              −   รังสีแสงอาทิตย์ทกระทบและสะสมทีผนังถาด
                                  ี่             ่
              −   การแลกเปลียนความร ้อนระหว่างบรรยากาศกับตัวถาด
                             ่
        ี
 ข ้อเสย
          •   มีโอกาสทีขยะมูลฝอยจะลงไปในถาดทําให ้ลดอัตราการระเหยลง
                        ่
              ได ้
          •   การติดตังโดยการฝั งลงไปในดินทําได ้ยาก
                      ้
          •                 ่
              การล ้างหรือซอมแซม และการตรวจพบการรั่ว ทําได ้ยาก
          •   หญ ้าและวัชพืช เป็ นอุปสรรคต่อความละเอียดถูกต ้อง
          •   การแลกเปลียนความร ้อนระหว่างถาดกับดิน
                          ่



หน้า 50




                                                                      25
ชนิดลอยอยูเหนือนํา (floating pan)
                    ่      ้
 ข ้อดี
          •   ค่าการระเหยจากถาดวัดการระเหยทีลอยอยูในอ่างเก็บนํ้ านันจะ
                                              ่      ่               ้
              ใกล ้เคียงกับปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ าจริง ๆ มากกว่า
              ปริมาณการระเหยทีวดจากถาดทีวางอยูบนดินรอบ ๆ อ่าง
                                 ่ ั       ่     ่
        ี
 ข ้อเสย
          •   จะมีปัญหาเกียวกับ boundary effect มาก
                           ่
          •   ทําการวัดยากมาก เพราะจะต ้องใชเรือ ้
          •   การวัดจะมีอปสรรคถ ้าหากผิวนํ้าปั่ นป่ วนมีคลืนมาก
                         ุ                                 ่
          •   การติดตังและการบํารุงรักษาจะแพงกว่าถาดวัดระเหยประเภทอืน
                      ้                                             ่
         ั    ิ   ้
 ปั จจุบนไม่นยมใชถาดชนิดนี้



หน้า 51




              ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan)
                     ่
 ถาดวัดการระเหยชนิดทีวางบนผิวดินหรือวางเหนือระดับผิว
                      ่
ดินเล็กน ้อย
 ข ้อดี
          •   ประหยัดและง่ายในการติดตัง
                                      ้
          •        ้
              การใชงานและการบํารุงรักษาสะดวกกว่าวิธอน
                                                   ี ื่
        ี
 ข ้อเสย
          •                  ี
              เกิดการสะสมรังสแสงแดดของผนังถาดและเกิดการแลกเปลียน ่
              พลังงานความร ้อนระหว่างถาดกับบรรยากาศมากกว่าแบบฝั งดิน
 การป้ องกันทีจะทําได ้ก็คอ การเคลือบผนั งถาดด ้วยฉนวน
               ่           ื




หน้า 52




                                                                          26
ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan)
                     ่
 ถาดวัดการระเหยทีนยม
                   ่ ิ
  ้
ใชกันแพร่หลายและเป็ นที่
ยอมรับขององค์การอุตนยม
                    ุ ิ
โลกก็คอ
      ื
          •   U.S. Weather Bureau
              Class A Pan
          •             ั้
              หรือเรียกสน ๆ ว่า Class
              A Pan




หน้า 53




                           ถาด Class A Pan
 ถาดวัดการระเหยประเภท Class A Pan ก็จัดอยูในถาดชนิดอยูบนดิน
                                           ่           ่
          •   ทําด ้วยเหล็กอาบสังกะสีหรือโลหะทีทนต่อการผุกร่อน
                                                 ่
          •   เส ้นผ่าศูนย์กลาง 4 ฟุต ลึก 10 นิว
                                               ้
          •   วางบนแผงไม ้ตะแกรง
          •   ก ้นถาดอยูเหนือระดับดินเดิมประมาณ 4 นิว
                         ่                          ้

                                              • นํ้ าทีใส่ลงในถาดจะลึกประมาณ 8 นิว
                                                       ่                             ้
                                              • เมือนํ้ าระเหยไปจนความลึกของนํ้ า
                                                     ่
                                                เหลือเพียง 7 นิว ก็จะต ้องเติมนํ้ าใหม่
                                                                ้
                                                ให ้มีความลึก 8 นิว อย่างเดิม
                                                                  ้



                                 0.20 m



หน้า 54




                                                                                          27
ถาด Class A Pan




 ปกติจะการวัดการระเหยทุกวัน               ความลึกของการระเหยทีวัดได ้ต ้อง
                                                                   ่
                                            มีการปรับ
 หน่วยการวัด - ความลึกของนํ้ าทีระเหยไป  โดยพิจ ารณาความลึก ของนํ้ า ฝนที่
                                 ่
                                                                             ่
                                            ตกและวัดได ้จากเครืองวัดนํ้ าฝนซึง
                                                               ่
 โดยใช ้ของอ (hook gage) วัดระดับนํ้ าใน   โดยมากจะติด ตั ง ควบคู่กับ ถาดวั ด
                                                            ้
      stilling well
หน้า 55                                     การระเหยอยูแล ้ว
                                                       ่




          ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan)
                 ่
  นอกจาก Class A Pan แล ้วยังมีถาดวัดการระเหยชนิดอืน
                                                    ่
 อีกมาก

           ้                    ้
  การใชถาดวัดการระเหยควรจะใชแบบมาตรฐานและ
 ประเภทเดียวกัน เพือสะดวกในการเปรียบเทียบข ้อมูลการ
                     ่
 ระเหยทีวัดได ้ในทีตาง ๆ กัน
        ่          ่ ่

                                         ั    ิ ์
  นอกจากนั นยังทําให ้การเปรียบเทียบค่าสมประสทธิของ
            ้
 ถาดมีความหมายดียงขึน
                   ิ่ ้



หน้า 56




                                                                                 28
ั
     การปริมาณความสมพ ันธ์ระหว่างการระเหย
       จากถาดและแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม
                            ่       ุ ิ
                           ั
 วัตถุประสงค์ของการหาความสมพันธ์ดงกล่าวก็คอ
                                  ั        ื
          • เพือเพิมความรู ้เกียวกับการระเหย
                 ่           ่       ่
                   ่             ้
          • เพือนํ าไปใชคํานวณหาข ้อมูลทีขาดหายไป
                                               ่
          • เพือนํ าไปคํานวณหาข ้อมูลของสถานีทไม่ได ้ทําการวัดโดยถาด
                     ่                             ี่
          วัดการระเหย
                               ้                          ื่      ้
          • เพือใชในการทดสอบข ้อมูลทีได ้มาว่ามีความเชอถือและใชเป็ น
                       ่                   ่
          ตัวแทนได ้มากน ้อยเพียงไร
                         ่ ่       ึ         ั
          • เพือชวยในการศกษาหาความสมพันธ์ระหว่างปริมาณการระเหย
          ของนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าหรือทะเลสาบกับปริมาณการระเหยจากถาดวัด
          การระเหย




หน้า 57




                   ปริมาณการระเหยจากถาด
                  และแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม
                                ่        ุ ิ
 ปริมาณการระเหยจากถาดสามารถคํานวณได ้จากสูตรเอม
ไพริกลของเพนแมน (Penman) ดังนี้
     ั
                                                          ั     ้
                                       คือ ค่าความลาดชนของเสนตรงทีได ้ ่
      E
               1
                  Qn   Ea        จากการพล๊อตความดันไอนํ้ าอิมตัวกับ
                                                                  ่
                                   อุณหภูม ิ ทีจดอุณหภูมอากาศเท่ากับ Ta
                                                  ่ ุ       ิ

 Ea คือ ปริมาณการระเหยจากอ่างทีคํานวณได ้จาก
                               ่                     E  e o  e a a  bV   
 โดยสมมุตให ้อุณหภูมทผวนํ้ า To = Ta
         ิ          ิ ี่ ิ

 Qn คือ รังสสทธิจากดวงอาทิตย์ ซงมีหน่วยเหมือนกับ
            ี ุ                ึ่
 ปริมาณการระเหย
                                                                  To  Ta
                                                           R 
         เป็ นค่าคงทีในสมการโบเวน หรือคํานวณได ้จากสูตร
                      ่                                           eo  ea

หน้า 58




                                                                                   29
ปริมาณการระเหยจากถาด
                              และแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม
                                            ่        ุ ิ
 เพนแมนได ้ประยุกต์
สมการทีเสนอ ไปใชกับ
         ่           ้
ข ้อมูลหลายสถานีทั่ว
ประเทศสหรัฐอเมริกา

 และทําการสร ้าง
รูปกราฟแสดง
ความสมพันธ์ตาง ๆ ทีใช ้
      ั     ่      ่
ในการประมาณค่าการ
ระเหยจากถาดวัดการ
ระเหย


หน้า 59




                        ขนตอนการคํานวณการระเหยจากถาด
                         ั้
                                ด้วยวิธเพนแมน
                                       ี
                  ้
 หาค่า Ea จากรูปซาย-บน

                                               เมือทราบค่า
                                                   ่
                                                 •   อุณหภูมของอากาศ
                                                            ิ
          อุณหภูมอากาศเฉลีย




                                                 •   อุณหภูมจดนํ้ าค ้าง
                                                              ิ ุ
                          ่




                                                 •   และความเร็วลม
                                         Ea
                 ิ




หน้า 60




                                                                           30
ขนตอนการคํานวณการระเหยจากถาด
             ั้
                    ด้วยวิธเพนแมน
                           ี
    คํานวณหาปริมาณการระเหย E จากกราฟรูปใหญ่

                                                                       เมือทราบข ้อมูล
                                                                            ่
                                                                      รายวันดังนี้




                                                  อุณหภูมอากาศเฉลีย
                                                                         • อุณหภูมของ
                                                                                    ิ
                                                                         อากาศเฉลีย
                                                                                  ่
                                                                         • รังส ี




                                                         ิ
                                                                         แสงอาทิตย์
                                                                         • ค่า Ea



                                                                  ่


หน้า 61      ปริมาณการระเหยจากถาด (E)




                    ั    ิ ์
                   สมประสทธิถาดว ัดการระเหย
                      (Pan Coefficient)
    วิธดลยภาพของนํ้ าดุลยภาพของพลังงานและแอโร
         ี ุ
             ์
   ไดนามิกสเป็ นการคํานวณหาปริมาณการระเหยจากทะเลสาบ
   หรืออ่างเก็บนํ้ าโดยตรง
                    ่               ่             ้
            • แต่เนืองจากว่ามีความยุงยากและต ้องใชข ้อมูลมากจึงไม่เป็ นที่
                  ้
            นิยมใชในการออกแบบทางอุทกวิทยาต่าง ๆ
    การวัดการระเหยด ้วยถาดวัดการระเหยไม่คอยยุงยากหรือ
                                          ่   ่
    ิ้          ้
   สนเปลืองค่าใชจ่ายมากนัก
            • จึงเป็ นทีนยมในการนํ าข ้อมูลทีได ้จากถาดวัดการระเหยไปใช ้
                        ่ ิ                  ่
            ประมาณหาค่าปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ า
            • โดยการคูณค่าการระเหยทีวดได ้จากถาด (Epan) ด ้วย
                                         ่ ั
             ั      ิ ์
            สมประสทธิของถาด (pan coefficient, Kpan)

                                E  K pan E pan
  หน้า 62




                                                                                          31
ั    ิ ์
           ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย
           แบบ Class A pan จากแหล่งต่างๆ
                                 ช่วงปี ของ   ช่วงเดือนของ   สัมประสิทธิ์
                สถานที่
                                   ข ้อมูล          ปี       Class A Pan
Davis, Calif., USA               1966-69         รายปี          0.72
Denver, Colo., USA               1915-16         รายปี          0.67
Felt Lake, Calif., USA             1955          รายปี          0.77
Ft. Collins, Colo., USA          1926-28       เม.ย.-พ.ย.       0.70
Fullerton, Calif., USA           1936-39         รายปี          0.77
Lake Colorado, City, Tex., USA   1954-55         รายปี          0.72
Lake El Sinore, Calif., USA      1939-41         รายปี          0.77
Lake Hefner, Calif., USA         1950-51         รายปี          0.69
Lake Mead, Ariz-Nev, USA         1966-69         รายปี          0.66
Lake Okeechobee, Tex., USA       1940-46         รายปี          0.81
Red Bluff Res., Tex., USA        1939-47         รายปี          0.68
หน้า 63




               ั     ิ ์
           ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย
          แบบ Class A pan จากแหล่งต่างๆ (ต่อ)
                                 ช่วงปี ของ   ช่วงเดือนของ   สัมประสิทธิ์
                สถานที่
                                   ข ้อมูล          ปี       Class A Pan
Salton Sea, Calif., USA          1967-69         รายปี          0.64
Silver Hill, Md., USA            1955-60         รายปี          0.74
Sterling, Va., USA               1965-68       เม.ย.-พ.ย.       0.69
India (Poona)                    1965-68       เม.ย.-พ.ย.       0.69
Israel (Lod Airport)             1954-60         รายปี          0.74
Sudan (Khartoum)                 1960-61         รายปี          0.65
U.K. (London)                    1956-62         รายปี          0.70
U.S.S.R. (Dobovka)               1957-59       พ.ค.-ต.ค.        0.64
                                 1962-67       พ.ค.-ต.ค.        0.64
U.S.S.R. (Valdai)                1949-53       พ.ค.-ก.ย.        0.82
                                 1958-63       พ.ค.-ก.ย.        0.67
หน้า 64




                                                                            32
ั    ิ ์
          ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย
                จากแหล่งต่างๆ (ต่อ)
                   ั    ิ ์
 จากตัวอย่างค่าสมประสทธิของถาดชนิด Class A Pan
จากแหล่งต่าง ๆ ทั่วโลกตามตาราง

                    ั    ิ ์
 โดยทั่วไปแล ้วค่าสมประสทธิของถาดวัดการระเหยชนิดนี้
จะมีคาประมาณ 0.70
     ่

       ั้                        ่ ิ  ้
 ด ังนนค่า Kpan = 0.7 จึงเป็ นทีนยมใชกันแพร่หลายใน
การคํานวณปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ า




หน้า 65




           การคายนํา (Transpiration)
                   ้
  ปริมาณนํ้ าทังหมดทีพช
                     ้  ่ ื
 ดูดผ่านทางรากเข ้าไป มี
          ่
 เพียงสวนน ้อยทียงคงอยูใน
                    ่ ั  ่
 เนือเยือของพืช
    ้   ่
            ่
  นํ้ าสวนใหญ่จะถูกพืชคาย
 ออกมาในรูปของไอนํ้ าใน
 บรรยากาศ โดยผ่านทางรู
 พรุนเล็กๆ ตามผิวใบเรียกว่า
 stomata (ปากใบ)
  กรรมวิธดงกล่าว เรียกว่า
                ี ั
 การคายนํา    ้



หน้า 66




                                                       33
การคายนํา (Transpiration)
                        ้
 การคายนํ้ าเป็ นกระบวนการทีมความสําคัญ
                             ่ ี
          •              ่
              เพราะเป็ นสวนหนึงของวัฎจักรของนํ้ า
                              ่
                             ้     ึ
 ในทางปฏิบตและมักถูกนํ าไปใชในการศกษาเกียวกับดุลย
              ั ิ                        ่
ภาพของลุมนํ้ า (สมดุลนํ้ า)
        ่
          •   โดยจะพิจารณาการคายนํ้ า (Transpiration) รวมเข ้ากับการ
              ระเหย (Evaporation)
          •   เรียกว่า การคายนํ้ ารวมการระเหย (การคายระเหย -
              Evapotranspiration)
                               ึ
 ถึงอย่างไรก็ตามจําเป็ นต ้องศกษาแต่ละกรรมวิธให ้เป็ นที่
                                              ี
              ่  ึ
เข ้าใจ ก่อนทีจะศกษาเกียวกับการคายระเหยต่อไป
                        ่


หน้า 67




                         ้
    กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ?
                  ้
                          ั
 ความแตกต่างของค่าศกย์ของนํ้ า
(water potential) ระหว่างนํ้ าหล่อ
เลียงทีอยูในเซลล์ของรากพืชและนํ้ า
      ้      ่ ่
ทีอยูในดินบริเวณรากพืชทําให ้เกิด
   ่ ่
osmotic pressure
        ึ่
 ซงนํ้ าในดินจะเคลือนตัวผ่าน
                    ่
เนือเยือของรากเข ้าไปในเซลล์ของ
    ้      ่
รากพืช และเคลือนตัวต่อไปยังใบ
                 ่
ด ้วยกระบวนการลําเลียงนํ้ า



หน้า 68




                                                                       34
้
    กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ?
                  ้
 นํ้ าทีเคลือนทีมายังใบนี้
         ่   ่   ่
      •                    ่
            จะเข ้าไปอยูในชองว่าง
                        ่
            ระหว่างเซลล์ (intercellular
            space)
      •     ทีอยูภายในใบ
              ่ ่
 นํ้ าในใบจะเคลือนตัวต่อ
                 ่
    ่        ึ่    ั
ไปสูอากาศ ซงมีศกย์ของนํ้ า
ตํากว่า
  ่
      • ผ่านรูสโตเมต ้า (ปากใบ)
          ึ่
      • ซงเรียกกระบวนการนีวา้ ่
      “การคายนํ้ า”



หน้า 69




                         ้
    กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ?
                  ้
        ่                               ่ ้
 อัตราสวนทีนํ้าคายออกไปต่อจํานวนนํ้ าทีใชในการ
             ่
 ั
สงเคราะห์แสง
          • นันสูงมากถึง 800 เท่า หรือมากกว่า
              ้
         ่                     ่           ่
 ในขณะทีปากใบเปิ ด อากาศจะเคลือนตัวเข ้าสูใบทางปาก
ใบ




หน้า 70




                                                      35
้
    กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ?
                  ้
 คลอโรพลาสท์
(chloroplasts) ทีอยูภายในใบ
                 ่ ่
      •               ้
               จะใชพลังงานแสง
      •        เพือทําให ้เกิดปฏิกรยาทาง
                  ่               ิ ิ
               เคมีระหว่าง CO2 จากอากาศ
               และนํ้ า (H2O) ทีอยูในเซลล์
                                ่ ่
 เพือทําให ้เกิดคาร์โบรไฮเด
      ่
รทสําหรับการเจริญเติบโตของ
พืช
 เรียกกระบวนการนีวา “การ
                      ้ ่
 ั
สงเคราะห์แสง”


หน้า 71




                    กลไกการปิ ดเปิ ดของปากใบ
 การปิ ดเปิ ดของปากใบควบคุมโดยความเต่งของเซลล์คม
                                                ุ
               ึ่
(guard cell) ซงจะตอบสนองต่อ
          •     แสง ปริมาณ CO2 และปริมาณนํ้ าทีพชได ้รับ
                                               ่ ื
 ปากใบจะเปิ ดเมือ
                 ่
          •     ต ้องการระบายนํ้ าออกจากใบ และต ้องการรับ CO2
          •     โดยทัวไปปากใบจะเปิ ดในเวลากลางวัน
                      ่
 ปากใบจะปิ ดเมือ
                ่
              • มีการเหียว เพือลดการ
                         ่     ่
                       ี
                สูญเสยนํ้ า
              • ไม่ต ้องการรับ CO2 เพิม
                                      ่


หน้า 72




                                                                36
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)
Evaporation (1)

More Related Content

What's hot

การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศAraya Toonton
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมวิศิษฏ์ ชูทอง
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxssuser920267
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)Tanutcha Pintong
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5WitthayaMihommi
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 

What's hot (20)

การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เต็ม)
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 

Viewers also liked

Laboratory apparatus
Laboratory apparatusLaboratory apparatus
Laboratory apparatusLee Cyee
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
Estimation of Groundwater Recharge Using WetSpass and MODFLOW
Estimation of Groundwater Recharge  Using WetSpass and MODFLOWEstimation of Groundwater Recharge  Using WetSpass and MODFLOW
Estimation of Groundwater Recharge Using WetSpass and MODFLOWPutika Ashfar Khoiri
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
analisis prinsip kerja open pan evaporimeter
analisis prinsip kerja open pan evaporimeteranalisis prinsip kerja open pan evaporimeter
analisis prinsip kerja open pan evaporimeterAhmad Kanzu Firdaus
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...micobin
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...Prachoom Rangkasikorn
 
Evoparation
EvoparationEvoparation
EvoparationShivaram
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
Water cycle ppt
Water cycle pptWater cycle ppt
Water cycle pptlowwhite
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวkhanida
 
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-Presented
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-PresentedLinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-Presented
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-PresentedSlideShare
 

Viewers also liked (18)

Evaporation (1)
Evaporation (1)Evaporation (1)
Evaporation (1)
 
Steam tables
Steam tablesSteam tables
Steam tables
 
Laboratory apparatus
Laboratory apparatusLaboratory apparatus
Laboratory apparatus
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
Estimation of Groundwater Recharge Using WetSpass and MODFLOW
Estimation of Groundwater Recharge  Using WetSpass and MODFLOWEstimation of Groundwater Recharge  Using WetSpass and MODFLOW
Estimation of Groundwater Recharge Using WetSpass and MODFLOW
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
analisis prinsip kerja open pan evaporimeter
analisis prinsip kerja open pan evaporimeteranalisis prinsip kerja open pan evaporimeter
analisis prinsip kerja open pan evaporimeter
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...
SIWES INDUSTRIAL TRAINING AT FORESTRY RESEARCH INSTITUTE OF NIGERIA,JERICHO,I...
 
Necesidades de agua de los cultivos paisajismo
Necesidades de agua de los cultivos paisajismoNecesidades de agua de los cultivos paisajismo
Necesidades de agua de los cultivos paisajismo
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
Evoparation
EvoparationEvoparation
Evoparation
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
Water cycle ppt
Water cycle pptWater cycle ppt
Water cycle ppt
 
Evaporation ppt
Evaporation pptEvaporation ppt
Evaporation ppt
 
evapotranspiracion
evapotranspiracionevapotranspiracion
evapotranspiracion
 
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิวปริมาตรและพื้นที่ผิว
ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-Presented
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-PresentedLinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-Presented
LinkedIn SlideShare: Knowledge, Well-Presented
 

Similar to Evaporation (1)

สุทัตตา หงษ์ลอยลม
สุทัตตา   หงษ์ลอยลมสุทัตตา   หงษ์ลอยลม
สุทัตตา หงษ์ลอยลมsutatta126
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำnawiga555
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำporntawee445
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำsutatip745
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำsutatip
 
ภัททิยา ยืนยง
ภัททิยา ยืนยงภัททิยา ยืนยง
ภัททิยา ยืนยงpattiya125
 
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfการระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfWarongWonglangka
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1amloveyou
 

Similar to Evaporation (1) (11)

สุทัตตา หงษ์ลอยลม
สุทัตตา   หงษ์ลอยลมสุทัตตา   หงษ์ลอยลม
สุทัตตา หงษ์ลอยลม
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
วัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำวัฏจักรของน้ำ
วัฏจักรของน้ำ
 
Fon ม.3
Fon  ม.3Fon  ม.3
Fon ม.3
 
ภัททิยา ยืนยง
ภัททิยา ยืนยงภัททิยา ยืนยง
ภัททิยา ยืนยง
 
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdfการระบายน้ำในบริเวณ.pdf
การระบายน้ำในบริเวณ.pdf
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Drainage.pdf
Drainage.pdfDrainage.pdf
Drainage.pdf
 

More from Kasetsart University

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ PresentKasetsart University
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUKasetsart University
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวKasetsart University
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateKasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...Kasetsart University
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisKasetsart University
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimKasetsart University
 

More from Kasetsart University (20)

ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KUสรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
สรุปข้อมูลการศึกษาดูงานเพื่อการนำเสนอ วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ WE KU
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3 Soil triaxial data Group 1-3
Soil triaxial data Group 1-3
 
Triaxcial test
Triaxcial testTriaxcial test
Triaxcial test
 
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียวการทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดแกนเดียว
 
Calender2555
Calender2555Calender2555
Calender2555
 
Hw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing updateHw assignments on flood routing update
Hw assignments on flood routing update
 
Applied hydrology
Applied hydrologyApplied hydrology
Applied hydrology
 
Applied hydrology nsn
Applied hydrology nsnApplied hydrology nsn
Applied hydrology nsn
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบรายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบซีเมนต์ ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา และการทดสอบ
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Compaction test
Compaction testCompaction test
Compaction test
 
Compaction test data sheet
Compaction test data sheetCompaction test data sheet
Compaction test data sheet
 
Sieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysisSieve analysis and hydrometer analysis
Sieve analysis and hydrometer analysis
 
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.NimtimHomework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
Homework Ground water Eng.#3 S.Nimtim
 
Grain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.NimtimGrain size analysis By S.Nimtim
Grain size analysis By S.Nimtim
 
Compaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.NimtimCompaction Test By S.Nimtim
Compaction Test By S.Nimtim
 

Evaporation (1)

  • 1. อุทกวิทยา (Hydrology) การระเหยและการคายนํา ้ (EVAPORATION AND TRANSPRIRATION) ี การสูญเสยทางอุทกวิทยา (Hydrologic Abstractions) ่ ั  เป็ นทีแน่ชดว่า ปริมาณนํ้ าจากอากาศ หรือ นํ้ าฝน เมือตก ่ ่พนโลกแล ้ว จะไหลบ่าลงสูทตําและกลายเป็ นปริมาณ ลงสู ื้ ่ ี่ ่ นํ้ าท่าไหลในแม่นํ้า ่ ่ ื้  แต่ปริมาณนํ้ าฝนทีตกลงสูพนโลกทังหมด อาจไม่สามารถ ้ เปลียนแปลงเป็ นปริมาณนํ้ าท่าได ้ 100% ่  กระบวนการทีทําให ้เกิดการสูญหายไปของนํ้ าฝนก่อน ่ ี เหลือกลายเป็ นปริมาณนํ้ าท่า คือ “การสูญเสยทางอุทก วิทยา” หน้า 2 1
  • 2. Hydrologic Abstractions Rainfall Abstracted Runoff หน้า 3 ี การสูญเสยทางอุทกวิทยา (Hydrologic Abstractions)  ปริมาณการสูญเสยทางอุทกวิทยาทีสําคัญประกอบด ้วย ี ่ • การดักของพืช (Interception) • การขังตามหลุม บ่อ หรือทีลมพืนที่ (Surface storage or ่ ุ่ ้ depression storage) • ึ การซมผ่านผิวดิน (Infiltration) • การระเหย (Evaporation) • การคายระเหย (Evapotraspiration)  ปริมาณนํ้ าฝนทังหมดทีตก เมือหักปริมาณการสูญเสย ้ ่ ่ ี ่ ึ่ เรียกว่าปริมาณนํ้ าฝนสวนเกิน (Rainfall excess) ซงจะมีผล ต่อการเกิดปริมาณนํ้ าท่าต่อไป หน้า 4 2
  • 3. การด ักของพืช (Interception) หน้า 5 การข ังตามหลุมตามบ่อ (Depression storage) หน้า 6 3
  • 4. การซมผ่านผิวดิน (Infiltration)  ปริมาณนํ้ าฝนเมือตก่ ่ ื้ ลงสูพนดินแล ้ว นํ้ า ่ บางสวนจะสูญเสยไปี ึ จากการซมลงไปในดิน  Infiltration คือ การ ึ ซมผ่านผิวดินของนํ้ าลง ไปในดิน หน้า 7 ้ องค์ประกอบของเนือหา  การระเหย (evaporation)  การคายนํ้ า (transpiration)  การคายนํ้ ารวมการระเหย (evapotranspiration) หน้า 8 4
  • 5. การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา ้ 2 4 5 1 3 หน้า 9 การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา ้  ในวัฏจักรของนํ้ า การระเหยสามารถเกิดขึนได ้ตลอดเวลา ้ ่ ในทุกกระบวนการของวัฏจักรของนํ้ า เชน • การระเหยทีเกิดขึนขณะทีนํ้าจากอากาศกําลังตกลงสูพนโลก ่ ้ ่ ่ ื้ • การระเหยจากทะเลมหาสมุทร • การระเหยจากนํ้ าทีค ้างหรือเก็บกักด ้วยต ้นไม ้ใบหญ ้า ่ • การระเหยจากแหล่งนํ้ าจืด • การระเหยจากดิน • การระเหยจากการคายนํ้ าของพืช หน้า 10 5
  • 6. การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา ้ ึ ึ  ในการศกษาด ้านอุทกวิทยา มีความจําเป็ นต ้องศกษาการ ่ ้ ่ ระเหยเพือนํ าไปวิเคราะห์ปริมาณนําฝนสวนเกินทีจะตกลง ่ ้ บนพืนโลก ทีสามารถทําให ้เกิดปริมาณนํ้ าท่าได ้ ่ ้  นักอุทกวิทยาใชข ้อมูลปริมาณนํ้ าฝนทีวัดได ้จากสถานีวด ่ ั ่ นํ้ าฝนไปวิเคราะห์ปริมาณนํ้ าฝนสวนเกิน  อย่างไรก็ตามการวัดนํ้ าฝนจะวัดเหนือ พืนดินเพียงตามระยะของเครืองมือ (ไม่ก ี่ ้ ่ ฟุต) หน้า 11 การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา ้  ดังนั นปริมาณการระเหยในทางอุทวิทยาจึงพิจารณาเฉพาะ ้ ่ ้ ึ่ ปริมาณการระเหยทีเกิดระหว่างสถานีตรวจวัด ถึงพืนดิน ซง ครอบคลุมการระเหยต่อไปนี:้ • การระเหยจากนํ้ าทีค ้างหรือเก็บกักด ้วยต ้นไม ้ใบหญ ้า ่ • การระเหยจากพืนดิน ้ • การคายระเหยและการคายนํ้ าของพืช • ่ การระเหยจากผิวนํ้ าจืด เชน หนองนํ้ า บึง และอ่างเก็บนํ้ า  การระเหยต่อไปนีจะไม่นํามาพิจารณา ้ • ึ่ การระเหยโดยตรงจากเม็ดฝน ซงเกิดขึนขณะทีนํ้าจากอากาศ ้ ่ ่ ื้ กําลังตกลงสูพนโลก • การระเหยจากทะเลมหาสมุทร หน้า 12 6
  • 7. การระเหยในว ัฏจ ักรของนํา ้ ้  นอกจากการระเหยจะใชในการวิเคราะห์ปริมาณนํ้ าฝน ่ สวนเกินเพือประเมินปริมาณนํ้ าท่าแล ้ว ่ • บางครังปริมาณการระเหยของนํ้ าจะเป็ นแฟคเตอร์ทสําคัญในการ ้ ี่ ิ ตัดสนใจเกียวกับการออกแบบอ่างเก็บนํ้ าในพืนทีทรกันดารหรือ ่ ้ ่ ุ แห ้งแล ้ง (arid region) • การระเหยและการคายนํ้ า (การคายระเหย) จะเป็ นดรรชนีบอกถึง ่ ื้ การเปลียนแปลงหรือการลดความชนในลุมนํ้ า และเป็ นแฟคเตอร์ ่ ทีสําคัญทีใชในการคํานวณความต ้องการนํ้ าของพืชทีปลูกใน ่ ่ ้ ่ โครงการชลประทานต่าง ๆ หน้า 13 การระเหย (Evaporation)  กระบวนการระเหย คือ การทีนํ้าในสถานะ ่ ของเหลวเปลียน ่ สถานะกลายเป็ นไอนํ้ า (water vapor)  ทางด ้านอุทกวิทยานั นการระเหยหมายถึง อ ัตราการ ้ เปลียนแปลงปริมาณไอนําหรือโมเลกุลของนําสุทธิไปสู่ ่ ้ ้ บรรยากาศ หน้า 14 7
  • 8. การระเหย (Evaporation)  ในสภาพธรรมชาติ บริเวณผิวนํ้ า กับบรรยากาศนันจะมีการ ้ แลกเปลียนโมเลกุลของนํ้ า ่ ตลอดเวลา • มีทงการระเหย (โมเลกุลของ ั้ ่ นํ้ าหลุดออกสูบรรยากาศ) • และการกลันตัว (โมเลกุลของ ่ ่ ิ นํ้ าจากบรรยากาศกลับคืนสูผว นํ้ า)  การระเหยจะหยุดก็ตอเมืออัตรา ่ ่ การระเหยเท่ากับการกลันตัว ่ หน้า 15 แฟคเตอร์ควบคุมกระบวนการระเหย  อัตราการระเหยนํ้ าขึนอยูกบแฟคเตอร์ทสําคัญ 2 ประการ ้ ่ ั ี่ คือ • แฟคเตอร์เกียวกับอุตนยมหรือสภาพลมฟ้ าอากาศ ่ ุ ิ (Meteorological factors) • แฟคเตอร์เกียวกับลักษณะของผิวทีมการระเหย ่ ่ ี (Nature of evaporation surface) หน้า 16 8
  • 9. แฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยมวิทยา ่ ุ ิ (Meteorological factors)  เนืองจากการระเหยของ ่ นํ้ าเป็ นกระบวนการ solar radiation แลกเปลียนพลังงาน ่ ี  รังสแสงอาทิตย์ (solar radiation) จึงเป็ นแฟคเตอร์ ทีสําคัญมากทีสดต่อการ ่ ่ ุ evaporation ึ่ ระเหย ซงมีการเปลียนแปลง ่ ตาม: • ละติจด ู • ฤดูกาล • เวลาของวัน • และสภาพของท ้องฟ้ า หน้า 17 แฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยมวิทยา ่ ุ ิ (Meteorological factors)  อัตราการระเหยยังขึนอยูกบแฟคเตอร์อน ๆ อีกคือ ้ ่ ั ื่ • ความเร็วลม • อุณหภูมของอากาศ ิ • ความดันไอนํ้ า • และอาจขึนอยูกบ ้ ่ ั ความดันบรรยากาศอีกด ้วย หน้า 18 9
  • 10. ข้อคิด - ทําไมอากาศอิมต ัว ่  ความร ้อน • ทําให ้โมเลกุลของนํ้ าเคลือนทีเร็วจนชนะแรงยึดเหนียวหลุดสู่ ่ ่ ่ บรรยากาศ (การระเหย)  อากาศอิมตัว ่ • เมือโมเลกุลของนํ้ าเต็มความจุของอากาศจะกลันตัว ่ ่  การลดอุณหภูม ิ • อากาศเย็นทําให ้เกิดการควบแน่นได ้ดีกว่าอากาศร ้อน เนืองจากโมเลกุลของไอนํ้ าเย็นมี ่ ี พลังงานน ้อยกว่า จึงสูญเสย ความเร็วและเปลียนสถานะเป็ น ่ ของเหลวได ้ง่าย หน้า 19 แฟคเตอร์เกียวก ับล ักษณะของผิวทีมการระเหย ่ ่ ี (Nature of evaporation surface) ่ ่  พืนผิวต่าง ๆ ทีได ้รับนํ้ าฝนโดยตรง เชน พืนดิน พืนหญ ้า ้ ้ ้ พืนถนน หรืออาคาร จะเป็ นผิวทีการระเหยมีโอกาสเกิดขึน ้ ่ ้ เต็มที่ เนืองจากพืนทีดงกล่าว สามารถรับแสงแดดได ้เต็มที่ ่ ้ ่ ั  อัตราการระเหยบนพืนผิวทีมนํ้านั น จะมีจํานวนจํากัดโดย มี ้ ่ ี ้ ค่าไม่เกินจํานวนนํ้ าฝนทีต ้องการทําให ้ผิวดังกล่าวอิมตัวด ้วย ่ ่ ั นํ้ า (ศกยภาพในการรับนํ้ าของแต่ละพืนผิว) ้ หน้า 20 10
  • 11. แฟคเตอร์เกียวก ับล ักษณะของผิวทีมการระเหย ่ ่ ี (Nature of evaporation surface)  อัตราการระเหยจะมีคามากในระยะเริมต ้น ่ ่  เมือการระเหยเกิดขึนต่อไปเรือย ๆ พืนผิว (ดิน) ก็จะเริม ่ ้ ่ ้ ่ แห ้ง อัตราการระเหยลดลงและอุณหภูมของดินจะสูงขึนเพือ ิ ้ ่ รักษาการสมดุลของพลังงาน  เมือถึงระยะเวลาหนึง การะเหยก็จะหยุดเพราะไม่มกรรมวิธ ี ่ ่ ี ่ ่ ึ ้ ่ ิ ทีจะดึงนํ้ าทีอยูลกลงไปขึนมาสูผวดิน เพือการระเหยได ้อีก ่ ่ หน้า 21 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้  เนืองจากอ่างเก็บนํ้ า มีวตถุประสงค์หลักในการเก็บนํ้ าในฤดูฝน ่ ั ้ ้ ไว ้ใชตลอดปี หรือไว ้ใชในฤดูแล ้ง ี ิ่  การสูญเสยของปริมาณนํ้ าไปโดยเปล่าประโยชน์จงเป็ นสงที่ ึ ต ้องพิจารณา ี ํ  การสูญเสยจากการระเหยจากผิวนํ้ ามีความสาคัญมากอย่างหนึง ่ เนืองจากอ่างเก็บนํ้ ามีพนทีผวนํ้ ามาก ่ ื้ ่ ิ  ดังนันต ้องมีการคํานวณหาอัตราการระเหยเพือให ้ทราบปริมาณ ้ ่ นํ้ า เพือวางแผนบริหารนํ้ า หรือจ่ายนํ้ าได ้อย่างเพียงพอทังปี ่ ้ หน้า 22 11
  • 12. อ่างเก็บนํา ้ หน้า 23 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้  การวัดการระเหยโดยตรงในสนามอาจจะกระทําได ้ยากหรือ ึ่ เป็ นไปไม่ได ้เลย ซงไม่เหมือนกับการวัดระดับนํ้ าของแม่นํ้า หรือปริมาณนํ้ าฝน  ดังนั นจึงมีผู ้เสนอวิธการต่างๆ ในการคํานวณการระเหยจาก ้ ี อ่างเก็บนํ้ า ดังนี้ • หลักดุลยภาพของนํ้ า (Water Budget Determination) • หลักดุลยภาพของพลังงาน (Energy Budget Determination) • วิธ ี Aerodynamic • ้ ใชข ้อมูลถาดวัดการระเหยและข ้อมูลอุตนยมวิทยาทีเกียวข ้อง ุ ิ ่ ่ หน้า 24 12
  • 13. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้ ้  วิธนจะใชหลักการของสมดุลของนํ้ า (water budget) คือ ี ี้ นํ้ าจะไม่การสูญหาย แต่จะมีการเปลียนสถานะและเปลียน ่ ่ ตําแหน่งทีอยู่ ่ ึ่  ข ้อมูลทีจําเป็ นในการวิเคราะห์ซงต ้องตรวจวัดได ้จากอ่าง ่ เก็บนํ้ า (สมมติฐานคือ ข ้อมูลต่างๆ วัดได ้จริง) • ปริมาตรนํ้ าทีมอยูในอ่างเก็บนํ้ า (storage, S) ่ ี ่ • ปริมาณนํ้ าทีไหลเข ้าอ่าง (surface inflow, I) ่ • ปริมาณนํ้ าทีไหลออกจากอ่าง (surface outflow, O) ่ • ึ ั้ การรั่วซมลงไปในดินชนล่าง (subsurface seepage, Og ) • และปริมาณนํ้ าฝน (Precipitation, P) หน้า 25 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้ ่ ้  สมการทีใชในการวิเคราะห์คอสมการต่อเนือง ื ่ S  Inflow  Outflow S  ( I  P )  (O  Og  E ) E  ( S1  S 2 )  I  P  O  Og E  S  I  P  O  Og Inflow (I) Evaporation (E) Precipitation (P) Outflow S (O) Storage (S) Outflow Seepage (Og) (O) หน้า 26 13
  • 14. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้  ทฤษฎีวธนดเหมือนว่าเป็ นวิธทงายมาก แต่ในทางปฏิบต ิ ิ ี ี้ ู ี ี่ ่ ั ้ ่ ่ ื่ นั นจะไม่คอยได ้ค่าทีเชอถือได ้มากนัก  การคํานวณด ้วยวิธนจะมีความถูกต ้องสูงเมือ ค่าต่างๆ ใน ี ี้ ่ สมการต่อเนือง (I, P, Og, O, S) สามารถวัดได ้โดยตรง ่  แต่ในทางปฏิบตไม่สามารถวัดค่าต่างๆ ได ้โดยตรง ดังนั น ั ิ ้ การคํานวณด ้วยวิธนจะมีความผิดพลาดตามไปด ้วย ี ี้ หน้า 27 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้  ความผิดพลาดจากการประเมินค่าปริมาณนํ้ าฝน (P ) • จะไม่คอยมีปัญหามากนัก ่ − ถ ้าพิจารณาค่าเฉลียความลึกนํ้ าฝนทีสถานีตางๆ ทีตงอยูบนฝั่ งรอบๆ อ่าง ่ ่ ่ ่ ั้ ่ เก็บนํ้ า เป็ นค่าความลึกนํ้ าฝนทีตกลงมาในอ่างฯ ่ • แต่ความผิดพลาดยังคงมีเนืองจาก ่ − ไม่มการติดตังสถานีวดนํ้ าฝนรอบอ่างโดยตรงเนืองจาก ี ้ ั ่ – ทําได ้ยาก และสิ ้นเปลืองค่าใช ้จ่ายมาก − แม ้มีการติดตังสถานี แต่ในกรณีทภมประเทศรอบ ๆ อ่างมีลกษณะสูงชัน ้ ี่ ู ิ ั มากเกินไป – การใช ้ข ้อมูลนํ้ าฝนเฉลียจากสถานีรอบ ๆ อ่าง อาจคลาดเคลือนได ้ ่ ่ − ถ ้าพืนทีผวนํ้ าของอ่างเก็บนํ้ ามีขนาดใหญ่มาก ้ ่ ิ – อาจทําให ้ลักษณะสภาพอากาศผิดแผกจากภูมประเทศรอบ ๆ ิ – ปริมาณนํ้ าฝนโดยรอบไม่สามารถเป็ นตัวแทนฝนตกในอ่างได ้ หน้า 28 14
  • 15. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้  ความผิดพลาดจากการประเมินปริมาณนํ้ าไหลเข ้าอ่างฯ (I ) • จะมีความถูกต ้องสูงถ ้าปริมาณนํ้ าไหลเข ้าอ่างวัดค่าได ้ − ต ้องมีการตังสถานีวดนํ้ าท่าในทุกจุดทีนํ้าไหลเข ้าอ่างฯ ้ ั ่ • จะมีความผิดพลาดเมือไม่สามารถวัดนํ้ าไหลเข ้าอ่างได ้โดยตรง ่ − ต ้องประเมินโดยใช ้หลักการทางอุทกวิทยา ซึงก่อให ้เกิดความ ่ ่ คลาดเคลือนได ้ ซึงความคลาดเคลือนขึนอยูกบ: ่ ่ ้ ่ ั – จํานวนเปอร์เซ็นต์ของพืนทีลมนํ้ าทีไม่มสถานีวดนํ้ า ้ ่ ุ่ ่ ี ั ่ – ความเชือถือได ้ของโค ้งปริมาณนํ้ า (rating curve) หน้า 29 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้ ึ  ความผิดพลาดจากการวัดอัตราการรั่วซม (Og ) • ึ ั้ อัตราการรั่วซมลงไปในดินชนล่างจะคํานวณจากการวัดระดับนํ้ า ใต ้ดินและค่า permeability ของดิน − ่ ซึงมีความผิดพลาดค่อนข ้างสูง  ความผิดพลาดจากการวัดปริมาณนํ้ าไหลออก (O) • ื่ ่ ้ ขึนอยูกบความน่าเชอถือของสมการทีใชในการคํานวณปริมาณ ้ ่ ั นํ้ าไหลออกทีอาคารทางออกต่างๆ ่ − Spillway − River outlet หน้า 30 15
  • 16. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของนํา ้  ความผิดพลาดจากการประเมิน ค่าการเปลียนแปลง ่ ปริมาตรเก็บกัก ( S ) • ขึนอยูกบความถูกต ้องในการเก็บข ้อมูลระดับขึนลงของนํ้ าในอ่าง ้ ่ ั ้ • จะมีความผิดพลาด 12 10 8 ้ ่ ิ ้ พืนทีผวนํา (ตร. กม.) 6 4 2 0 น ้อย 168 − ถ ้าหากว่าความสัมพันธ์ 166 ระหว่างระดับและพืนที่้ ระด ับ (ม.รทก.) 164 ผิวนํ้ า (stage area 162 relationship) นัน ้ ถูกต ้องเพียงพอ 160 ปริมาตรเก็บกัก 158 พืนทีผวนํ้า ้ ่ ิ 156 154 0 5 10 15 20 25 30 35 40 หน้า 31 ปริมาตรเก็บก ัก (ล้าน ลบ.ม.) การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน ้  วิธการใชหลักดุลยภาพของพลังงานคํานวณหาปริมาณการ ี ้ ระเหยก็คล ้ายๆ กับการใชหลักดุลยภาพของนํ้ า • ้ กล่าวคือ ใชสมการต่อเนืองในรูปของพลังงาน ่ • และคํานวณหาปริมาณการระเหยจากปริมาณทีเหลือเพือรักษา ่ ่ ดุลยภาพหรือการสมดุลของพลังงาน  ปั จจุบนการคํานวณปริมาณการระเหยด ้วยวิธนี้ ั ี • ่ ้ ้ สวนมากจะใชเฉพาะในงานวิจัยและไม่ใชกว ้างขวางในกรณีทวๆ ั่ ไป • ี นอกเสยจากว่าจะมีการปรับปรุงเครืองมือในการวัดข ้อมูลให ้ ่ ทันสมัยยิงขึน ่ ้ หน้า 32 16
  • 17. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  สมการสมดุลพลังงานมีรปแบบดังนี้ ู Qn  Qh  Qe  Qz  Qv Qn คือ ี ุ รังสสทธิจากดวงอาทิตย์ (net radiation) ของทุก คลืนความถีทถกดูดเก็บ (absorbed) โดยนํ้ า ่ ่ ี่ ู ่ Qh คือ sensible heat ทีถายกลับคืนสูบรรยากาศ ่ ่ ้ Qe คือ พลังงานทีจําเป็ นต ้องใชในการระเหย ่ Qz คือ จํานวนพลังงานทีเพิมขึนและเก็บกักโดยนํ้ าในอ่าง ่ ่ ้ Qv คือ พลังงานสุทธิท ี่ advect ลงไปในนํ้ าในอ่าง พลังงานสุทธิของนํ้ าไหลเข ้าและไหลออกจากอ่างเรียกว่า advected energy ทุกเทอมมีหน่วยเป็ นคาลอรีตอตารางเซนติเมตร ่ ่ หน้า 33 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  ทําการจัดรูปสมการพลังงานใหม่ ทําให ้ได ้สมการการคํานวณ ปริมาณการระเหย (E) ในหน่วย เซนติเมตร มีดงนี้ ั • Hv คือ ปริมาณความร ้อนทีมวลสารดูดเข ้าไป ่ Qn  Qh  Qe  Qz  Qv ในการเปลียนจากนํ้ าเป็ นไอ (latent heat of ่ vaporization) ่ • R คือ อัตราสวนปริมาณความร ้อนทีสญเสย ่ ู ี โดยการนํ า (conduction) ต่อปริมาณความ Qn  Qv  Qz ี ่ึ ร ้อนทีสญเสยโดยการระเหย ซงเรียกว่า ่ ู E ่ อัตราสวนโบเวน (Bowen ratio) H v 1  R  •  คือ density ของนํ้ า • p คือ ความดันบรรยากาศ (มิลลิบาร์) T Ta p R  0.61 o . • Ta คือ อุณหภูมของบรรยากาศ (องศาเซลเซียส) ิ e o  e a 1000 • ea คือ ความดันไอนํ้ าของบรรยากาศ (มิลลิบาร์) • To คือ อุณหภูมของผิวนํ้ า (องศาเซลเซียส) ิ • eo คือ ความดันไอนํ้ าทีจดอิมตัวเมืออุณหภูม ิ To ่ ุ ่ ่ หน้า 34 17
  • 18. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  จากสมการ Qn  Qv  Qz E H v 1  R  Qn  Qh  Qe  Qz  Qv To  T a p R  0.61 . eo  ea 1000  พบว่า • ้ ่ ค่าของ Qh นันทําการวัดหรือคํานวณได ้ยาก จึงนิยมใชอัตราสวน ้ โบเวนเพือจะตัดเทอม Qh ออกจากสมการพลังงาน ่ • ่ ้ ่ ่ ่ โบเวนได ้พบว่าค่าคงทีในสมการ (R) นันมีคาอยูในชวงระหว่าง 0.58 ถึง 0.66 − ่ ซึงจะขึนอยูกบความมั่นคง (stability) ของบรรยากาศ ้ ่ ั • ้ และได ้สรุปว่าค่า 0.61 นีจะใชในกรณีทสภาพบรรยากาศปกติทั่วไป ้ ี่ • ค่า Qn ประมาณได ้จากสมการต่อไปนี้ หน้า 35 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  จากสมการ Qn  Qv  Qz E H v 1  R  ี ุ สมการรังสสทธิจากดวงอาทิตย์ สมการสมดุลนํ้ า (Water budjet) Qn  Qs  Qr  Qa  Qar  Qo S 2  S1  I  P  O  Qg  E X (คูณด ้วย) ่ อุณหภูมของนํ้ าในสวนต่างๆ ิ 1 Qv  Q z  ( IT I  PT p  OT o  Q gT g  ET E  S 1T1  S 2T 2 ) A หน้า 36 18
  • 19. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน ี ุ  ค่ารังสสทธิจากดวงอาทิตย์ (Qn) จะต ้องประมาณให ้ถูกต ้อง มากทีสด จากสมการ ่ ุ Qn  Qs  Qr  Qa  Qar  Qo • ี ่ ั้ Qs คือ รังสคลืนสน (shortwave radiation) จากดวงอาทิตย์และ ท ้องฟ้ าทีตกลงบนผิวนํ้ า ่ • ี ่ ั้ ่ Qr คือ รังสคลืนสนทีสะท ้อนกลับออกไป • ี ่ Qa คือ รังสคลืนยาว (longwave radiation) ทีตกหรือปรากฏ ่ ที่ ั้ ชนบรรยากาศ • ี ่ Qar คือ รังสคลืนยาวทีสะท ้อนกลับออกไป ่ • Qo คือ รังส ่ ีคลืนยาวทีถกปล่อยออกมา (emitted longwave ่ ู radiation) หน้า 37 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  ค่าของ energy advection และ storage (เทอม Qv-Qz ในหน่วย คาลอรี/ตร. ซม.) คํานวณจากสมการ ่  ทุก ๆ เทอมในสมการสมดุลนํ้ า มี สมการสมดุลนํ้ า (Water budjet) หน่วยเป็ น ลบ. ซม. S 2  S1  I  P  O  Qg  E  เนืองจากพลังงาน (คาลอรี) ที่ ่ ่ สะสมต่อนํ้ าหนักหนึงกรัมของนํ้ า คือ ่ ผลคูณของความร ้อนจําเพาะ X (คูณด ้วย) (specific heat) และอุณหภูม ิ อุณหภูมของนํ้ าในสวนต่างๆ ิ ่  ถ ้าให ้ความหนาแน่นของนํ้ าและ (TI , T p , To , Tg , TE , T1 , T2 ) ความร ้อนจําเพาะมีคาเท่ากับ 1 ก็จะ ่ ได ้ 1 Qv  Q z  ( IT I  PT p  OT o  Q gT g  ET E  S 1T1  S 2T 2 ) A TI, TP …คือ อุณหภูมในส่วนต่างๆ (องศาเซลเซียส) ิ หน้า 38 A คือ พืนผิวนํ้ าของทะเลสาบหรืออ่างเก็บนํ้ า (ตร.ซม.) ้ 19
  • 20. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยหล ักดุลยภาพของพล ังงาน  อุณหภูมของนํ้ าฝนจะสมมุตเท่ากับอุณหภูมกระเปาะเปี ยก ิ ิ ิ (wet-bulb temperature) ิ ่ ึ  อุณหภูมของนํ้ าทีซมลงไปในดินจะสมมุตเท่ากับอุณหภูม ิ ิ ของนํ้ าในอ่างทีลกทีสดหรือทีก ้นอ่าง ่ ึ ่ ุ ่ ่  สวนอุณหภูมของนํ้ าทีระเหยจะเป็ นอุณหภูมของนํ้ าทีผวนํ้ า ิ ่ ิ ่ ิ ในอ่างนั่นเอง หน้า 39 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยวิธ ี Aerodynamic  การพัฒนาสมการแบบ turbulent-transport นั นมาจาก ้ แนวความคิดพืนฐานสองวิธด ้วยกันคือ ้ ี • การผสมไม่ตอเนือง (discontinuous) หรือ mixing-length ่ ่ − ่ ซึงเกิดจากแนวความคิดของ Prandtl และ Schmidt • การผสมแบบต่อเนือง (continuous mixing) ่ − ่ ซึงเป็ นแนวคิดของ Taylor ี ้ ้ ้  ต่อจากนั นได ้มีการทบทวนนํ าเอาวิธทังสองนีไปใชโดยเริม ้ ่ เตรียมการทดลองล่วงหน ้าทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์ (Hefner) ่ และทะเลสาบมี๊ ด (Mead) หน้า 40 20
  • 21. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยวิธ ี Aerodynamic  สมการทีคดค ้นขึนโดย Sverdrup และ Sutton นํ าเอาไป ่ ิ ้ ตรวจสอบความถูกต ้องทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์ (Hefner) และ ่ ทะเลสาบมี๊ ด (Mead) • สมการให ้ผลเป็ นทีน่าพอใจทีทะเลสาบเฮฟเน่อร์ ่ ่ • ้ แต่ไม่ถกต ้องเพียงพอเมือไปใชกับทะเลสาบมี๊ ด ู ่ หน้า 41 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยวิธ ี Aerodynamic  สมการเอมไพริกลต่าง ๆ ทีพัฒนาขึนจะพิจารณาการระเหยเป็ น ั ่ ้ ั่ ่ ฟั งก์ชนกับสวนย่อย ๆ ของบรรยากาศและจะมีแนวทางคล ้าย ๆ กับ ่ วิธการ turbulent-transport ในบางสวน ี ่ ้  ยกตัวอย่างสมการของ Dalton ทีใชคํานวณการระเหยดังนี้ E  eo  ea a  bV  • e0 คือ ความดันไอนํ้ าทีผวนํ้ า่ ิ ้ ในบางกรณีใชค่าความดันไอนํ้ าทีจดอิมตัว เมืออุณหภูม ิ ่ ุ ่ ่ เท่ากับอุณหภูมของอากาศ ิ • ่ ุ ึ่ ea คือ ความดันไอนํ้ าทีจดซงมีความสูงคงทีจากผิวนํ้ า ่ หรือทีจดในอากาศทีอยูเหนือผิวนํ้ า ่ ุ ่ ่ • V คือ ความเร็วลมทีจดสูงคงทีจดหนึง ่ ุ ่ ุ ่ หน้า 42 21
  • 22. การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยวิธ ี Aerodynamic ั ่ ้ ้  สูตรเอมไพริกบหลายสูตรด ้วยกันทีพัฒนาขึนโดยใชข ้อมูล ทีรวบรวมจากทะเลสาบเฮฟเน่อร์อาทิเชน ่ ่ E  0.00304(eo  e2 )V4 E  0.00241(eo  e8 )V8 E  0.00271(eo  e2 )V4 • E คือ ปริมาณการระเหย (นิวต่อวัน) ้ • e คือ ความดันไอนํ้ า (นิวของปรอท) ้ • V คือ ความเร็วลม (ไมล์ตอวัน) ่ • ตัวเลข subscripts ต่าง ๆ คือ ความสูงทีอยูเหนือผิวนํ้ า (เมตร) ่ ่ หน้า 43 การคํานวณการระเหยจากอ่างเก็บนํา ้ ด้วยวิธ ี Aerodynamic  ถ ้าหากว่า • ความดันไอนํ้ ามีหน่วยเป็ นมิลลิบาร์ • ความเร็วลมมีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที • และปริมาณการระเหยมีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรต่อวัน จะได ้ E  0.122(eo  e2 )V4 E  0.097(eo  e8 )V8 E  0.109(eo  e2 )V4  สมการแรกให ้ผลการคํานวณดีทสดทีทะเลมี๊ ด ี่ ุ ่  และเหตุผลประกอบหลายประการจึงเชอว่าเป็ นวิธทดสําหรับ ื่ ี ี่ ี ้ ประยุกต์ใชในกรณีทวไป ่ั หน้า 44 22
  • 23. ้ ้ คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ ุ ิ  ถาดวัดการระเหย (pan evaporation) • ่ ่ ิ ้ เป็ นเครืองมือวัดการระเหยทีนยมใชกันมากทีสดในปั จจุบน ่ ุ ั • ้ ข ้อมูลทีได ้จากถาดวัดการระเหยจะนํ าไปใชงานออกแบบ ่ ทางด ้านอุทกวิทยาและการจัดการโครงการพัฒนาแหล่งนํ้ าต่างๆ  ถึงแม ้ว่าถาดวัดการระเหย ยังเป็ นทีวพากษ์วจารณ์ ่ ิ ิ เกียวกับความถูกต ้องทาง ่ ด ้าน theoretical grounds ก็ตาม หน้า 45 ้ ้ คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ ุ ิ  อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ ้ ่ ั • ขนาด − โดยทั่วไปการระเหยจากถาดขนาดใหญ่จะมากกว่าจากถาดขนาดเล็ก อย่างเห็นได ้ชัด ้ – ถ ้าความชืนสัมพัทธ์ของอากาศตํา ่ − ความแตกต่างระหว่างอัตราการระเหยจากถาดทีมขนาดไม่เท่ากันจะลด ่ ี น ้อยลง ้ – แต่ถ ้ามีความชืนสัมพัทธ์ของอากาศเพิมขึน่ ้ – ถ ้าในบริเวณรอบ ๆ ถาดวัดการระเหยมีการปลูกต ้นไม ้ จะควบคุม ้ ให ้มีความชืนสัมพันธ์คอนข ้างสูงอยูเสมอ ่ ่ หน้า 46 23
  • 24. ้ ้ คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ ุ ิ  อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ ้ ่ ั • สี − เนืองจากสีดําจะดูดพลังงานความร ้อนไว ้ได ้มากกว่าสีออน ่ ่ − ้ ่ ี ี ดังนันการระเหย จากถาดทีมสดําจะมากกว่าการระเหยจากถาดขนาด ี ี ่ เดียวกันแต่มสออนกว่า • ี่ ้ วัสดุทใชทําถาด − การระเหยจากถาดทีทําด ้วยทองแดงจะมากกว่าถาดทีทําด ้วย ่ ่ อะลูมเนียม ิ หน้า 47 ้ ้ คํานวณการระเหยโดยใชขอมูลจากถาดว ัดการ ระเหยและข้อมูลอุตนยมวิทยาต่างๆ ุ ิ  อัตราการระเหยจากถาดวัดการระเหย ขึนอยูกบ ้ ่ ั • ระดับนํ้ าในถาด − ถาดทีมระดับนํ้ าอยูตํากว่าจะมีการระเหยมากกว่าถาดทีนํ้าลึก ่ ี ่ ่ ่ – ทังนีเพราะผิวนํ้ าของถาดทีมระดับนํ้ าตํากว่าจะได ้รับความ ้ ้ ่ ี ่ กระทบกระเทือนจากความปั่ นป่ วนของลมทีพัดผ่านมากกว่า ่ – นอกจากนันขอบของถาดยังมีอณหภูมสง เนืองจากทีผวทีสมผัส ้ ุ ิ ู ่ ่ ิ ่ ั กับแสงแดดและบรรยากาศมากกว่า อุณหภูมของนํ้ าในถาดทีมนํ้า ิ ่ ี ตืนจะสูงกว่า ้ − ถึงอย่างไรก็ตาม การเปลียนแปลงระดับนํ้ าในถาดนันจะมีผลต่ออัตรา ่ ้ การระเหยของถาดทีวางอยูบนดินหรืออยูเหนือผิวดินมากกว่าถาดทีฝัง ่ ่ ่ ่ ไว ้ในดิน หน้า 48 24
  • 25. ชนิดของถาดว ัดการระเหย  ถาดวัดระเหย อาจแบ่งออกได ้เป็ น 3 ชนิด คือ • ชนิดฝั งดิน (sunken pan) • ชนิดลอยอยูเหนือนํ้ า (floating pan) ่ • ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan) ่ หน้า 49 ชนิดฝังดิน (sunken pan)  ข ้อดี • ่ สามารถขจัดอุปสรรคอันเกิดจาก boundary effect อาทิเชน − รังสีแสงอาทิตย์ทกระทบและสะสมทีผนังถาด ี่ ่ − การแลกเปลียนความร ้อนระหว่างบรรยากาศกับตัวถาด ่ ี  ข ้อเสย • มีโอกาสทีขยะมูลฝอยจะลงไปในถาดทําให ้ลดอัตราการระเหยลง ่ ได ้ • การติดตังโดยการฝั งลงไปในดินทําได ้ยาก ้ • ่ การล ้างหรือซอมแซม และการตรวจพบการรั่ว ทําได ้ยาก • หญ ้าและวัชพืช เป็ นอุปสรรคต่อความละเอียดถูกต ้อง • การแลกเปลียนความร ้อนระหว่างถาดกับดิน ่ หน้า 50 25
  • 26. ชนิดลอยอยูเหนือนํา (floating pan) ่ ้  ข ้อดี • ค่าการระเหยจากถาดวัดการระเหยทีลอยอยูในอ่างเก็บนํ้ านันจะ ่ ่ ้ ใกล ้เคียงกับปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ าจริง ๆ มากกว่า ปริมาณการระเหยทีวดจากถาดทีวางอยูบนดินรอบ ๆ อ่าง ่ ั ่ ่ ี  ข ้อเสย • จะมีปัญหาเกียวกับ boundary effect มาก ่ • ทําการวัดยากมาก เพราะจะต ้องใชเรือ ้ • การวัดจะมีอปสรรคถ ้าหากผิวนํ้าปั่ นป่ วนมีคลืนมาก ุ ่ • การติดตังและการบํารุงรักษาจะแพงกว่าถาดวัดระเหยประเภทอืน ้ ่ ั ิ ้  ปั จจุบนไม่นยมใชถาดชนิดนี้ หน้า 51 ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan) ่  ถาดวัดการระเหยชนิดทีวางบนผิวดินหรือวางเหนือระดับผิว ่ ดินเล็กน ้อย  ข ้อดี • ประหยัดและง่ายในการติดตัง ้ • ้ การใชงานและการบํารุงรักษาสะดวกกว่าวิธอน ี ื่ ี  ข ้อเสย • ี เกิดการสะสมรังสแสงแดดของผนังถาดและเกิดการแลกเปลียน ่ พลังงานความร ้อนระหว่างถาดกับบรรยากาศมากกว่าแบบฝั งดิน  การป้ องกันทีจะทําได ้ก็คอ การเคลือบผนั งถาดด ้วยฉนวน ่ ื หน้า 52 26
  • 27. ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan) ่  ถาดวัดการระเหยทีนยม ่ ิ ้ ใชกันแพร่หลายและเป็ นที่ ยอมรับขององค์การอุตนยม ุ ิ โลกก็คอ ื • U.S. Weather Bureau Class A Pan • ั้ หรือเรียกสน ๆ ว่า Class A Pan หน้า 53 ถาด Class A Pan  ถาดวัดการระเหยประเภท Class A Pan ก็จัดอยูในถาดชนิดอยูบนดิน ่ ่ • ทําด ้วยเหล็กอาบสังกะสีหรือโลหะทีทนต่อการผุกร่อน ่ • เส ้นผ่าศูนย์กลาง 4 ฟุต ลึก 10 นิว ้ • วางบนแผงไม ้ตะแกรง • ก ้นถาดอยูเหนือระดับดินเดิมประมาณ 4 นิว ่ ้ • นํ้ าทีใส่ลงในถาดจะลึกประมาณ 8 นิว ่ ้ • เมือนํ้ าระเหยไปจนความลึกของนํ้ า ่ เหลือเพียง 7 นิว ก็จะต ้องเติมนํ้ าใหม่ ้ ให ้มีความลึก 8 นิว อย่างเดิม ้ 0.20 m หน้า 54 27
  • 28. ถาด Class A Pan  ปกติจะการวัดการระเหยทุกวัน  ความลึกของการระเหยทีวัดได ้ต ้อง ่ มีการปรับ  หน่วยการวัด - ความลึกของนํ้ าทีระเหยไป  โดยพิจ ารณาความลึก ของนํ้ า ฝนที่ ่ ่ ตกและวัดได ้จากเครืองวัดนํ้ าฝนซึง ่  โดยใช ้ของอ (hook gage) วัดระดับนํ้ าใน โดยมากจะติด ตั ง ควบคู่กับ ถาดวั ด ้ stilling well หน้า 55 การระเหยอยูแล ้ว ่ ชนิดอยูบนผิวดิน (surface pan) ่  นอกจาก Class A Pan แล ้วยังมีถาดวัดการระเหยชนิดอืน ่ อีกมาก ้ ้  การใชถาดวัดการระเหยควรจะใชแบบมาตรฐานและ ประเภทเดียวกัน เพือสะดวกในการเปรียบเทียบข ้อมูลการ ่ ระเหยทีวัดได ้ในทีตาง ๆ กัน ่ ่ ่ ั ิ ์  นอกจากนั นยังทําให ้การเปรียบเทียบค่าสมประสทธิของ ้ ถาดมีความหมายดียงขึน ิ่ ้ หน้า 56 28
  • 29. การปริมาณความสมพ ันธ์ระหว่างการระเหย จากถาดและแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม ่ ุ ิ ั  วัตถุประสงค์ของการหาความสมพันธ์ดงกล่าวก็คอ ั ื • เพือเพิมความรู ้เกียวกับการระเหย ่ ่ ่ ่ ้ • เพือนํ าไปใชคํานวณหาข ้อมูลทีขาดหายไป ่ • เพือนํ าไปคํานวณหาข ้อมูลของสถานีทไม่ได ้ทําการวัดโดยถาด ่ ี่ วัดการระเหย ้ ื่ ้ • เพือใชในการทดสอบข ้อมูลทีได ้มาว่ามีความเชอถือและใชเป็ น ่ ่ ตัวแทนได ้มากน ้อยเพียงไร ่ ่ ึ ั • เพือชวยในการศกษาหาความสมพันธ์ระหว่างปริมาณการระเหย ของนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าหรือทะเลสาบกับปริมาณการระเหยจากถาดวัด การระเหย หน้า 57 ปริมาณการระเหยจากถาด และแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม ่ ุ ิ  ปริมาณการระเหยจากถาดสามารถคํานวณได ้จากสูตรเอม ไพริกลของเพนแมน (Penman) ดังนี้ ั ั ้  คือ ค่าความลาดชนของเสนตรงทีได ้ ่ E 1 Qn   Ea  จากการพล๊อตความดันไอนํ้ าอิมตัวกับ ่   อุณหภูม ิ ทีจดอุณหภูมอากาศเท่ากับ Ta ่ ุ ิ Ea คือ ปริมาณการระเหยจากอ่างทีคํานวณได ้จาก ่ E  e o  e a a  bV  โดยสมมุตให ้อุณหภูมทผวนํ้ า To = Ta ิ ิ ี่ ิ Qn คือ รังสสทธิจากดวงอาทิตย์ ซงมีหน่วยเหมือนกับ ี ุ ึ่ ปริมาณการระเหย To  Ta R   เป็ นค่าคงทีในสมการโบเวน หรือคํานวณได ้จากสูตร ่ eo  ea หน้า 58 29
  • 30. ปริมาณการระเหยจากถาด และแฟคเตอร์เกียวก ับอุตนยม ่ ุ ิ  เพนแมนได ้ประยุกต์ สมการทีเสนอ ไปใชกับ ่ ้ ข ้อมูลหลายสถานีทั่ว ประเทศสหรัฐอเมริกา  และทําการสร ้าง รูปกราฟแสดง ความสมพันธ์ตาง ๆ ทีใช ้ ั ่ ่ ในการประมาณค่าการ ระเหยจากถาดวัดการ ระเหย หน้า 59 ขนตอนการคํานวณการระเหยจากถาด ั้ ด้วยวิธเพนแมน ี ้  หาค่า Ea จากรูปซาย-บน  เมือทราบค่า ่ • อุณหภูมของอากาศ ิ อุณหภูมอากาศเฉลีย • อุณหภูมจดนํ้ าค ้าง ิ ุ ่ • และความเร็วลม Ea ิ หน้า 60 30
  • 31. ขนตอนการคํานวณการระเหยจากถาด ั้ ด้วยวิธเพนแมน ี  คํานวณหาปริมาณการระเหย E จากกราฟรูปใหญ่  เมือทราบข ้อมูล ่ รายวันดังนี้ อุณหภูมอากาศเฉลีย • อุณหภูมของ ิ อากาศเฉลีย ่ • รังส ี ิ แสงอาทิตย์ • ค่า Ea ่ หน้า 61 ปริมาณการระเหยจากถาด (E) ั ิ ์ สมประสทธิถาดว ัดการระเหย (Pan Coefficient)  วิธดลยภาพของนํ้ าดุลยภาพของพลังงานและแอโร ี ุ ์ ไดนามิกสเป็ นการคํานวณหาปริมาณการระเหยจากทะเลสาบ หรืออ่างเก็บนํ้ าโดยตรง ่ ่ ้ • แต่เนืองจากว่ามีความยุงยากและต ้องใชข ้อมูลมากจึงไม่เป็ นที่ ้ นิยมใชในการออกแบบทางอุทกวิทยาต่าง ๆ  การวัดการระเหยด ้วยถาดวัดการระเหยไม่คอยยุงยากหรือ ่ ่ ิ้ ้ สนเปลืองค่าใชจ่ายมากนัก • จึงเป็ นทีนยมในการนํ าข ้อมูลทีได ้จากถาดวัดการระเหยไปใช ้ ่ ิ ่ ประมาณหาค่าปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ า • โดยการคูณค่าการระเหยทีวดได ้จากถาด (Epan) ด ้วย ่ ั ั ิ ์ สมประสทธิของถาด (pan coefficient, Kpan) E  K pan E pan หน้า 62 31
  • 32. ิ ์ ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย แบบ Class A pan จากแหล่งต่างๆ ช่วงปี ของ ช่วงเดือนของ สัมประสิทธิ์ สถานที่ ข ้อมูล ปี Class A Pan Davis, Calif., USA 1966-69 รายปี 0.72 Denver, Colo., USA 1915-16 รายปี 0.67 Felt Lake, Calif., USA 1955 รายปี 0.77 Ft. Collins, Colo., USA 1926-28 เม.ย.-พ.ย. 0.70 Fullerton, Calif., USA 1936-39 รายปี 0.77 Lake Colorado, City, Tex., USA 1954-55 รายปี 0.72 Lake El Sinore, Calif., USA 1939-41 รายปี 0.77 Lake Hefner, Calif., USA 1950-51 รายปี 0.69 Lake Mead, Ariz-Nev, USA 1966-69 รายปี 0.66 Lake Okeechobee, Tex., USA 1940-46 รายปี 0.81 Red Bluff Res., Tex., USA 1939-47 รายปี 0.68 หน้า 63 ั ิ ์ ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย แบบ Class A pan จากแหล่งต่างๆ (ต่อ) ช่วงปี ของ ช่วงเดือนของ สัมประสิทธิ์ สถานที่ ข ้อมูล ปี Class A Pan Salton Sea, Calif., USA 1967-69 รายปี 0.64 Silver Hill, Md., USA 1955-60 รายปี 0.74 Sterling, Va., USA 1965-68 เม.ย.-พ.ย. 0.69 India (Poona) 1965-68 เม.ย.-พ.ย. 0.69 Israel (Lod Airport) 1954-60 รายปี 0.74 Sudan (Khartoum) 1960-61 รายปี 0.65 U.K. (London) 1956-62 รายปี 0.70 U.S.S.R. (Dobovka) 1957-59 พ.ค.-ต.ค. 0.64 1962-67 พ.ค.-ต.ค. 0.64 U.S.S.R. (Valdai) 1949-53 พ.ค.-ก.ย. 0.82 1958-63 พ.ค.-ก.ย. 0.67 หน้า 64 32
  • 33. ิ ์ ค่าสมประสทธิของถาดว ัดการระเหย จากแหล่งต่างๆ (ต่อ) ั ิ ์  จากตัวอย่างค่าสมประสทธิของถาดชนิด Class A Pan จากแหล่งต่าง ๆ ทั่วโลกตามตาราง ั ิ ์  โดยทั่วไปแล ้วค่าสมประสทธิของถาดวัดการระเหยชนิดนี้ จะมีคาประมาณ 0.70 ่ ั้ ่ ิ ้  ด ังนนค่า Kpan = 0.7 จึงเป็ นทีนยมใชกันแพร่หลายใน การคํานวณปริมาณการระเหยจากอ่างเก็บนํ้ า หน้า 65 การคายนํา (Transpiration) ้  ปริมาณนํ้ าทังหมดทีพช ้ ่ ื ดูดผ่านทางรากเข ้าไป มี ่ เพียงสวนน ้อยทียงคงอยูใน ่ ั ่ เนือเยือของพืช ้ ่ ่  นํ้ าสวนใหญ่จะถูกพืชคาย ออกมาในรูปของไอนํ้ าใน บรรยากาศ โดยผ่านทางรู พรุนเล็กๆ ตามผิวใบเรียกว่า stomata (ปากใบ)  กรรมวิธดงกล่าว เรียกว่า ี ั การคายนํา ้ หน้า 66 33
  • 34. การคายนํา (Transpiration) ้  การคายนํ้ าเป็ นกระบวนการทีมความสําคัญ ่ ี • ่ เพราะเป็ นสวนหนึงของวัฎจักรของนํ้ า ่ ้ ึ  ในทางปฏิบตและมักถูกนํ าไปใชในการศกษาเกียวกับดุลย ั ิ ่ ภาพของลุมนํ้ า (สมดุลนํ้ า) ่ • โดยจะพิจารณาการคายนํ้ า (Transpiration) รวมเข ้ากับการ ระเหย (Evaporation) • เรียกว่า การคายนํ้ ารวมการระเหย (การคายระเหย - Evapotranspiration) ึ  ถึงอย่างไรก็ตามจําเป็ นต ้องศกษาแต่ละกรรมวิธให ้เป็ นที่ ี ่ ึ เข ้าใจ ก่อนทีจะศกษาเกียวกับการคายระเหยต่อไป ่ หน้า 67 ้ กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ? ้ ั  ความแตกต่างของค่าศกย์ของนํ้ า (water potential) ระหว่างนํ้ าหล่อ เลียงทีอยูในเซลล์ของรากพืชและนํ้ า ้ ่ ่ ทีอยูในดินบริเวณรากพืชทําให ้เกิด ่ ่ osmotic pressure ึ่  ซงนํ้ าในดินจะเคลือนตัวผ่าน ่ เนือเยือของรากเข ้าไปในเซลล์ของ ้ ่ รากพืช และเคลือนตัวต่อไปยังใบ ่ ด ้วยกระบวนการลําเลียงนํ้ า หน้า 68 34
  • 35. กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ? ้  นํ้ าทีเคลือนทีมายังใบนี้ ่ ่ ่ • ่ จะเข ้าไปอยูในชองว่าง ่ ระหว่างเซลล์ (intercellular space) • ทีอยูภายในใบ ่ ่  นํ้ าในใบจะเคลือนตัวต่อ ่ ่ ึ่ ั ไปสูอากาศ ซงมีศกย์ของนํ้ า ตํากว่า ่ • ผ่านรูสโตเมต ้า (ปากใบ) ึ่ • ซงเรียกกระบวนการนีวา้ ่ “การคายนํ้ า” หน้า 69 ้ กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ? ้ ่ ่ ้  อัตราสวนทีนํ้าคายออกไปต่อจํานวนนํ้ าทีใชในการ ่ ั สงเคราะห์แสง • นันสูงมากถึง 800 เท่า หรือมากกว่า ้ ่ ่ ่  ในขณะทีปากใบเปิ ด อากาศจะเคลือนตัวเข ้าสูใบทางปาก ใบ หน้า 70 35
  • 36. กระบวนการคายนําเกิดขึนได้อย่างไร ? ้  คลอโรพลาสท์ (chloroplasts) ทีอยูภายในใบ ่ ่ • ้ จะใชพลังงานแสง • เพือทําให ้เกิดปฏิกรยาทาง ่ ิ ิ เคมีระหว่าง CO2 จากอากาศ และนํ้ า (H2O) ทีอยูในเซลล์ ่ ่  เพือทําให ้เกิดคาร์โบรไฮเด ่ รทสําหรับการเจริญเติบโตของ พืช  เรียกกระบวนการนีวา “การ ้ ่ ั สงเคราะห์แสง” หน้า 71 กลไกการปิ ดเปิ ดของปากใบ  การปิ ดเปิ ดของปากใบควบคุมโดยความเต่งของเซลล์คม ุ ึ่ (guard cell) ซงจะตอบสนองต่อ • แสง ปริมาณ CO2 และปริมาณนํ้ าทีพชได ้รับ ่ ื  ปากใบจะเปิ ดเมือ ่ • ต ้องการระบายนํ้ าออกจากใบ และต ้องการรับ CO2 • โดยทัวไปปากใบจะเปิ ดในเวลากลางวัน ่  ปากใบจะปิ ดเมือ ่ • มีการเหียว เพือลดการ ่ ่ ี สูญเสยนํ้ า • ไม่ต ้องการรับ CO2 เพิม ่ หน้า 72 36