SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
http://criticalstages.com/sample_13.html
การระบายน้าในบริเวณ Site Dranage
ในงานปรับระดับและงานผังบริเวณน้าผิวดิน คือกรรมวิธีแรกในงานระบาย
น้าปกติจะเป็นรูปแบบการระบายน้าฝน (Storm Drainage System) ระบบ
การระบายน้าฝนจะรวบรวม นาพา น้าฝนที่มีมากเกินขนาด ทิ้งไป โดยปกติ
ระบบการระบายน้าฝนจะช่วยให้
1. ป้องกันการกัดเซาะพังทลายโดยการลดอัตราการไหลและปริมาณของน้าลง
2. ลดปัญหาและความเสียหายในทรัพย์สินอันเกิดจากน้าท่วม และเป็นการช่วย
ให้การใช้บริเวณมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการระบายน้าที่มากเกินความ
ต้องการออกไป
3. ป้องกันน้าขังอันก่อให้เกิดการเน่าเสียและเป็นแหล่งเพาะยุงและเชื้อโรค
4. การเจริญเติบโตของต้นไม้ดีขึ้น โดยการระบายน้าที่อิ่มตัวอยู่ในดิน
5. ดินรับน้าหนักได้ดีขึ้น ทาให้บริเวณเหมาะแก่การก่อสร้างยิ่งขึ้น
http://www.disasterblasterplumbing.com.au/storm-water-and-drainage.aspx
การระบายน้าผิวดิน
น้าผิวดินส่วนใหญ่เกิดจากฝนซึ่งจะเริ่มไหลไปตามผิวดินหลังจาก
ฝนเริ่มตก น้าจะไหลไปตามความลาดที่ทาไว้ลงสู่บ่อดัก แล้ววิ่งไป
ตามทางและท่อระบายน้าสาธารณะซึ่งจะวิ่งไปสู่คลอง แม่น้า หรือ
ทะเล
ในประเทศหรือเมืองที่ฝนตกน้อย อาจใช้การระบายน้าแบบระบบ
รวม(Combine Sewer) ซึ่งน้าจะถูกส่งไปยังโรงบาบัดก่อนจน
สะอาดหลังจากนั้นจึงปล่อยลงสู่แม่น้าหรือทะเล
http://www7.mississauga.ca/documents/tw/stormwater/stormwater-illus.jpg
https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiRod-
ksMjLAhXWkY4KHTPiA_8QjRwIBw&url=%2Furl%3Fsa%3Di%26rct%3Dj%26q%3D%26esrc%3Ds%26source%3Dimages%26cd%3D%26cad%3Drja%26uact%3D8%26ved%3D0ahUKEwiRod-
ksMjLAhXWkY4KHTPiA_8QjRwIBw%26url%3Dhttps%253A%252F%252Fwww.gic-edu.com%252F805%252FDistance--Sanitary-Sewer-Stormwater-Drainage-Systems-Design-Workshop-12-
PDHs%26psig%3DAFQjCNEoedYrCZbSTeDckpms0_S3IacEBA%26ust%3D1458326069201071&psig=AFQjCNEoedYrCZbSTeDckpms0_S3IacEBA&ust=1458326069201071
http://www.ci.garden-grove.ca.us/pw/sewervsd
http://bsacsoimprovements.org/about-combined-sewer-systems/
ข้อปฏิบัติที่ดีในการระบายน้า
1. ความลาดชันที่สนับสนุนการระบายน้าให้เพียงพอ
2. น้าจะไหลตั้งฉากกับเส้นระดับเสมอ
3. การทาให้น้าผิวดินไหลช้าๆ จะมีผลในแง่ดีโดยน้าจะซึมลงไปในดินได้มาก
4. ไม่ควรระบายน้าเข้าไปในที่ของผู้อื่น และงดการเพิ่มปริมาณน้าลงไปทางน้าเดิม
อีก
5. ควรปลูกพืชหรือทาโครงสร้างปิดหน้าดินบนไหล่ทางเพื่อลดการพังทลายของ
ดิน
6. น้าที่ไหลช้าทาให้พื้นที่แฉะและน้าที่ไหลเร็วทาให้เกิดการกัดเซาะเป็นร่องน้า
7. การระบายน้าบนผิวดินดีกว่าการฝังท่อใต้ดินเพราะท่อมีโอกาสตันได้
8. ควรศึกษาระบบระบายน้าที่มีอยู่เดิม
9. บริเวณพื้นที่ hardscapeไม่ควรมีความลาดชันมากเกินไปเพราะจะดูไม่สวย
10. ในกรณีที่ปริมาณน้ามีมากไม่ควรระบายน้าไหลข้ามทางเดินเท้าไปลงถนน ควรมี
บ่อดักก่อนถึงทางเท้า
11. ควรมีการวางแผนการทาทางระบายน้าสารองไว้เสมอ
ปัจจัยในการกาหนดระบบการระบายน้า
1. การใช้ที่ดิน
2. สภาพภูมิประเทศ
3. ขนาดของบริเวณที่จะทาการระบายน้า
4. ชนิดของดิน
5. พืชพรรณที่ปกคลุมดิน
6. ปริมาณและความถี่ของฝน
หลักการออกแบบทางระบายน้า
การออกแบบทางระบายน้าที่ดี จะต้องคานึงถึงประสิทธิภาพการระบายน้า งบประมาณการ
ก่อสร้างและวิธีการบารุงรักษา โดยจะต้องออกแบบให้น้าไหลด้วยความเร็วที่สามารถล้างท่อ
ด้วยตัวเองและสามารถระบายน้าได้ตามภาวะอัตราระบายน้าออกแบบ(Design Dithery)
นอกจากนี้ในกรณีทางระบายน้าแบบท่อปิดต้องมีการออกแบบการระบายอากาศไว้ด้วยเพื่อช่วยลด
ปัญหาการสึกกร่อนของท่อและวัสดุอื่น
1 ข้อพิจารณาในการออกแบบวางโครงข่ายทางระบายน้า
ประเด็นที่ควรพิจารณาเพื่อประกอบการตัดสินใจในการออกแบบวางโครงข่าย
ทางระบายน้า มีดังนี้
1) สถานที่และตาแหน่ง : ตาแหน่งและแนวเขตวางทางระบายน้าเป็นส่วนสาคัญที่
มีผลกระทบต่องบประมาณการก่อสร้างและประสิทธิภาพการระบายน้า การกาหนดแนวเขตทาง
ระบายน้าที่ดีควรมีระยะสั้นและไม่ลึกมากแต่มีขีดความสามารถรับน้าจากทุกแหล่งกาเนิดและ
ระบายน้าออกไปได้โดยเร็ว
2) ขนาดทางระบายน้า : ทางระบายน้าขนาดใหญ่ มีขีดความสามารถในการระบาย
ได้มากกว่าทางระบายน้าขนาดเล็ก แต่ราคาสูงกว่า ดังนั้น เพื่อความประหยัดและความคุ้มค่า จึง
จาเป็นต้องคานวณขนาดให้เหมาะสม โดยไม่เล็กเกินไปจนไม่สามารถระบายน้าได้หรือมีขนาด
ใหญ่จนเกินความจาเป็น
3) ความลาดของทางระบายน้า : ทางระบายน้าที่มีความลาดชันมาก จะทาให้ความ
ลึกของทางระบายน้ามากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น เพื่อมิให้ทางระบายน้ามีความลึกมาก ให้พิจารณา
กาหนดบ่อสูบเป็นระยะๆ แทนการขุดดินให้ลึกเพื่อเป็นการยกระดับน้าให้สูงขึ้น
มาตรฐานทางระบายน้า
2 ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการออกแบบทางระบายน้า
การออกแบบทางระบายน้า มีปัจจัยสาคัญประกอบการพิจาณา ดังนี้
1) การป้องกันการสึกกร่อน
การออกแบบทางระบายน้าแบบท่อปิด ต้องป้องกันการสึกกร่อนภายในท่อ
เพื่อป้องกันท่อชารุดเสียหายเร็วกว่ากาหนด อันจะส่งผลให้ต้องมีการขุดวางท่อใหม่แทนท่อเก่าที่
ชารุด ซึ่งจะเป็นการยุ่งยากและมีค่าใช้จ่ายสูงมากกว่าการวางท่อให้ได้มาตรฐานตั้งแต่เริ่มต้น
2) ความลึกของทางระบายน้า
ในกรณีการขุดเปิดหน้าดินเพื่อวางทางระบายน้าซึ่งมีความลึกมากกว่า2-3 เมตร
อาจทาให้อาคารข้างเคียงเกิดการทรุดตัวและแตกร้าวเนื่องจากการไหลตัวของดินนั้นได้กรณีนี้
สามารถแก้ไขโดยการขุดเจาะระบบอุโมงค์เพื่อไม่ต้องขุดเปิดหน้าดิน
อย่างไรก็ดี ความลึกในส่วนต้นทางของท่อจะต้องมีระดับลึกพอที่ดันน้าที่
ระบายออกจากอาคารบ้านเรือนของประชาชนให้ไหลไปตามท่อหรือทางระบายน้าได้
3) ความลาดของทางระบายน้า
ทางระบายน้าที่มีความลาดชันมาก จะทาให้ทางระบายน้ามีความลึกมากขึ้น
ตามไปด้วย กรณีนี้สามารถแก้ไขโดยการกาหนดให้มีบ่อสูบเป็นระยะๆ เพื่อเป็นการยกระดับน้าให้
สูงขึ้น แล้วปล่อยให้ไหลไปตามทางระบายน้าแทนการขุดให้ลึกได้
4) ชนิดของท่อระบายน้า
ท่อระบายน้ามีจานวนหลายชนิด เช่น ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ท่อเหล็ก
ท่อ PVC ซึ่งมีความแตกต่างทั้งในเรื่องคุณสมบัติ ความคงทนและราคา ดังนั้น ควรศึกษา และ
เลือกใช้ท่อให้เหมาะสมกับโครงสร้างของทางระบายน้า และสามารถรับน้าหนักได้ทั้งน้าหนัก
ถาวรและน้าหนักจร ซึ่งรวมถึงแรงกระแทกหรือการทรุดตัวที่อาจเกิดขึ้นได้
5) รอยต่อหรือรอยเชื่อม
การออกแบบทางระบายน้าต้องศึกษาวิธีการป้องกันและลดอัตราน้าไหลรั่ว
เข้าทางระบายน้าผ่านทางรอยต่อหรือรอยเชื่อม
6) การบารุงรักษา
ทางระบายน้าที่ไม่มีการบารุงรักษาอย่างต่อเนื่องจะทาให้เกิดการชารุด หรือมี
อายุการใช้งานที่สั้น ดังนั้นการออกแบบต้องคานึงถึงความสะดวกและง่ายต่อการบารุงรักษา
รวมถึงการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยัดด้วย
การระบายน้าบนพื้นราบ
1.ระนาบเอียง
เพียงแต่เอียงพื้นให้ลาดน้าก็จะไหลลงไปตามทางที่ลาดเอียง น้าสามารถซึมลง
ไปในดินหรือลงไปในท่อที่จัดวางไว้แต่มีปัญหาอยู่ที่การรวมน้าจะเป็นไปโดย
ลาบาก
2. ระนาบเอียงและแอ่ง
โดยการเอียงระนาบลงจากอาคาร เมื่อห่างออกไปจะลาดขึ้นทาให้เกิดแอ่ง
ตรงกลาง แอ่งจะนาน้าไปสู่ทางระบาย
3. ระบบกรวย
จะมีรูระบายอยู่ตรงกลางพื้นที่แล้วลาดเอียงมาสู่รูระบาย จะใช้กับ
พื้นที่ที่มีชุมชนหนาแน่น แต่จะเสี่ยงกับการเกิดท่อตัน
4. การระบายน้าบนไหล่เนิน
ลักษณะจะเป็นการตัดเนินหรือถมเนินเพื่อทาการระบายน้า กรณีนี้น้าจะ
กัดเซาะได้ง่ายจึงต้องจัดทา ร่องดักน้า Interceptor Ditch หรือขั้นบันได
Terrace
การระบายน้าฝังใต้ดิน
การรวมน้าผิวดินแล้วนาน้าไปตามท่อไปสู่ที่ทิ้งน้า
1. ช่องระบายน้าจากบริเวณ
2. บ่อดักน้า
3. รางระบายน้า
http://www.lgam.info/grated-pit
4. ท่อลอด
การระบายน้าใต้ดิน
ประโยชน์ของทางระบายน้าใต้ดิน
1.ระบายน้าออกจากพื้นที่เพื่อลดความชื้น
2. ป้องกันน้าซึมเข้าสู่โครงสร้างใต้ดิน เช่นห้องใต้ดิน ฐานราก
3. ลดระดับน้าใต้ดิน
4.ป้องกันการดันฐานรากจากน้าแข็ง(ในเขตหนาว)
การเดินท่อระบายน้าใต้ดินทาได้2 วิธี
1. ใช้ท่อสั้นๆเว้นรอยต่อห่างเล็กน้อย โดยไม่อุดรอยต่อ
2. ใช้ท่อพรุน โดยการขุดหลุมแล้วรองด้วยเศษอิฐหัก เมื่อวาง
ท่อที่เจาะพรุนแล้วกลบด้วยกรวด และหินย่อย
https://en.wikipedia.org/wiki/French_drain#/media/File:French_drain_diagram.jpg
ประเภทของระบบการระบายน้า
1. แบบธรรมชาติ
2. แบบก้างปลา
3. ระบบตาราง
http://topicstock.pantip.com/supachalasai/topicstock/2011/02/S10283419/S10283419.html
4. ตัวดัก (Interceptor)

More Related Content

More from WarongWonglangka

Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxWarongWonglangka
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxWarongWonglangka
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundWarongWonglangka
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeWarongWonglangka
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionWarongWonglangka
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfWarongWonglangka
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfWarongWonglangka
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxWarongWonglangka
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfWarongWonglangka
 

More from WarongWonglangka (20)

Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptx
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptx
 
Inthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdfInthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdf
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop Playground
 
survey workshop
survey workshopsurvey workshop
survey workshop
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying Practice
 
NATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUNDNATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUND
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape Invention
 
final survey.pdf
 final survey.pdf final survey.pdf
final survey.pdf
 
Landscape Survey study
Landscape Survey studyLandscape Survey study
Landscape Survey study
 
landscape survey
landscape surveylandscape survey
landscape survey
 
landscape study
landscape studylandscape study
landscape study
 
Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdf
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdf
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
 
CM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdfCM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdf
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
 
JIngan1.pptx
JIngan1.pptxJIngan1.pptx
JIngan1.pptx
 
sublime_guide.pdf
sublime_guide.pdfsublime_guide.pdf
sublime_guide.pdf
 

Drainage.pdf