SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
“Retro Marketing”                      What is Retro Marketing?
       การตลาดแบบย้อนยุค                       Retro มีรากศัพท์มาจากคาว่า
                                               Retrospective คือ การหวนระลึกถึง
                                               ความหลัง เมื่อนารากศัพท์นี้มาใช้กับกล
                                               ยุทธ์การตลาดหรือที่เรียกว่า "Retro
                                               Marketing" จึงหมายถึง การตลาดแบบย้อน
                                               ยุค

                                               การตลาดแบบย้อนยุค เป็นกลยุทธ์ในการ
                                               ทาตลาดผลิตภัณฑ์หรือบริการในรูปแบบ
                                               ของการสร้างให้เกิดการย้อนสมัย การระลึก
                                               ถึงอดีต โดยการนาเอาผลิตภัณฑ์เก่ามาใช้
                                               ใหม่หรือการสร้างเลียน แบบ หรือการสร้าง
Introduction                                   ให้มีความคล้ายคลึง หรือมีกลิ่นอายของ
                                               สินค้าหรือบริการที่ใช้กันในยุคนั้นๆ ด้วยการ
 “...ทุกวันนี้สังคมช่างเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
รวดเร็ว ชีวิตที่ต้องเร่งรีบและแข่งขันกับเวลา   ผสมผสานบรรยากาศ วัฒนธรรม ประเพณี
ทาให้ฉันคิดถึงช่วงเวลาในอดีตกับ                วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ทาให้ผู้ใช้เกิดอารมณ์
ประสบการณ์ที่แสนประทับใจเสมอ จะมีสัก           ความรู้สึกว่ากาลังได้ใช้สินค้าหรือบริการที่มี
วันไหมที่ฉันจะสามารถใช้เวลาในเมืองกับ          จาหน่ายอยู่ในยุคนั้นสมัยนั้น
เพื่อนในวัยเยาว์กับบรรยากาศเก่าๆ อีกครั้ง
หนึ่ง...”                                      กระแส Retro นอกจากจะเกิดขึ้นมาจาก
                                               อารมณ์ของการหวนระลึกถึงความหลังของ
ความรู้สึกข้างต้นคงเป็นความรู้สึกที่ตรงใจ      มนุษย์แล้ว ยังเกิดจากการกระตุ้นของภาค
กับใครหลายคน ด้วยเหตุนี้ Retro                 ธุรกิจ ซึ่งมีบ่อยครั้งที่นักการตลาดเลือกที่จะ
Marketing หรือ การตลาดแบบย้อนยุค จึง           หยิบเอาอดีตมาปัดฝุุนทาใหม่ เพราะส่วน
ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ
                                               หนึ่งเกิดจากการที่ยังไม่สามารถคิดหา
ของผู้บริโภคที่ต้องการย้อนเวลากลับไป
สัมผัสช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเองอีกครั้ง      ของใหม่มานาเสนอผู้บริโภค เลยต้องนาเอา
ซึ่งถึงแม้การตลาดแบบถวิลหาอดีตอาจจะดู          กลยุทธ์ดังกล่าวมาใช้ แต่ไม่ใช่ทุกสิ่งทุก
เป็นอะไรที่ขัดแย้งและสวนทางกับการ              อย่างในวันวานจะสามารถนามาทาการตลาด
เติบโตและ Lifestyle ของผู้บริโภคใน             ย้อนยุคได้เสมอไป สินค้าหรือบริการไหนที่
ปัจจุบันที่ต่างใช้การพึ่งพาเทคโนโลยีเป็น       เคยประสบความสาเร็จในอดีต มักจะถูก
หลักค่อนข้างมาก แต่ในความเป็นจริง              นามาทาการย้อนยุค เพราะสิ่งเหล่านี้ได้เคย
ปัญหาเรื่องนี้กลับไม่มีผลกระทบกับวิธีการ
                                               ผ่านการพิสูจน์ว่าสาเร็จมาแล้ว จึงยังมีคนที่
ทาตลาดในรูปแบบนี้เลยด้วยซ้าแถมยังไป
กันได้ด้วยดีอีกต่างหาก จึงทาให้ทางกลุ่ม        โหยหาอยากจะได้สัมผัสอีกครั้ง
สนใจที่จะศึกษาและนาวิธีการตลาดแบบ
ย้อนยุคนี้มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจร้านอาหาร
ใจกลางเมืองเพื่อสร้างเรื่องราวของวันวาน
ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
Types of Retro marketing                              ของที่ทาให้เรากลับไปอยู่ใน
                                                       ช่วงเวลาแห่งความสุข ความสนุกใน
Retro – Retro                                          อดีต

คือ การทาการตลาดที่ใช้ผลิตภัณฑ์หรือ             Generation Y (2525-2538)
บริการที่มีมาแต่เดิม และยังมีจัดจาหน่ายอยู่
ในปัจจุบัน โดยผู้ขายยังคงพยายามรักษา                  Never Die
บรรยากาศ วิธีการขายผลิตภัณฑ์หรือบริการ                ความโบราณ ประมาณยุค 60’s,
ให้เหมือนเดิม เพื่อให้สามารถขายสินค้าได้               70’s หรือ 80’s
ในสมัยที่เปลี่ยนไป                                    ความคลาสสิก มีรูปแบบเป็นของ
                                                       ตนเอง แตกต่าง
Retro – Nova

เป็นการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการขึ้นมา           How to succeed Retro Marketing
ใหม่ โดยพยายามที่จะคงรูปร่าง หน้าตา
หรือกลิ่นอายของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่อยู่          1. ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ซื้อ
มาแต่เดิม แต่ผลิตภัณฑ์หรือบริการย้อนยุค               เนื่องจากสินค้าและบริการบาง
นั้นจะได้รับการปรับปรุงในมิติของคุณสมบัติ             ประเภทก็ไม่เหมาะที่จะนาการตลาด
ทั้งในเรื่องการใช้งาน ระบบการทางาน หรือ               แบบย้อนยุคมาใช้ เพราะผู้บริโภค
อรรถประโยชน์ของการใช้งานอื่นๆ เพื่อ                   อาจไม่รู้จักหรือไม่มีความรู้สึกร่วม
ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในยุค                      ฉะนั้นการทา Retro ควรต้องเลือก
ปัจจุบันให้มากขึ้นและดีขึ้นกว่าแต่เดิมที่มีมา         สิ่งที่เคยได้รับการพิสูจน์แล้วว่า
                                                      ประสบความสาเร็จมาก่อนซึ่งจะช่วย
                                                      ให้ง่ายต่อการทาการตลาด
ความคิดเห็นของคนแต่ละช่วงวัยต่อคา
                                                   2. สินค้าและบริการควรเป็นสิ่งที่
ว่า „Retro‟
                                                      เกี่ยวข้องหรือสามารถนามาใช้ได้ใน
Generation B or Baby Boomer (2488-                    ชีวิตประจาวัน
2508)                                              3. ราคาที่คนส่วนใหญ่เอื้อมถึงหรือ
                                                      สัมผัสได้จริง อย่าคิดเพียงแค่ว่าของ
      ของเก่าดั้งเดิมที่ไม่มีเทคโนโลยีเข้า           เก่าต้องแพงเสมอไป การเข้าถึงคน
       มาเกี่ยวข้อง มีความคิดสร้างสรรค์               หมู่มากจะช่วยให้โอกาสการตลาด
      สินค้าหรือบริการที่มีการสื่อสาร                เพิ่มขึ้น
       เข้าถึงตัวผู้บริโภค                         4. ผู้ทาการตลาดย้อนยุคให้สาเร็จได้
      เหมือนของเก่าที่เคยใช้ในอดีตตอน                จะต้องมีความรู้จริง ต้องศึกษา
       เป็นหนุ่มๆสาวๆ                                 เรื่องราวนั้นๆให้ถี่ถ้วน
                                                   5. คุณค่าของสินค้าและบริการ (Value)
Generation X (2508-2524)
                                                      ต้องไม่ด้อยกว่าของคู่แข่งขันใน
      ของเก่าที่เคยฮิตและเป็นที่นิยมใน               ปัจจุบัน
       อดีต แล้วของนั้นกลับมาฮิตอีกครั้ง           6. Concept การย้อนยุคต้องก่อให้เกิด
      สร้างแฟชั่นรูปแบบใหม่ โดยใช้                   ความคิดในแง่บวก และที่สาคัญต้อง
       รูปแบบการตลาดแบบย้อนยุคทาให้                   สร้างความสุข ความสนุกสนานและ
                                                      รอยยิ้มให้กับผู้ที่ได้สัมผัส
       แตกต่าง
Success story of Retro Marketing
Pathe ( ปาเต๊ะ )




         ร้านอาหารสไตล์ย้อนยุคปี 60’s –
70’s ซึ่งเป็นยุคที่แฟชั่นสมัยนั้นเป็นกางเกง
ขาบานๆ , ฟังเพลง Elvis และเครื่องเล่น                    เริ่มแรกตั้งร้าน ปาเต๊ะ นั้นเกิดจาก
สเตอริโอก็เป็นสไตล์แผ่นเสียง โดยร้าน          ลุงเปี๊ยก โดยลุงเปี๊ยกเริ่มเก็บของเก่าชิ้น
ปาเต๊ะ จะมีสาขาอยู่ 3 สาขา คือ                แรกซึ่งเป็นของเล่นสังกะสีสมัยที่คุณปูุให้ไว้
                                              เพื่อเป็นที่ระลึกถึงท่าน หลังจากนั้นลุงเปี๊ยก
1.สาขาปากทางลาดพร้าว                          เริ่มเก็บสะสมมาเรื่อยๆจนกลายเป็นของที่มี
                                              คุณค่า จนกระทั่งวันหนึ่งลุงเปี๊ยกคิดจะทา
2.สาขากระทรวงมหาดไทย
                                              ร้านขายของเก่า แต่ก็เกิดความรู้สึกเสียดาย
3.สาขาอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ตรงข้ามสวน         คิดว่าน่าจะทาอะไรที่ให้คนอื่นได้มาชื่นชม
สันติภาพ                                      ของสะสมของตนได้มากกว่าการขายไปใน
                                              ครั้งเดียว จึงเกิดแนวคิดทาร้านอาหารขึ้น
        คาว่า ปาเต๊ะ มาจากชื่อของบริษัท
                                              โดยนาของเก่าของโบราณที่สะสมมา
แผ่นเสียงชื่อดังของประเทศเบลเยี่ยม ซึ่ง
                                              ออกมาตั้งโชว์ให้คนที่รักของเก่าได้ร่วมชื่น
เป็นแรงบันดาลใจให้ลุงเปี๊ยก ( เจ้าของร้าน
                                              ชม ซึ่งของสะสมส่วนใหญ่ก็มีอายุเกือบร้อย
) นามาใช้เป็นชื่อร้านอาหารของตน เมื่อเข้า
                                              ปี เช่น วิทยุเก่าๆ , แผ่นเสียง , ปูายโฆษณา
ไปในร้านสิ่งหนึ่งที่ดึงดูดสายตาลูกค้าก็คือ
                                              สังกะสีโบราณ , นาฬิกาแขวน , ของเล่น
แผ่นเสียงโบราณจานวนมากที่ประดับอยู่
                                              สังกะสี , โคมไฟ รวมถึงโทรศัพท์ที่เก่าแก่
ภายในร้าน ( ฝาผนัง ) อีกทั้งยังมีวิทยุเก่าๆ
                                              เป็นต้น โดยของโบราณต่างๆเหล่านี้ถูก
, ลาโพงขนาดใหญ่ , เครื่องเล่นแผ่นเสียง ,
                                              นามาจัดเรียงอย่างสวยงามภายในร้าน
แผ่นปูายโฆษณาสังกะสีโบราณ และของ
                                              เพื่อให้ดื่มด่ากับบรรยากาศอย่างเต็มที่
เล่นโบราณ เป็นต้น ซึ่งไม่เพียงแต่โดดเด่น
                                              ตั้งแต่เดินเข้ามาภายในจะเห็นตู้โชว์ใส่ของ
ด้วยของตกแต่งร้าน ทางร้านยังเปิดเพลง
                                              เก่าต่างๆประกอบกับแผ่นเสียงที่ติดเรียงราย
เก่าๆยุค 60’s – 70’s ให้ฟังเบาๆคลอตามไป
                                              ตลอดหน้าเคาน์เตอร์ทาอาหาร รวมถึงโต๊ะ
ด้วย
                                              เก้าอี้ที่ใช้ก็ทาเป็นสไตล์โบราณ ( ปูโต๊ะด้วย
ผ้าลายสก๊อตหนาๆ ) ตัดกับสีเหลืองของ
ผนังที่ใช้เป็นสีประจาของร้าน ซึ่งมีความ
หมายถึงความมั่งคั่งและทาให้ของเก่าดูขลัง
และมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น อีกทั้งทางร้านยัง
สร้างบรรยากาศด้วยเสียงเพลงเก่าๆจาก
แผ่นเสียงของจริงที่แทบจะมีครบทุกวงใน
สมัยนั้น
                                                 -        ระหว่างทานอาหารถ้าน้าแข็งหมด
                                                ทางร้านก็จะนามาเติมให้เอง หรือถ้าโต๊ะ
                                                ไหนสั่งเบียร์มาดื่ม ทางร้านก็จะมีเบียร์แช่
                                                เย็นพร้อมเกล็ดน้าแข็งในก้นแก้วไว้คอย
                                                ให้บริการ เมื่อความเย็นลดลงก็จะมีคนมา
                                                คอยเปลี่ยนแก้วให้ตลอด และที่สาคัญลุง
                                                เปี๊ยกหรือเจ้าของร้านมักจะมานั่งคุยกับ
                                                ลูกค้า จนหลายคนติดใจคุยกับลุงอย่าง
                                                สนุกสนาน เพราะลุงชอบเล่าเรื่องราวเก่าๆ
                                                ให้ฟังจนรู้สึกเพลิน ( มีเฉพาะที่สาขา
                                                อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ )



        สาหรับเรื่องของอาหาร ลุงเปียกได้
                                   ๊
ให้ลูกชายไปฝึกเรียนทาอาหารจากโรงแรม
แล้วนากลับมาปรับปรุงเป็นสูตรของทางร้าน
เอง ซึ่งต้องใช้เวลาลองผิดลองถูกอยู่นาน
จนกว่าจะเป็นที่พอใจจึงนาออกมาเสิร์ฟ
ลูกค้าได้

กลยุทธ์ ปาเต๊ะ

1. ธุรกิจร้านอาหาร ( ธุรกิจบริการ ) ต้องให้
ความสาคัญกับลูกค้าทุก Touch point

 -        จุดแรกตั้งแต่ลูกค้าเข้ามาที่ร้าน       -        จุดสุดท้ายเมื่อลูกค้าเรียกเก็บเงิน
ทางร้านจะนาถั่วลิสงทอดรสชาติดีมาเสิร์ฟ          ทางร้านก็จะนาน้าชาร้อนๆมาให้ดื่มเป็นการ
ให้ลูกค้าก่อนที่ลูกค้าจะสั่งอาหาร โดยไม่        ล้างปากไปในตัว โดยที่ไม่ได้คิดค่าใช้จ่าย
คิดค่าใช้จ่าย และเมื่อถั่วลิสงทอดหมดทาง         และขอเติมได้เรื่อยๆเช่นเดียวกับถั่วลิสง ซึ่ง
ร้านก็จะนามาเติมให้หรือสามารถขอเติมได้          นับว่าเป็นการปิดท้ายความสุขก่อนที่จะออก
เรื่อยๆ เพื่อให้ลูกค้าไม่รู้สึกเบื่อเวลาที่รอ   จากร้านปาเต๊ะไป
อาหารมาเสิร์ฟ
                                                2. การสร้างเอกลักษณ์ของร้านผ่าน
                                                Sensory Branding ลุงเปี๊ยกแนะนาว่า “ทา
                                                ร้านอาหารมันต้องมีแสง , สี และเสียง ดึง
ให้ลูกค้าเข้าร้าน ถ้าทาร้านเฉยๆไม่มีอะไรไม่   ที่ทุกคนชื่นชอบ ในส่วนของบริการลุงเปี๊ยก
มีใครมาเข้าร้านหรอก”                          จะพยายามให้บริการลูกค้าด้วยตนเอง
                                              เพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้มากที่สุด ทุกครั้งที่
      - Visual Identity แสงและสี ทาง
                                              บริการลุงเปี๊ยกมักจะคิดว่าเหมือนมีเจ้านาย
ร้านพยายามใช้แสงไฟสีอ่อนๆ เพื่อให้
                                              คอยมองอยู่ ตนต้องทาให้ดีที่สุด เพื่อที่จะ
ภาพลักษณ์ของร้านดูเก่าและดูขลัง เชิญ
                                              ได้มีโอกาสก้าวหน้า ถ้าพนักงานเป็นผู้
ชวนให้ลูกค้าที่ชอบบรรยากาศแบบนี้หรือ
                                              บริการลูกค้า ลุงเปี๊ยกก็จะให้คิดว่าเหมือนมี
ชอบของเก่าๆให้เดินเข้ามาในร้าน ในส่วน
                                              ลุงคอยมองอยู่ต้องทาให้ดี เพื่อจะได้มี
ของสีทางร้านก็ใช้สีเหลือง ที่เข้ากับของ
                                              โอกาสก้าวหน้าไปเป็นเจ้าของร้าน
ตกแต่งภายในร้านได้ดี ทาให้ร้านยิ่งดูมี
บรรยากาศเก่าๆและดูขลังมากขึ้นไปอีก            4. ทาธุรกิจต้องมีคุณธรรม ลุงเปียกบอกว่า
                                                                             ๊
                                              “ถ้าเรามีคุณธรรม แล้วนาคุณธรรมมาใช้กับ
                                              พนักงานในร้านและกับลูกค้า พนักงานและ
                                              ลูกค้าก็จะมีคุณธรรมกับเราและเราก็จะได้สิ่ง
                                              ตอบแทนเป็นสิ่งดีๆกลับมา”

                                                       - มีคุณธรรมกับตนเอง ยึดมั่นใน
                                              อริยสัจ 4 ( ทุกข์ , สมุทัย , นิโรธ และมรรค
                                              ) ใช้คุณธรรมข้อนี้ในการทาธุรกิจ เมื่อมีทุกข์
                                              หรือมีปัญหาภายในร้าน ก็มองหาสาเหตุแล้ว
                                              แก้ที่ต้นเหตุ

                                                      - มีคุณธรรมกับพนักงาน ใช้พรหม
                                              วิหาร 4 ( เมตตา , กรุณา , มุทิตา และ
                                              อุเบกขา ) เพราะบางครั้งต้องปล่อยวาง
                                              เพราะพนักงานไม่ได้เก่งเหมือนเราหรือมี
                                              ความรู้เท่าเรา มนุษย์ทุกคนไม่มีใครสมบูรณ์
                                              แบบ บางเรื่องก็ต้องมีความเมตตากรุณา

                                                     - มีคุณธรรมกับลูกค้า ให้ความ
                                              จริงใจกับลูกค้า ถ้าลูกค้าต้องการคาแนะนา
                                              หรือความช่วยเหลือต้องให้ด้วยความเต็มใจ
                                              ไม่หวังสิ่งตอบแทนแล้วเราก็จะมีความสุขใน
       - Sonic Identity เสียงที่เป็น          การให้
เอกลักษณ์ของร้านคือ เสียงเพลงเก่าๆยุค
60’s – 70’s เช่น How Deep Is your Love        5. มีกฎเกณฑ์ภายในร้าน ให้ทุกคน
และ I Can’t Smile Without You เป็นต้น         (เจ้าของร้าน , พนักงาน และลูกค้า ) ปฏิบัติ
                                              เหมือนกันหมด โดยกาหนดให้ภายในร้าน
3. ร้านอาหาร Key Success Factor คือ           เหมือนกับสนามฟุตบอล มีกติกาคือ
รสชาติกับบริการ ลุงเปี๊ยกให้ความสาคัญกับ      คุณธรรม ทุกคนที่อยู่ในร้านต้องมีคุณธรรม
รสชาติอาหาร ลงทุนให้ลูกชายไปเรียน             ต่อตนเองและผู้อื่น ใครไม่ปฏิบัติตามกฎก็
ทาอาหารจากโรงแรมแล้วนามาปรับปรุงเป็น          เปรียบเสมือนทาลูกบอลออกนอกสนามต้อง
สูตรของทางร้าน ซึ่งต้องพิถีพิถัน ลองผิด       นาลูกบอลกลับเข้ามาในสนามและใช้กฎที่
ลองถูกอยู่นานกว่าจะได้ออกมาเป็นรสชาติ         ร้านมีอยู่ในการอยู่ร่วมกันภายในร้าน
บ้านไม้ชายนา (ปากช่อง)                        ผงซักฟอก , แม้กระทั่งตู้เกมหรือหุ่นยนต์
                                              และโมเดลรถยนต์ในสมัยก่อน เป็นต้น ทั้งนี้
                                              ยังได้รวมกับสิ่งที่ซื้อมาตกแต่งเพิ่มเติม
                                              ภายในร้าน ทาให้กลายเป็นเอกลักษณ์ของ
                                              ร้านนี้ไปโดยปริยาย




        ที่มาของชื่อร้าน “บ้านไม้ชายน้า”
มาจากลักษณะของร้านและสถานที่ตั้งร้าน
ซึ่งลักษณะของร้านหรือตัวบ้านจะทาจากไม้
ทาให้ได้บรรยากาศบ้านไม้เก่าๆสมัยคุณปูุ
คุณย่า และสถานที่ตั้งของร้านทีอยู่ริมคลอง
                                ่
ลาตะคลอง อาเภอปากช่อง จังหวัด                        โดยการให้บริการจะมีทั้งให้บริการ
นครราชสีมา ซึ่งเป็นทาเลที่ได้เปรียบคู่แข่ง    ขายอาหาร และให้บริการที่พักอาศัยเพื่อให้
                                              หวนราลึกถึงความหลังครั้งยังเป็นเด็ก
                                              รายได้ส่วนใหญ่จะมาจากการให้บริการ
                                              อาหาร โดยใช้ Concept “อิ่มของกิน อิน
                                              ของเก่า” ซึ่งจุดเด่นของร้านจะอยู่ที่การ
                                              ตกแต่งร้านและรสชาติของอาหารที่ทาให้มี
                                              การกล่าวถึงเป็นอย่างมาก




        บ้านไม้ชายน้า ร้านอาหารสไตล์ย้อน
ยุคปี 2510 - 2520 มีจุดเริ่มต้นมาจากพี่ขวด
หรือคุณชาญชัย สถานสถิตย์ ( เจ้าของ
ร้าน ) ซึ่งเป็นคนอัมพวา รักและผูกพันอยู่กับ
สายน้าและชอบสะสมของเก่า วันหนึ่งพี่ขวด
ได้มาพบกับบริเวณที่ตั้งร้านในปัจจุบันและ
ได้ตัดสินใจที่จะทาร้านอาหารขึ้นเพื่อรองรับ           คุณชาญชัย ได้ให้สัมภาษณ์ว่าวันที่
เวลาที่ตนเกษียณจะได้มาพักอาศัยอยู่ที่นี่      ตนภูมิใจที่สุดตั้งแต่เปิดร้านคือ วันแม่ วันที่
ด้วยความที่รักในของเก่า จึงนาของเก่าที่       เขาได้เห็นบรรยากาศของลูกๆหลานๆพา
สะสมไว้ตั้งแต่ประมาณอายุ 20 ปี ออกมาตั้ง      คุณพ่อและคุณแม่มารับประทานอาหารที่
โชว์ภายในร้าน เช่น ของใช้และอุปกรณ์ที่        ร้าน พวกท่านเหล่านั้นก็เหมือนได้กลับมา
ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ รถเข็นขายของ        พบกับสิ่งที่ผูกพันหลายอย่างที่เป็นของใช้
สมัยก่อน , รถสามล้อซาเล้ง , ข้าวของ           สมัยท่านยังเด็ก ทั้งที่บางอย่างเราหลายคน
เครื่องใช้ต่างๆทั้งสบู่ , แปูง , ยาสีฟัน ,    อาจยังไม่เคยเห็น ท่านก็จะอธิบายได้อย่าง
ไม่มีวันลืม บางอย่างเป็นความทรงจาที่จะ
เรียกคืนมาไม่ได้อีกแล้ว แต่พวกเขาก็มา
ระลึกและเก็บเกี่ยวความทรงจาดีๆเหล่านั้น
จากทางร้านกลับไป




กลยุทธ์ บ้านไม้ชายน้า

1. Word of mouth เนื่องจากเป็นร้านสไตล์
Retro ที่เกิดขึ้นเป็นร้านแรกๆ ทาให้
กลายเป็นจุดสนใจและบอกต่อๆกันถึงสไตล์
การตกแต่งร้านที่ทาให้นึกถึงสมัยเก่า จึง
กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ของนักท่องเที่ยว
ที่มาปากช่องว่ามาปากช่องแล้วต้องมากิน
ร้านนี้ให้ได้

2. Sensory Branding

      - Visual Identity โดยร้านจะเน้นใน
ส่วนของการใช้สีในการตกแต่งร้าน ซึ่งจะใช้
สีในโทนเหลืองหรือเหลืองอมส้ม เมื่อบวก
กับการตกแต่งทีใช้ของเก่าแล้วทาให้
              ่
บรรยากาศเหมือนสมัยก่อนมากยิ่งขึ้น

       - Sonic Identity ทางร้านจะเปิด
เพลงเป็นเพลงบรรเลงแนวไทยเดิมให้ลูกค้า
ฟังควบคู่ไปกับการชมของสะสมและ
รับประทานอาหาร
11 Gallery                                  ตนเอง เช่น “สวัสดีเจ้าค่ะ ดิฉันชื่อ
                                            ทองกวาว เจ้าค่ะ” เป็นต้น ทั้งนีอาหารของ
                                                                            ้
                                            ที่นี่บางเมนูกจะเสิร์ฟในปิ่นโต บ้างก็เสิร์ฟ
                                                          ็
                                            โดยมีกรวยใบตองพร้อมมาลัย ทาให้เห็น
                                            ถึงความใส่ใจในรายละเอียดปลีกย่อย
                                            เล็กๆน้อยๆของทางร้าน

                                                     จากการสัมภาษณ์เจ้าของร้าน คุณ
                                            ปฺอปได้ชี้แจงว่า “ต้องการให้ทุกคนมาที่นี่
                                            แล้วได้สัมผัสบรรยากาศในสมัยต้น
                                            รัตนโกสินทร์ โดยลูกค้าจะมี
                                            ยศถาบรรดาศักดิ์เปรียบเสมือนท่านเจ้าคุณ
                                            ที่จะมีข้าทาสบริวารมารับใช้ตลอดเวลา”
        Concept สัมผัสความเป็นไทยสมัย       อีกทั้งยังมีมารยาทแบบไทยๆ ซึ่งพนักงาน
ต้นรัตนโกสินทร์ ที่ร้าน 11 Gallery จะทา     จะต้องยกมือไหว้กล่าวสวัสดีและขอบคุณ
หน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมการกินอยู่อย่าง        ลูกค้าทุกครั้ง
ไทย ด้วยการตกแต่งร้านด้วยเรือนไม้และ
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามาหากินของคน
ในสมัยก่อน เช่น พัดลมทองเหลือง ,
กระติกน้าลายสก็อต , ปิ่นโตเถาสีเหลือง
ไข่ไก่ , ช้อนส้อมทองเหลือง และโต๊ะตู้
ต่างๆที่ให้บรรยากาศความเป็นไทย ทาให้
หวนราลึกถึงการดารงชีวิตของชาวบ้านใน
ยุคก่อน และในยุคปัจจุบันที่ยังคงเหลือให้
ได้พบเห็นบ้างตามชนบท โดยจุดที่ทาให้ดู
อบอุ่นที่สุดคือ การจัดมุมที่เป็นการร่วมวง
กินข้าวของไทย ทาให้เกิดความรู้สึกนึกถึง
ปูุย่าตายายที่นั่งร่วมวงรับประทานอาหาร
พร้อมคุยสนทนาไปด้วยกัน




        คุณปฺอป ( เจ้าของร้าน ) ได้สร้าง
เอกลักษณ์ที่ประทับใจลูกค้าทุกรายด้วย
การให้พนักงานแต่งตัวด้วยชุดผ้าไทย มี
คาพูดคาจาที่ไพเราะเสนาะหู เช่น “เจ้าค่ะ”
, “ขอให้เจริญอาหาร สาราญใจนะเจ้าคะ” ,
“คุณท่าน” และ “ขอให้บันเทิงรื่นเริงใจ”
เป็นต้น ให้ลูกค้าได้ยินตลอดเวลา โดย
พนักงานทุกคนก็จะมีชื่อไทยเป็นของ
ดดก




กลยุทธ์ 11 Gallery

1. เลือกกลุ่มลูกค้าเปูาหมายให้ชัดเจน
คุณปฺอปได้ชี้แจงว่าลูกค้าของทางร้าน
90% คือชาวต่างชาติที่ต้องการรับประทาน
อาหารและสัมผัสบรรยากาศแบบไทยๆ
โดยที่ลูกค้าคนไทยที่เข้ามาทานอาหารใน
ร้านจะต้องรับได้กับราคาอาหารที่ค่อนข้าง
สูงเมื่อเทียบกับปริมาณ เนื่องจาก
ชาวต่างชาติมีกาลังซื้อที่สูงและเป็นกลุ่ม
ลูกค้าเปูาหมายหลักจึงตั้งราคาอาหารไว้
สูง ดังนั้นคุณปฺอปจึงไม่ได้ให้ความสาคัญ
กับลูกค้าคนไทยมากนัก ทั้งนี้ทางร้านยัง         -      Sonic Identity เสียงที่เป็น
เปิดให้บริการตังแต่เวลา 11.00 น. –
                ้                             เอกลักษณ์ของร้านคือ เสียงอันไพเราะของ
24.00 น. เนื่องจากต้องการขายให้กับ            พนักงาน พร้อมกับคาพูดคาจาที่เป็น
ชาวต่างชาติที่ออกมาท่องเที่ยวใน               เอกลักษณ์ เช่น “เจ้าค่ะ” , “ขอให้เจริญ
ช่วงเวลาตั้งแต่เย็นเป็นต้นไป                  อาหาร สาราญใจนะเจ้าคะ” , “คุณท่าน”
2. Positioning ต้องชัดเจน ต้องสื่อให้         และ “ขอให้บันเทิงรื่นเริงใจ” เป็นต้น
ลูกค้ารู้ว่าเราต้องการนาเสนออะไร
                                                      - Olfactory Identity ด้วยการใช้
แตกต่างจากร้านอาหารอื่นอย่างไร และ
เมื่อ Positioning ชัดเจนแล้ว แผนการ           กลิ่นน้าหอมหรือน้าอบแบบไทยๆให้หอมไป
ตลาดทุกอย่างต้องสอดคล้องและทาให้              ทั่วร้านทั้งในส่วนที่เป็นร้านอาหารและใน
ลูกค้าเข้าใจในสิ่งที่ร้านต้องการสื่อให้มาก    ส่วนที่เป็นสปา
ที่สุด
                                              4. People ( 7’P )
3. Sensory Branding
                                                     - People ให้ความสาคัญกับมารยาท
       - Visual Identity แสงและสี ทาง         ของพนักงาน พนักงานทุกคนต้องได้รับการ
ร้านพยายามใช้แสงไฟสีสลัวๆ เพื่อให้            อบรมและฝึกพูดจาให้ไพเราะ อีกทั้งเครื่อง
ภาพลักษณ์ของร้านดูเก่าและดูขลัง เชิญ          แต่งกายต้องเป็นชุดไทยเพื่อให้เข้ากับยุค
ชวนให้ลูกค้าที่ชอบบรรยากาศแบบนี้ให้เดิน       สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
เข้ามาในร้าน ทั้งนี้ในร้านยังมีให้บริการสปา
โดยมี Concept คือ ไสยศาสตร์ จึงใช้ไฟ          5. การทาตัวให้เป็นข่าว คุณปฺอปบอกว่า
และบรรยากาศที่มืดแลดูน่ากลัว                  การทาตัวให้เป็นข่าวคือ การบริหารสื่อ
กลัวดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด                   ช่วยเหลือเกื้อกูลกับสื่อ ไม่ใช่สื่อมา
                                              สัมภาษณ์แล้วก็จบไป แต่เราต้อง keep
connection ไว้ เช่น เมื่อเราแต่งบ้านทรงจีน   Individual Strategy ( Case Study )
ก็จะโทรไปถามสื่อว่าสนใจหรือไม่ ถ้าสนใจ
ก็จะนัดมาสัมภาษณ์ เราก็จะได้ลงโฆษณา           Strategy
                                                                         บ้านไม้
ฟรี เป็นการประหยัดต้นทุน และช่วยเหลือ                        ปาเต๊ะ                 11 Gallery
                                                    ร้าน                 ชายน้า
ซึ่งกันและกัน
                                                                                     ต้องการ
6. ต้องบอกการทางานให้ชัดเจนแก่                              สะสมของ     สะสมของ
                                              Inspiration                           สร้างความ
                                                              เก่า        เก่า
พนักงาน และวัดและประเมินพนักงานเป็น                                                  แตกต่าง
ตัวเลขที่สามารถยืนยันได้ และจะต้อง                          60-70’s     65-75’s     King Rama
ตรวจสอบทัศนคติของพนักงานตลอด                   Concept
                                                            Int’l S.    Thai S.         V
เพื่อให้ได้คนที่ต้องการทางานกับเราจริงๆ
                                                            Word of     Word of
                                              Marketing                              Promote
7. ต้องทาให้พนักงานเกิดความเคารพและ                         mouth       mouth
ยาเกรง เช่น บางครั้งพนักงานทาผิดนิด                                                    มารยาท
                                                            ความเป็น    ไม่มีการ
หน่อย คุณปฺอปก็จะทาเป็นเสียงดัง                Training                             เรียบร้อยพูด
                                                             กันเอง      สอน
                                                                                        เพราะ
เหมือนกับเกิดเรื่องใหญ่ เพื่อให้พนักงาน
กลัวและไม่กล้าทาผิดอีก เพราะถ้าปล่อยให้                                               มีระบบ
                                                 การ        ไม่มีระบบ   ไม่มีระบบ
                                                                                    ควบคุมการ
ครั้งแรกผ่านไป ก็จะมีครั้งที่สองตามมา         บริหารงาน      ควบคุม      ควบคุม
                                                                                     ทางาน
8. เทคนิคในการได้รอบถี่ๆของร้านอาหาร           Uniform         มี         ไม่มี          มี
คือ ต้องไล่ลูกค้าแบบสุภาพ เช่น เก็บของที่
กินหมดตลอดเวลา เคลียร์โต๊ะให้ว่าง จะได้
มีลูกค้าใหม่ๆมานั่งเพราะที่นั่งมีจากัด       How to apply Retro Marketing to
                                             your business
Common Strategy ( Case Study )
                                             แนวโน้มธุรกิจร้านอาหาร
1. Visual Identity ทุกร้านอาหารจะเน้นที่
การตกแต่งร้านทั้งแสงและสีซึ่งจะไปใน                   มูลค่าธุรกิจร้านอาหารเติบโตขึ้นร้อย
ทิศทางเดียวกันคือ ใช้แสงและสีในโทนสี         ละ 8 เป็น 74,670 ล้านบาท เนื่องจากภาวะ
เหลืองอมส้ม ทาให้ของเก่าที่เอามาโชว์ดูมี     เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวฟื้นตัว ทาให้
มนต์ขลังมากขึ้น และการตกแต่งจะใช้ของ         รายได้ของผู้บริโภคในประเทศเพิ่มขึ้น
ตกแต่งที่อยู่ในยุคร่วมสมัยเดียวกัน ทาให้ดู   ผู้ประกอบการจึงเร่งปรับปรุงร้านให้ทันสมัย
กลมกลืนไม่ขัดกันเอง                          และขยายสาขา ตลอดจนแนะนาเมนูอาหาร
2. Sonic Identity ทั้งสามร้านมีส่วน          ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดและขยาย
คล้ายคลึงกันในเรื่องการเปิดเพลง ที่เป็น      ฐานลูกค้าให้กว้างขึ้น อย่างไรก็ดีภาวะเงิน
เพลงตามยุคสมัยในแต่ละร้าน เช่น ปาเต๊ะ        เฟูอที่สูงขึ้นจะทาให้ค่าใช้จ่ายในการ
จะเปิดเพลงสากลยุค 60’s-70’s , บ้านไม้        ดาเนินงานและต้นทุนในการประกอบอาหาร
ชายน้าจะเปิดเพลงบรรเลงสมัยก่อน และ           เพิ่มขึ้นตาม ซึ่งจะส่งผลให้การทากาไรมี
11Gallery เปิดเพลงบรรเลงเครื่องดนตรี         แนวโน้มลดลง
ไทย เช่น ระนาดและขิม เป็นต้น
SWOT                                             ต้องหาซื้ออาหารและรับประทานอาหารนอก
                                                 บ้านมากขึ้น
Strengths
                                                 3. การปรับขึ้นค่าครองชีพของภาครัฐและ
1. Relevance เป็นแนวการย้อนยุคที่โดนใจ           เอกชน ส่งผลให้รายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
กลุ่มลูกค้าเปูาหมายมากที่สุด ( กลุ่มอายุ
25 – 35 ปี ) อีกทั้งยังเป็นการเลือกช่องว่าง      Threats
ของยุคที่ยังไม่มีคู่แข่งรายใดลงมาเล่น
                                                 1. ราคาน้ามันที่เพิ่มสูงขึ้น ทาให้ต้นทุน
2. Location ใกล้ออฟฟิศและสานักงาน อีก            วัตถุดิบในการประกอบอาหารและค่าใช้จ่าย
ทั้งซอยอารีย์ยังเป็นแหล่งรวมของ                  ในการดาเนินธุรกิจสูงขึ้นตาม
ร้านอาหารต่างๆที่มีผู้คนสัญจรไปมา
มากมาย ประกอบกับในบริเวณนี้ยังไม่มี              2. ปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารและการเกิด
ร้านอาหาร Style นี้                              โรคระบาดต่างๆ ทาให้ผู้บริโภคระมัดระวังใน
                                                 การบริโภคมากขึ้น
3. Identity มีลักษณะเฉพาะของร้านที่
ชัดเจน ทั้งการแต่งกายของพนักงาน ,                ที่มา : ธนาคารกรุงไทย กุมภาพันธ์ 2553
ลักษณะของเพลงที่เปิด และการตกแต่งร้าน
ด้วยโปสเตอร์และของเล่นต่างๆ ( มุมชัก             Retrorant
ภาพ )                                            ( นึกถึง Retro นึกถึง Retrorant )

4. Variety เนื่องจากมีความหลากหลาย               Business Model
ของเมนูหรือประเภทของอาหารมากกว่า 50
รายการ โดยมีอาหารแนะนาที่โดดเด่นถึง                       ร้าน RetroRant มีที่มาจาก Retro
10 รายการ ( อาหารคาว 5 รายการ และ                + Restaurant กลายเป็น “RETRORANT”
อาหารหวาน 5 รายการ )                             ร้านอาหารแนวย้อนยุคที่ใช้รูปแบบ Retro -
                                                 Retro ทาให้นึกถึงสมัยวัยเยาว์ของคนรุ่นปี
Weaknesses
                                                 2528 - 2538 หรือเป็นยุค 85’s – 95’s
1. ประสบการณ์ของผู้ประกอบการที่เพิ่ง             นั่นเอง โดยร้านเราจะเน้นขายบรรยากาศ
   เริ่มต้นเข้ามาในธุรกิจนี้ ซึ่งต้องใช้เวลาใน   ไทยๆ เก็บความรู้สึกดีๆและสัมผัส
   การศึกษาและปรับตัวสักระยะหนึ่ง                บรรยากาศที่ดี เมื่อลูกค้าเข้าไปในร้านจะทา
2. เงินลงทุนสูงในการตกแต่งร้าน                   ให้หวนราลึกถึงวันหลังครั้งยังเป็นเด็ก ร้อง
3. ไม่มีนวัตกรรม สามารถเลียนแบบได้ง่าย
                                                 เพลงที่ร้านเปิดได้ทุกเพลง ฟังเพลงแล้ว
Opportunities                                    สามารถเล่าเรื่องราวของเพลงนั้นๆ ทั้ง
                                                 เรื่องราวที่เกี่ยวกับศิลปิน หรือว่าละครในยุค
1. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆของ                นั้นๆ แต่ว่าร้านของเราไม่ได้ย้อนกลับไปลึก
รัฐบาล เช่น โครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่ง              ถึงรุ่นพ่อ หรือ แม่ในวัยรุ่น เพราะเป็นเรื่องที่
ก่อให้เกิดการจ้างงานทาให้ประชาชนมี               ไกลเกินกว่าวัยรุ่นสมัยนี้ ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้า
รายได้และกาลังซื้อมากขึ้น                        หลักของเราจะสามารถเข้าถึงได้ เรา
                                                 ต้องการทาให้เข้ามาแล้วยังพอจาได้เป็น
2. วิถีการดาเนินชีวิตที่เร่งรีบในการเดินทาง      ภาพรางๆว่าเคยเจอสิ่งต่างๆเหล่านั้นตอน
และการทางาน ทาให้ผู้บริโภคส่วนใหญ่               ไหน อีกทั้งทางร้านยังต้องการให้ที่ร้านเป็น
                                                 เหมือนที่นัดพบปะสังสรรค์ เหมือนเป็น
สถานที่นัดชุมนุมของเพื่อนเก่า ที่จะมาเจอ
กันอีกครั้งหนึ่ง

ร้าน Retrorant มีรูปแบบการให้บริการคือ
  จาหน่ายอาหารคาว อาหารหวาน โดยมี
     เมนูพิเศษประจาร้านที่คิดขึ้นมาเองเป็น
     เมนูแนะนาให้แก่ลูกค้า
  บริเวณร้านจะมีมุมขายขนมสมัยก่อน           Vision
     เพือไว้เป็นที่ระลึก เช่น ขนมบุหรี่ ,           เป็นแบรนด์อันดับ 1 ในใจลูกค้าด้าน
     ซูกัส , ไข่ไดโนเสาร์ , ขนมสายไหม        ร้านอาหารแนว Retro
     และหมากฝรั่งตรานกแก้ว เป็นต้น
                                             Mission
                                             ประกอบธุรกิจร้านอาหารโดยให้ความสาคัญ
                                             กับคุณภาพและบริการและสร้างบรรยากาศ
                                             ให้ลูกค้านึกถึงเมื่อครั้งยังเป็นเด็ก ( 2528 –
                                             2538 )

                                             STP
                                             กลุ่มเปูาหมาย ( Target )

                                                        กลุ่มคนที่มอายุ 25 – 35 ปี ซึ่งเป็น
                                                                   ี
                                             วัยที่เริ่มต้นทางานและเคยสัมผัสกับ
                                             บรรยากาศแบบนี้แล้วในวัยเด็ก ถึงแม้ว่าจะ
                                             เคยลืมเลือนไปบ้างแล้วก็ตาม ( เฉพาะ
                                             กรุงเทพ จานวนผู้ชาย 430,784 คน และ
                                             จานวนผู้หญิง 466,306 คน )

                                             ที่มา : กรมการปกครอง ธันวาคม 2552

                                                    โดยมีกลุ่มเปูาหมายรองคือคนทั่วไป
                                             และกลุ่มเด็กรุ่นใหม่ที่ไม่เคยพบเจอ กับ
                                             บรรยากาศในสมัยนั้นมาก่อน เพราะจะ
                                             กลายเป็นสิ่งที่แปลกใหม่สาหรับพวกเค้า
อาหารหวาน ที่เป็น Signature
Value Curve
                                                                                   1.หวามเค็มลงตัว (ปลากริมไข่เต่า)   60
  12
                                                                                   2.พบญาติ (รวมมิตรข้าวเหนียวมูล)   120
  10
                                                                                   3.ลอยรัก (บัวลอยเผือก ไข่กล้วยหอม) 50
   8                                                               ปาเต๊ะ
                                                                                   4.ฟาดเคราะห์ (ลอดช่อง)             40
   6
   4                                                               บ้านไม้ชายน้า
   2
   0                                                               11
                                                                   Gallery
                                 การแต่งตัว

                                              หวนให้คิดถึงวันวาน
       ความเป็นไทย

                     การบริการ




                                                                   Retrorant




Holistic Market Strategy

1. 7’P                                                                              - Price :
 - Product :มีทั้งอาหารไทยทั่วไป และมี                                                     อาหารคาว      70-200 บาท
   อาหารที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของทาง                                                        อาหารหวาน     40-120 บาท
   ร้าน Retrorant เท่านั้น ดังตัวอย่างเช่น
                                                                                    - Channel : ซอยอารีย์ พญาไท กรุงเทพ
อาหารคาวที่เป็น Signature
 1.คาคา (เมี่ยงปลาทู)                                                       120     - IMC : Sales Promotion เช่น Friday
 2.แกงไหลไปตามเวลา                                                          200       Night เพื่อดึงลูกค้าเข้าร้านและกระตุ้น
   (แกงส้มไหลบัว)                                                                     ยอดขายของทางร้าน อีกทั้งยังเป็นการ
 3.ผักผัก Retro (ใบเหลียงผัดไข่)                                             90       สร้างให้เป็นเอกลักษณ์ของทางร้าน
 4.ข้าวผัดวันวาน (ข้าวผัดหมูทอด)                                             90
 5.หมกความหลัง (ห่อหมกขนมครก)                                               120
- Physical Evidence :                                           Website/
      การตกแต่งร้านใน Style ย้อนยุค ซึ่ง                        Walk-in
  ประกอบด้วย โปสเตอร์ภาพยนตร์เก่าๆที่
                                                     คิดเงิน               เข้ามาที่ร้าน
  แปะเรียงรายอยู่ตามผนัง พร้อมกับการเปิด
  เพลงในยุคสมัยนั้นประกอบกันไปเบาๆ
  และยังมีมุมขายขนมเก่าๆและมุมถ่ายภาพ
  ไว้ให้บริการในบรรยากาศที่เป็นกันเองเพือ
                                        ่           รับประทาน
                                                                            สั่งอาหาร
  เป็นการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน                      อาหาร
                                                                Confirm
    - People :                                                   order

     การแต่งกายพนักงานชาย : เป็นกางเกง           เปิด Website เป็นสไตล์ย้อนยุค
      ขาม้า ขากระดิ้งเอวสูง สีสันสดใส และ         สวัสดีลูกค้าทุกคนที่มารับประทาน
      สวมเสื้อเชิ้ตกระดุมปิดคอสีตัดกัน และ         อาหาร
      รองเท้าหนังส้นตึก เป็นต้น                   ก่อนสั่งอาหารจะมีพนักงานนาข้าว
                                                   เกรียบมาให้รับประทาน
     การแต่งกายพนักงานหญิง : เป็นเสื้อเด         เมนูที่นามาให้ลูกค้าเลือกจะทาจากไม้
      รสกระโปรง คอบัว หรือเป็นกระโปรงบาน           ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของทางร้าน
      ทรงสุ่ม โดยจะเน้นสี ชมพูบานเย็น ส้ม         สามารถเลือกเพลงที่ต้องการฟังได้ใน
      เขียว ขาว รองเท้าส้นตึก เป็นต้น              ขณะที่รออาหารมาเสิร์ฟ
                                                  เสิรฟด้วยจานชามที่มีเอกลักษณ์ พร้อม
                                                        ์
     พนักงานต้องมีอายุใกล้เคียง หรือ              ทั้งมี Story ของอาหารบางเมนูไว้ให้
      เทียบเท่ากับกลุ่มเปูาหมาย เพื่อแบ่งปัน       ลูกค้าได้อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน
      ประสบการณ์
                                               2. Buzz Marketing : เดินแจกส่วนลดตาม
     มีการฝึกอบรมพนักงานให้มีมารยาท           อาคารสานักงานและออฟฟิศต่างๆ เพื่อให้
      เพื่อให้ลูกค้ารู้สึกดีและเกิดความ        ผู้บริโภครับรู้ถึง Brand ได้อย่างรวดเร็ว
      ประทับใจ
                                               3. Direct Marketing : Social Network
    - Process :                                ผ่านทาง Website และ Facebook

          CRM เก็บข้อมูลของลูกค้าที่เป็น       Growth Strategy
    ลูกค้าประจา และเป็นลูกค้าชั้นดีของทาง            ในอนาคตเมื่อเห็นโอกาสในการ
    ร้าน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทาการตลาด      ขยายตลาดและขยายฐานลูกค้าเพิ่มก็จะ
    ต่อไป                                      ขยายสาขาไปยังแหล่งอื่น
          ให้ความสาคัญกับทุก Touch Point
    เพื่อให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ และ         Contingency Plan
    กลับมารับประทานอาหารที่ร้านอีกครั้ง               ถ้ายอดขายไม่ได้ตามเปูาจะ
                                               repositioning โดยเปลี่ยนเป็นร้านแนว
                                               Modern แทน
กลยุทธ์ RETRORANT ( ที่ได้จาก                  ในขณะที่รออาหาร และเมื่อนาอาหารมา
การศึกษา Case Study )                          เสิร์ฟก็จะเสิร์ฟด้วยจานและชามที่เป็น
                                               เอกลักษณ์ของร้าน
1. การเลือกกลุ่มลูกค้าเปูาหมายที่ชัดเจน
ซึ่งเป็นจุดที่สาคัญที่สุด เพราะเราต้องรู้ว่า   4. Word of Mouth โดยการให้ลูกค้าบอก
ลูกค้าเราคือใคร จึงจะสามารถตอบโจทย์            ต่อๆไปยังกลุ่มเพื่อน และชักชวนให้มาทาน
ของลูกค้าได้ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ และ         อาหารที่ร้าน ซึ่งเป็นวิธีที่ประหยัดต้นทุนที่
กาหนดเป็นกลยุทธ์ของร้าน ( กลุ่มลูกค้า          สุดแต่กลับได้ผลมากและกระจายอย่าง
เปูาหมายคือ อายุ 25 – 35 ปี )                  รวดเร็ว

2. Sensory Branding                            5. People ( 7’P ) แต่งกายด้วยชุดที่ย้อน
                                               ไปในสมัยนั้น เพื่อให้ลูกค้าประทับใจและ
        เนื่องจากเห็นด้วยกับทุกๆร้านที่ต้อง
                                               เข้าถึงบรรยากาศที่ทางร้านต้องการนาเสนอ
มีการสร้างบรรยากาศด้วยแสง , สี และเสียง
                                               เพื่อให้มีการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน
เพื่อดึงดูดให้ลูกค้าเข้ามาภายในร้าน
                                               6. การใช้คุณธรรมในการทาธุรกิจ ซึ่งต้องมี
        - Visual Identity ตกแต่งร้านด้วย
                                               คุณธรรมทั้งต่อตนเอง , พนักงาน และลูกค้า
บรรยากาศย้อนยุคไปยังปี 85’s – 95’s
เหมาะกับลูกค้าที่มีอายุ 25 – 35 ปี โดย         กลยุทธ์ RETRORANT ( ของกลุ่ม )
ตกแต่งร้านด้วยโปสเตอร์หนังในยุคสมัยนั้น
                                               1. Buzz Marketing เดินแจกส่วนลดตาม
เช่น บุญชู และโลกทั้งใบให้นายคนเดียว
                                               อาคารสานักงานและออฟฟิศต่างๆ เพื่อให้
เป็นต้น พร้อมทั้งจัดเรียงตั้งโชว์ของเก่าๆที่
                                               ผู้บริโภครับรู้ถึง Brand ได้อย่างรวดเร็ว
เก็บสะสมมา เนื่องจากร้านอาหารที่เป็น
Style ย้อนยุค จะต้องพยายามทาให้ลูกค้า          2. Sales Promotion เช่น Friday Night
เข้ามาในร้านแล้วเกิดความประทับใจแล้วนึก        เพื่อดึงลูกค้าเข้าร้านและกระตุ้นยอดขาย
ถึงบรรยากาศเก่าๆที่ตนเคยผ่านมา                 ของทางร้าน อีกทั้งยังเป็นการสร้างให้เป็น
                                               เอกลักษณ์ของทางร้าน
        - Sonic Identity ด้วยการเปิดเพลง
ที่เคยได้ยินมา เช่น เพราะเธอหรือเปล่า ,        3. Social Network ผ่านทาง Website และ
สบาย สบาย , ใจนักเลง และปาปฺา มาม๊า            Facebook
เป็นต้น ซึ่งทาให้กลุ่มลูกค้านึกถึงในวัยเด็ก
ของตน เช่น ในสมัยนั้นเราเคยฟังเพลงนี้          4. ให้ความสาคัญกับการบริการ เนื่องจาก
และนึกมิวสิกวีดีโอตามไปด้วย เป็นต้น อีก        เป็น Key Success Factor ของธุรกิจ
ทั้งยังกลายเป็นหัวข้อสนทนา                     ร้านอาหาร

3. Customer Engagement สร้างความ               5. ตรวจสอบคุณภาพของอาหารและการ
ประทับใจให้กับลูกค้าทุก Touch Point            ให้บริการตลอดเวลา ด้วยการวางใบประเมิน
ตั้งแต่เริ่มเข้ามาด้วยการสวัสดีลูกค้าทุกราย    รสชาติของอาหารและการบริการของ
และเมื่อลูกค้าได้ที่นั่งแล้วทางร้านก็จะนา      พนักงานไว้ที่โต๊ะรับประทานอาหารของ
ข้าวเกรียบมาแจกให้ลูกค้า หลังจากนั้น           ลูกค้าทุกโต๊ะ
พนักงานจะนาเมนูที่เป็นเอกลักษณ์ของทาง
ร้าน ( เมนูทาจากไม้ ) มาให้ลูกค้าได้เลือก
อาหาร และในระหว่างที่รออาหาร ทางร้าน
จะมีบริการให้เลือกเพลงได้ 1 เพลง เพื่อฟัง

More Related Content

More from Sorawit Yuenyongvithayakul

IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel Bag
IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel BagIS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel Bag
IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel BagSorawit Yuenyongvithayakul
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantSorawit Yuenyongvithayakul
 
Case Study Create New Innoation : USB Cell by Graphene
Case Study Create New Innoation : USB Cell by GrapheneCase Study Create New Innoation : USB Cell by Graphene
Case Study Create New Innoation : USB Cell by GrapheneSorawit Yuenyongvithayakul
 

More from Sorawit Yuenyongvithayakul (16)

IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel Bag
IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel BagIS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel Bag
IS : VR Kun Chark - Plastic Pipe for Travel Bag
 
Case study marketing strategy : Crumpler
Case study marketing strategy : CrumplerCase study marketing strategy : Crumpler
Case study marketing strategy : Crumpler
 
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic BagBusiness Plan : Biodegradable Plastic Bag
Business Plan : Biodegradable Plastic Bag
 
Consumer Behavior & Online Marketing
Consumer Behavior & Online MarketingConsumer Behavior & Online Marketing
Consumer Behavior & Online Marketing
 
Case Study : Dell
Case Study : DellCase Study : Dell
Case Study : Dell
 
Case Study : E-bay
Case Study : E-bayCase Study : E-bay
Case Study : E-bay
 
Case Study : Viral Marketing
Case Study : Viral MarketingCase Study : Viral Marketing
Case Study : Viral Marketing
 
Case Study : Beechwood Spout
Case Study : Beechwood SpoutCase Study : Beechwood Spout
Case Study : Beechwood Spout
 
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK RestaurantStrategic Marketing Management : MK Restaurant
Strategic Marketing Management : MK Restaurant
 
New Venture : After you (Dessert Cafe)
New Venture : After you (Dessert Cafe)New Venture : After you (Dessert Cafe)
New Venture : After you (Dessert Cafe)
 
Case Study : Create Business Ideas
Case Study : Create Business IdeasCase Study : Create Business Ideas
Case Study : Create Business Ideas
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
Case Study Create New Innoation : USB Cell by Graphene
Case Study Create New Innoation : USB Cell by GrapheneCase Study Create New Innoation : USB Cell by Graphene
Case Study Create New Innoation : USB Cell by Graphene
 
Case Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead UserCase Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead User
 
Financial Case Study : Infosys
Financial Case Study : InfosysFinancial Case Study : Infosys
Financial Case Study : Infosys
 
Dtac group1
Dtac group1Dtac group1
Dtac group1
 

Case Study - Retro Marketing

  • 1. “Retro Marketing” What is Retro Marketing? การตลาดแบบย้อนยุค Retro มีรากศัพท์มาจากคาว่า Retrospective คือ การหวนระลึกถึง ความหลัง เมื่อนารากศัพท์นี้มาใช้กับกล ยุทธ์การตลาดหรือที่เรียกว่า "Retro Marketing" จึงหมายถึง การตลาดแบบย้อน ยุค การตลาดแบบย้อนยุค เป็นกลยุทธ์ในการ ทาตลาดผลิตภัณฑ์หรือบริการในรูปแบบ ของการสร้างให้เกิดการย้อนสมัย การระลึก ถึงอดีต โดยการนาเอาผลิตภัณฑ์เก่ามาใช้ ใหม่หรือการสร้างเลียน แบบ หรือการสร้าง Introduction ให้มีความคล้ายคลึง หรือมีกลิ่นอายของ สินค้าหรือบริการที่ใช้กันในยุคนั้นๆ ด้วยการ “...ทุกวันนี้สังคมช่างเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว ชีวิตที่ต้องเร่งรีบและแข่งขันกับเวลา ผสมผสานบรรยากาศ วัฒนธรรม ประเพณี ทาให้ฉันคิดถึงช่วงเวลาในอดีตกับ วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ทาให้ผู้ใช้เกิดอารมณ์ ประสบการณ์ที่แสนประทับใจเสมอ จะมีสัก ความรู้สึกว่ากาลังได้ใช้สินค้าหรือบริการที่มี วันไหมที่ฉันจะสามารถใช้เวลาในเมืองกับ จาหน่ายอยู่ในยุคนั้นสมัยนั้น เพื่อนในวัยเยาว์กับบรรยากาศเก่าๆ อีกครั้ง หนึ่ง...” กระแส Retro นอกจากจะเกิดขึ้นมาจาก อารมณ์ของการหวนระลึกถึงความหลังของ ความรู้สึกข้างต้นคงเป็นความรู้สึกที่ตรงใจ มนุษย์แล้ว ยังเกิดจากการกระตุ้นของภาค กับใครหลายคน ด้วยเหตุนี้ Retro ธุรกิจ ซึ่งมีบ่อยครั้งที่นักการตลาดเลือกที่จะ Marketing หรือ การตลาดแบบย้อนยุค จึง หยิบเอาอดีตมาปัดฝุุนทาใหม่ เพราะส่วน ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ หนึ่งเกิดจากการที่ยังไม่สามารถคิดหา ของผู้บริโภคที่ต้องการย้อนเวลากลับไป สัมผัสช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเองอีกครั้ง ของใหม่มานาเสนอผู้บริโภค เลยต้องนาเอา ซึ่งถึงแม้การตลาดแบบถวิลหาอดีตอาจจะดู กลยุทธ์ดังกล่าวมาใช้ แต่ไม่ใช่ทุกสิ่งทุก เป็นอะไรที่ขัดแย้งและสวนทางกับการ อย่างในวันวานจะสามารถนามาทาการตลาด เติบโตและ Lifestyle ของผู้บริโภคใน ย้อนยุคได้เสมอไป สินค้าหรือบริการไหนที่ ปัจจุบันที่ต่างใช้การพึ่งพาเทคโนโลยีเป็น เคยประสบความสาเร็จในอดีต มักจะถูก หลักค่อนข้างมาก แต่ในความเป็นจริง นามาทาการย้อนยุค เพราะสิ่งเหล่านี้ได้เคย ปัญหาเรื่องนี้กลับไม่มีผลกระทบกับวิธีการ ผ่านการพิสูจน์ว่าสาเร็จมาแล้ว จึงยังมีคนที่ ทาตลาดในรูปแบบนี้เลยด้วยซ้าแถมยังไป กันได้ด้วยดีอีกต่างหาก จึงทาให้ทางกลุ่ม โหยหาอยากจะได้สัมผัสอีกครั้ง สนใจที่จะศึกษาและนาวิธีการตลาดแบบ ย้อนยุคนี้มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจร้านอาหาร ใจกลางเมืองเพื่อสร้างเรื่องราวของวันวาน ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง
  • 2. Types of Retro marketing  ของที่ทาให้เรากลับไปอยู่ใน ช่วงเวลาแห่งความสุข ความสนุกใน Retro – Retro อดีต คือ การทาการตลาดที่ใช้ผลิตภัณฑ์หรือ Generation Y (2525-2538) บริการที่มีมาแต่เดิม และยังมีจัดจาหน่ายอยู่ ในปัจจุบัน โดยผู้ขายยังคงพยายามรักษา  Never Die บรรยากาศ วิธีการขายผลิตภัณฑ์หรือบริการ  ความโบราณ ประมาณยุค 60’s, ให้เหมือนเดิม เพื่อให้สามารถขายสินค้าได้ 70’s หรือ 80’s ในสมัยที่เปลี่ยนไป  ความคลาสสิก มีรูปแบบเป็นของ ตนเอง แตกต่าง Retro – Nova เป็นการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการขึ้นมา How to succeed Retro Marketing ใหม่ โดยพยายามที่จะคงรูปร่าง หน้าตา หรือกลิ่นอายของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่อยู่ 1. ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ซื้อ มาแต่เดิม แต่ผลิตภัณฑ์หรือบริการย้อนยุค เนื่องจากสินค้าและบริการบาง นั้นจะได้รับการปรับปรุงในมิติของคุณสมบัติ ประเภทก็ไม่เหมาะที่จะนาการตลาด ทั้งในเรื่องการใช้งาน ระบบการทางาน หรือ แบบย้อนยุคมาใช้ เพราะผู้บริโภค อรรถประโยชน์ของการใช้งานอื่นๆ เพื่อ อาจไม่รู้จักหรือไม่มีความรู้สึกร่วม ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในยุค ฉะนั้นการทา Retro ควรต้องเลือก ปัจจุบันให้มากขึ้นและดีขึ้นกว่าแต่เดิมที่มีมา สิ่งที่เคยได้รับการพิสูจน์แล้วว่า ประสบความสาเร็จมาก่อนซึ่งจะช่วย ให้ง่ายต่อการทาการตลาด ความคิดเห็นของคนแต่ละช่วงวัยต่อคา 2. สินค้าและบริการควรเป็นสิ่งที่ ว่า „Retro‟ เกี่ยวข้องหรือสามารถนามาใช้ได้ใน Generation B or Baby Boomer (2488- ชีวิตประจาวัน 2508) 3. ราคาที่คนส่วนใหญ่เอื้อมถึงหรือ สัมผัสได้จริง อย่าคิดเพียงแค่ว่าของ  ของเก่าดั้งเดิมที่ไม่มีเทคโนโลยีเข้า เก่าต้องแพงเสมอไป การเข้าถึงคน มาเกี่ยวข้อง มีความคิดสร้างสรรค์ หมู่มากจะช่วยให้โอกาสการตลาด  สินค้าหรือบริการที่มีการสื่อสาร เพิ่มขึ้น เข้าถึงตัวผู้บริโภค 4. ผู้ทาการตลาดย้อนยุคให้สาเร็จได้  เหมือนของเก่าที่เคยใช้ในอดีตตอน จะต้องมีความรู้จริง ต้องศึกษา เป็นหนุ่มๆสาวๆ เรื่องราวนั้นๆให้ถี่ถ้วน 5. คุณค่าของสินค้าและบริการ (Value) Generation X (2508-2524) ต้องไม่ด้อยกว่าของคู่แข่งขันใน  ของเก่าที่เคยฮิตและเป็นที่นิยมใน ปัจจุบัน อดีต แล้วของนั้นกลับมาฮิตอีกครั้ง 6. Concept การย้อนยุคต้องก่อให้เกิด  สร้างแฟชั่นรูปแบบใหม่ โดยใช้ ความคิดในแง่บวก และที่สาคัญต้อง รูปแบบการตลาดแบบย้อนยุคทาให้ สร้างความสุข ความสนุกสนานและ รอยยิ้มให้กับผู้ที่ได้สัมผัส แตกต่าง
  • 3. Success story of Retro Marketing Pathe ( ปาเต๊ะ ) ร้านอาหารสไตล์ย้อนยุคปี 60’s – 70’s ซึ่งเป็นยุคที่แฟชั่นสมัยนั้นเป็นกางเกง ขาบานๆ , ฟังเพลง Elvis และเครื่องเล่น เริ่มแรกตั้งร้าน ปาเต๊ะ นั้นเกิดจาก สเตอริโอก็เป็นสไตล์แผ่นเสียง โดยร้าน ลุงเปี๊ยก โดยลุงเปี๊ยกเริ่มเก็บของเก่าชิ้น ปาเต๊ะ จะมีสาขาอยู่ 3 สาขา คือ แรกซึ่งเป็นของเล่นสังกะสีสมัยที่คุณปูุให้ไว้ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงท่าน หลังจากนั้นลุงเปี๊ยก 1.สาขาปากทางลาดพร้าว เริ่มเก็บสะสมมาเรื่อยๆจนกลายเป็นของที่มี คุณค่า จนกระทั่งวันหนึ่งลุงเปี๊ยกคิดจะทา 2.สาขากระทรวงมหาดไทย ร้านขายของเก่า แต่ก็เกิดความรู้สึกเสียดาย 3.สาขาอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ตรงข้ามสวน คิดว่าน่าจะทาอะไรที่ให้คนอื่นได้มาชื่นชม สันติภาพ ของสะสมของตนได้มากกว่าการขายไปใน ครั้งเดียว จึงเกิดแนวคิดทาร้านอาหารขึ้น คาว่า ปาเต๊ะ มาจากชื่อของบริษัท โดยนาของเก่าของโบราณที่สะสมมา แผ่นเสียงชื่อดังของประเทศเบลเยี่ยม ซึ่ง ออกมาตั้งโชว์ให้คนที่รักของเก่าได้ร่วมชื่น เป็นแรงบันดาลใจให้ลุงเปี๊ยก ( เจ้าของร้าน ชม ซึ่งของสะสมส่วนใหญ่ก็มีอายุเกือบร้อย ) นามาใช้เป็นชื่อร้านอาหารของตน เมื่อเข้า ปี เช่น วิทยุเก่าๆ , แผ่นเสียง , ปูายโฆษณา ไปในร้านสิ่งหนึ่งที่ดึงดูดสายตาลูกค้าก็คือ สังกะสีโบราณ , นาฬิกาแขวน , ของเล่น แผ่นเสียงโบราณจานวนมากที่ประดับอยู่ สังกะสี , โคมไฟ รวมถึงโทรศัพท์ที่เก่าแก่ ภายในร้าน ( ฝาผนัง ) อีกทั้งยังมีวิทยุเก่าๆ เป็นต้น โดยของโบราณต่างๆเหล่านี้ถูก , ลาโพงขนาดใหญ่ , เครื่องเล่นแผ่นเสียง , นามาจัดเรียงอย่างสวยงามภายในร้าน แผ่นปูายโฆษณาสังกะสีโบราณ และของ เพื่อให้ดื่มด่ากับบรรยากาศอย่างเต็มที่ เล่นโบราณ เป็นต้น ซึ่งไม่เพียงแต่โดดเด่น ตั้งแต่เดินเข้ามาภายในจะเห็นตู้โชว์ใส่ของ ด้วยของตกแต่งร้าน ทางร้านยังเปิดเพลง เก่าต่างๆประกอบกับแผ่นเสียงที่ติดเรียงราย เก่าๆยุค 60’s – 70’s ให้ฟังเบาๆคลอตามไป ตลอดหน้าเคาน์เตอร์ทาอาหาร รวมถึงโต๊ะ ด้วย เก้าอี้ที่ใช้ก็ทาเป็นสไตล์โบราณ ( ปูโต๊ะด้วย
  • 4. ผ้าลายสก๊อตหนาๆ ) ตัดกับสีเหลืองของ ผนังที่ใช้เป็นสีประจาของร้าน ซึ่งมีความ หมายถึงความมั่งคั่งและทาให้ของเก่าดูขลัง และมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น อีกทั้งทางร้านยัง สร้างบรรยากาศด้วยเสียงเพลงเก่าๆจาก แผ่นเสียงของจริงที่แทบจะมีครบทุกวงใน สมัยนั้น - ระหว่างทานอาหารถ้าน้าแข็งหมด ทางร้านก็จะนามาเติมให้เอง หรือถ้าโต๊ะ ไหนสั่งเบียร์มาดื่ม ทางร้านก็จะมีเบียร์แช่ เย็นพร้อมเกล็ดน้าแข็งในก้นแก้วไว้คอย ให้บริการ เมื่อความเย็นลดลงก็จะมีคนมา คอยเปลี่ยนแก้วให้ตลอด และที่สาคัญลุง เปี๊ยกหรือเจ้าของร้านมักจะมานั่งคุยกับ ลูกค้า จนหลายคนติดใจคุยกับลุงอย่าง สนุกสนาน เพราะลุงชอบเล่าเรื่องราวเก่าๆ ให้ฟังจนรู้สึกเพลิน ( มีเฉพาะที่สาขา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ) สาหรับเรื่องของอาหาร ลุงเปียกได้ ๊ ให้ลูกชายไปฝึกเรียนทาอาหารจากโรงแรม แล้วนากลับมาปรับปรุงเป็นสูตรของทางร้าน เอง ซึ่งต้องใช้เวลาลองผิดลองถูกอยู่นาน จนกว่าจะเป็นที่พอใจจึงนาออกมาเสิร์ฟ ลูกค้าได้ กลยุทธ์ ปาเต๊ะ 1. ธุรกิจร้านอาหาร ( ธุรกิจบริการ ) ต้องให้ ความสาคัญกับลูกค้าทุก Touch point - จุดแรกตั้งแต่ลูกค้าเข้ามาที่ร้าน - จุดสุดท้ายเมื่อลูกค้าเรียกเก็บเงิน ทางร้านจะนาถั่วลิสงทอดรสชาติดีมาเสิร์ฟ ทางร้านก็จะนาน้าชาร้อนๆมาให้ดื่มเป็นการ ให้ลูกค้าก่อนที่ลูกค้าจะสั่งอาหาร โดยไม่ ล้างปากไปในตัว โดยที่ไม่ได้คิดค่าใช้จ่าย คิดค่าใช้จ่าย และเมื่อถั่วลิสงทอดหมดทาง และขอเติมได้เรื่อยๆเช่นเดียวกับถั่วลิสง ซึ่ง ร้านก็จะนามาเติมให้หรือสามารถขอเติมได้ นับว่าเป็นการปิดท้ายความสุขก่อนที่จะออก เรื่อยๆ เพื่อให้ลูกค้าไม่รู้สึกเบื่อเวลาที่รอ จากร้านปาเต๊ะไป อาหารมาเสิร์ฟ 2. การสร้างเอกลักษณ์ของร้านผ่าน Sensory Branding ลุงเปี๊ยกแนะนาว่า “ทา ร้านอาหารมันต้องมีแสง , สี และเสียง ดึง
  • 5. ให้ลูกค้าเข้าร้าน ถ้าทาร้านเฉยๆไม่มีอะไรไม่ ที่ทุกคนชื่นชอบ ในส่วนของบริการลุงเปี๊ยก มีใครมาเข้าร้านหรอก” จะพยายามให้บริการลูกค้าด้วยตนเอง เพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้มากที่สุด ทุกครั้งที่ - Visual Identity แสงและสี ทาง บริการลุงเปี๊ยกมักจะคิดว่าเหมือนมีเจ้านาย ร้านพยายามใช้แสงไฟสีอ่อนๆ เพื่อให้ คอยมองอยู่ ตนต้องทาให้ดีที่สุด เพื่อที่จะ ภาพลักษณ์ของร้านดูเก่าและดูขลัง เชิญ ได้มีโอกาสก้าวหน้า ถ้าพนักงานเป็นผู้ ชวนให้ลูกค้าที่ชอบบรรยากาศแบบนี้หรือ บริการลูกค้า ลุงเปี๊ยกก็จะให้คิดว่าเหมือนมี ชอบของเก่าๆให้เดินเข้ามาในร้าน ในส่วน ลุงคอยมองอยู่ต้องทาให้ดี เพื่อจะได้มี ของสีทางร้านก็ใช้สีเหลือง ที่เข้ากับของ โอกาสก้าวหน้าไปเป็นเจ้าของร้าน ตกแต่งภายในร้านได้ดี ทาให้ร้านยิ่งดูมี บรรยากาศเก่าๆและดูขลังมากขึ้นไปอีก 4. ทาธุรกิจต้องมีคุณธรรม ลุงเปียกบอกว่า ๊ “ถ้าเรามีคุณธรรม แล้วนาคุณธรรมมาใช้กับ พนักงานในร้านและกับลูกค้า พนักงานและ ลูกค้าก็จะมีคุณธรรมกับเราและเราก็จะได้สิ่ง ตอบแทนเป็นสิ่งดีๆกลับมา” - มีคุณธรรมกับตนเอง ยึดมั่นใน อริยสัจ 4 ( ทุกข์ , สมุทัย , นิโรธ และมรรค ) ใช้คุณธรรมข้อนี้ในการทาธุรกิจ เมื่อมีทุกข์ หรือมีปัญหาภายในร้าน ก็มองหาสาเหตุแล้ว แก้ที่ต้นเหตุ - มีคุณธรรมกับพนักงาน ใช้พรหม วิหาร 4 ( เมตตา , กรุณา , มุทิตา และ อุเบกขา ) เพราะบางครั้งต้องปล่อยวาง เพราะพนักงานไม่ได้เก่งเหมือนเราหรือมี ความรู้เท่าเรา มนุษย์ทุกคนไม่มีใครสมบูรณ์ แบบ บางเรื่องก็ต้องมีความเมตตากรุณา - มีคุณธรรมกับลูกค้า ให้ความ จริงใจกับลูกค้า ถ้าลูกค้าต้องการคาแนะนา หรือความช่วยเหลือต้องให้ด้วยความเต็มใจ ไม่หวังสิ่งตอบแทนแล้วเราก็จะมีความสุขใน - Sonic Identity เสียงที่เป็น การให้ เอกลักษณ์ของร้านคือ เสียงเพลงเก่าๆยุค 60’s – 70’s เช่น How Deep Is your Love 5. มีกฎเกณฑ์ภายในร้าน ให้ทุกคน และ I Can’t Smile Without You เป็นต้น (เจ้าของร้าน , พนักงาน และลูกค้า ) ปฏิบัติ เหมือนกันหมด โดยกาหนดให้ภายในร้าน 3. ร้านอาหาร Key Success Factor คือ เหมือนกับสนามฟุตบอล มีกติกาคือ รสชาติกับบริการ ลุงเปี๊ยกให้ความสาคัญกับ คุณธรรม ทุกคนที่อยู่ในร้านต้องมีคุณธรรม รสชาติอาหาร ลงทุนให้ลูกชายไปเรียน ต่อตนเองและผู้อื่น ใครไม่ปฏิบัติตามกฎก็ ทาอาหารจากโรงแรมแล้วนามาปรับปรุงเป็น เปรียบเสมือนทาลูกบอลออกนอกสนามต้อง สูตรของทางร้าน ซึ่งต้องพิถีพิถัน ลองผิด นาลูกบอลกลับเข้ามาในสนามและใช้กฎที่ ลองถูกอยู่นานกว่าจะได้ออกมาเป็นรสชาติ ร้านมีอยู่ในการอยู่ร่วมกันภายในร้าน
  • 6. บ้านไม้ชายนา (ปากช่อง) ผงซักฟอก , แม้กระทั่งตู้เกมหรือหุ่นยนต์ และโมเดลรถยนต์ในสมัยก่อน เป็นต้น ทั้งนี้ ยังได้รวมกับสิ่งที่ซื้อมาตกแต่งเพิ่มเติม ภายในร้าน ทาให้กลายเป็นเอกลักษณ์ของ ร้านนี้ไปโดยปริยาย ที่มาของชื่อร้าน “บ้านไม้ชายน้า” มาจากลักษณะของร้านและสถานที่ตั้งร้าน ซึ่งลักษณะของร้านหรือตัวบ้านจะทาจากไม้ ทาให้ได้บรรยากาศบ้านไม้เก่าๆสมัยคุณปูุ คุณย่า และสถานที่ตั้งของร้านทีอยู่ริมคลอง ่ ลาตะคลอง อาเภอปากช่อง จังหวัด โดยการให้บริการจะมีทั้งให้บริการ นครราชสีมา ซึ่งเป็นทาเลที่ได้เปรียบคู่แข่ง ขายอาหาร และให้บริการที่พักอาศัยเพื่อให้ หวนราลึกถึงความหลังครั้งยังเป็นเด็ก รายได้ส่วนใหญ่จะมาจากการให้บริการ อาหาร โดยใช้ Concept “อิ่มของกิน อิน ของเก่า” ซึ่งจุดเด่นของร้านจะอยู่ที่การ ตกแต่งร้านและรสชาติของอาหารที่ทาให้มี การกล่าวถึงเป็นอย่างมาก บ้านไม้ชายน้า ร้านอาหารสไตล์ย้อน ยุคปี 2510 - 2520 มีจุดเริ่มต้นมาจากพี่ขวด หรือคุณชาญชัย สถานสถิตย์ ( เจ้าของ ร้าน ) ซึ่งเป็นคนอัมพวา รักและผูกพันอยู่กับ สายน้าและชอบสะสมของเก่า วันหนึ่งพี่ขวด ได้มาพบกับบริเวณที่ตั้งร้านในปัจจุบันและ ได้ตัดสินใจที่จะทาร้านอาหารขึ้นเพื่อรองรับ คุณชาญชัย ได้ให้สัมภาษณ์ว่าวันที่ เวลาที่ตนเกษียณจะได้มาพักอาศัยอยู่ที่นี่ ตนภูมิใจที่สุดตั้งแต่เปิดร้านคือ วันแม่ วันที่ ด้วยความที่รักในของเก่า จึงนาของเก่าที่ เขาได้เห็นบรรยากาศของลูกๆหลานๆพา สะสมไว้ตั้งแต่ประมาณอายุ 20 ปี ออกมาตั้ง คุณพ่อและคุณแม่มารับประทานอาหารที่ โชว์ภายในร้าน เช่น ของใช้และอุปกรณ์ที่ ร้าน พวกท่านเหล่านั้นก็เหมือนได้กลับมา ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ รถเข็นขายของ พบกับสิ่งที่ผูกพันหลายอย่างที่เป็นของใช้ สมัยก่อน , รถสามล้อซาเล้ง , ข้าวของ สมัยท่านยังเด็ก ทั้งที่บางอย่างเราหลายคน เครื่องใช้ต่างๆทั้งสบู่ , แปูง , ยาสีฟัน , อาจยังไม่เคยเห็น ท่านก็จะอธิบายได้อย่าง
  • 7. ไม่มีวันลืม บางอย่างเป็นความทรงจาที่จะ เรียกคืนมาไม่ได้อีกแล้ว แต่พวกเขาก็มา ระลึกและเก็บเกี่ยวความทรงจาดีๆเหล่านั้น จากทางร้านกลับไป กลยุทธ์ บ้านไม้ชายน้า 1. Word of mouth เนื่องจากเป็นร้านสไตล์ Retro ที่เกิดขึ้นเป็นร้านแรกๆ ทาให้ กลายเป็นจุดสนใจและบอกต่อๆกันถึงสไตล์ การตกแต่งร้านที่ทาให้นึกถึงสมัยเก่า จึง กลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ของนักท่องเที่ยว ที่มาปากช่องว่ามาปากช่องแล้วต้องมากิน ร้านนี้ให้ได้ 2. Sensory Branding - Visual Identity โดยร้านจะเน้นใน ส่วนของการใช้สีในการตกแต่งร้าน ซึ่งจะใช้ สีในโทนเหลืองหรือเหลืองอมส้ม เมื่อบวก กับการตกแต่งทีใช้ของเก่าแล้วทาให้ ่ บรรยากาศเหมือนสมัยก่อนมากยิ่งขึ้น - Sonic Identity ทางร้านจะเปิด เพลงเป็นเพลงบรรเลงแนวไทยเดิมให้ลูกค้า ฟังควบคู่ไปกับการชมของสะสมและ รับประทานอาหาร
  • 8. 11 Gallery ตนเอง เช่น “สวัสดีเจ้าค่ะ ดิฉันชื่อ ทองกวาว เจ้าค่ะ” เป็นต้น ทั้งนีอาหารของ ้ ที่นี่บางเมนูกจะเสิร์ฟในปิ่นโต บ้างก็เสิร์ฟ ็ โดยมีกรวยใบตองพร้อมมาลัย ทาให้เห็น ถึงความใส่ใจในรายละเอียดปลีกย่อย เล็กๆน้อยๆของทางร้าน จากการสัมภาษณ์เจ้าของร้าน คุณ ปฺอปได้ชี้แจงว่า “ต้องการให้ทุกคนมาที่นี่ แล้วได้สัมผัสบรรยากาศในสมัยต้น รัตนโกสินทร์ โดยลูกค้าจะมี ยศถาบรรดาศักดิ์เปรียบเสมือนท่านเจ้าคุณ ที่จะมีข้าทาสบริวารมารับใช้ตลอดเวลา” Concept สัมผัสความเป็นไทยสมัย อีกทั้งยังมีมารยาทแบบไทยๆ ซึ่งพนักงาน ต้นรัตนโกสินทร์ ที่ร้าน 11 Gallery จะทา จะต้องยกมือไหว้กล่าวสวัสดีและขอบคุณ หน้าที่สืบทอดวัฒนธรรมการกินอยู่อย่าง ลูกค้าทุกครั้ง ไทย ด้วยการตกแต่งร้านด้วยเรือนไม้และ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทามาหากินของคน ในสมัยก่อน เช่น พัดลมทองเหลือง , กระติกน้าลายสก็อต , ปิ่นโตเถาสีเหลือง ไข่ไก่ , ช้อนส้อมทองเหลือง และโต๊ะตู้ ต่างๆที่ให้บรรยากาศความเป็นไทย ทาให้ หวนราลึกถึงการดารงชีวิตของชาวบ้านใน ยุคก่อน และในยุคปัจจุบันที่ยังคงเหลือให้ ได้พบเห็นบ้างตามชนบท โดยจุดที่ทาให้ดู อบอุ่นที่สุดคือ การจัดมุมที่เป็นการร่วมวง กินข้าวของไทย ทาให้เกิดความรู้สึกนึกถึง ปูุย่าตายายที่นั่งร่วมวงรับประทานอาหาร พร้อมคุยสนทนาไปด้วยกัน คุณปฺอป ( เจ้าของร้าน ) ได้สร้าง เอกลักษณ์ที่ประทับใจลูกค้าทุกรายด้วย การให้พนักงานแต่งตัวด้วยชุดผ้าไทย มี คาพูดคาจาที่ไพเราะเสนาะหู เช่น “เจ้าค่ะ” , “ขอให้เจริญอาหาร สาราญใจนะเจ้าคะ” , “คุณท่าน” และ “ขอให้บันเทิงรื่นเริงใจ” เป็นต้น ให้ลูกค้าได้ยินตลอดเวลา โดย พนักงานทุกคนก็จะมีชื่อไทยเป็นของ
  • 9. ดดก กลยุทธ์ 11 Gallery 1. เลือกกลุ่มลูกค้าเปูาหมายให้ชัดเจน คุณปฺอปได้ชี้แจงว่าลูกค้าของทางร้าน 90% คือชาวต่างชาติที่ต้องการรับประทาน อาหารและสัมผัสบรรยากาศแบบไทยๆ โดยที่ลูกค้าคนไทยที่เข้ามาทานอาหารใน ร้านจะต้องรับได้กับราคาอาหารที่ค่อนข้าง สูงเมื่อเทียบกับปริมาณ เนื่องจาก ชาวต่างชาติมีกาลังซื้อที่สูงและเป็นกลุ่ม ลูกค้าเปูาหมายหลักจึงตั้งราคาอาหารไว้ สูง ดังนั้นคุณปฺอปจึงไม่ได้ให้ความสาคัญ กับลูกค้าคนไทยมากนัก ทั้งนี้ทางร้านยัง - Sonic Identity เสียงที่เป็น เปิดให้บริการตังแต่เวลา 11.00 น. – ้ เอกลักษณ์ของร้านคือ เสียงอันไพเราะของ 24.00 น. เนื่องจากต้องการขายให้กับ พนักงาน พร้อมกับคาพูดคาจาที่เป็น ชาวต่างชาติที่ออกมาท่องเที่ยวใน เอกลักษณ์ เช่น “เจ้าค่ะ” , “ขอให้เจริญ ช่วงเวลาตั้งแต่เย็นเป็นต้นไป อาหาร สาราญใจนะเจ้าคะ” , “คุณท่าน” 2. Positioning ต้องชัดเจน ต้องสื่อให้ และ “ขอให้บันเทิงรื่นเริงใจ” เป็นต้น ลูกค้ารู้ว่าเราต้องการนาเสนออะไร - Olfactory Identity ด้วยการใช้ แตกต่างจากร้านอาหารอื่นอย่างไร และ เมื่อ Positioning ชัดเจนแล้ว แผนการ กลิ่นน้าหอมหรือน้าอบแบบไทยๆให้หอมไป ตลาดทุกอย่างต้องสอดคล้องและทาให้ ทั่วร้านทั้งในส่วนที่เป็นร้านอาหารและใน ลูกค้าเข้าใจในสิ่งที่ร้านต้องการสื่อให้มาก ส่วนที่เป็นสปา ที่สุด 4. People ( 7’P ) 3. Sensory Branding - People ให้ความสาคัญกับมารยาท - Visual Identity แสงและสี ทาง ของพนักงาน พนักงานทุกคนต้องได้รับการ ร้านพยายามใช้แสงไฟสีสลัวๆ เพื่อให้ อบรมและฝึกพูดจาให้ไพเราะ อีกทั้งเครื่อง ภาพลักษณ์ของร้านดูเก่าและดูขลัง เชิญ แต่งกายต้องเป็นชุดไทยเพื่อให้เข้ากับยุค ชวนให้ลูกค้าที่ชอบบรรยากาศแบบนี้ให้เดิน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เข้ามาในร้าน ทั้งนี้ในร้านยังมีให้บริการสปา โดยมี Concept คือ ไสยศาสตร์ จึงใช้ไฟ 5. การทาตัวให้เป็นข่าว คุณปฺอปบอกว่า และบรรยากาศที่มืดแลดูน่ากลัว การทาตัวให้เป็นข่าวคือ การบริหารสื่อ กลัวดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด ช่วยเหลือเกื้อกูลกับสื่อ ไม่ใช่สื่อมา สัมภาษณ์แล้วก็จบไป แต่เราต้อง keep
  • 10. connection ไว้ เช่น เมื่อเราแต่งบ้านทรงจีน Individual Strategy ( Case Study ) ก็จะโทรไปถามสื่อว่าสนใจหรือไม่ ถ้าสนใจ ก็จะนัดมาสัมภาษณ์ เราก็จะได้ลงโฆษณา Strategy บ้านไม้ ฟรี เป็นการประหยัดต้นทุน และช่วยเหลือ ปาเต๊ะ 11 Gallery ร้าน ชายน้า ซึ่งกันและกัน ต้องการ 6. ต้องบอกการทางานให้ชัดเจนแก่ สะสมของ สะสมของ Inspiration สร้างความ เก่า เก่า พนักงาน และวัดและประเมินพนักงานเป็น แตกต่าง ตัวเลขที่สามารถยืนยันได้ และจะต้อง 60-70’s 65-75’s King Rama ตรวจสอบทัศนคติของพนักงานตลอด Concept Int’l S. Thai S. V เพื่อให้ได้คนที่ต้องการทางานกับเราจริงๆ Word of Word of Marketing Promote 7. ต้องทาให้พนักงานเกิดความเคารพและ mouth mouth ยาเกรง เช่น บางครั้งพนักงานทาผิดนิด มารยาท ความเป็น ไม่มีการ หน่อย คุณปฺอปก็จะทาเป็นเสียงดัง Training เรียบร้อยพูด กันเอง สอน เพราะ เหมือนกับเกิดเรื่องใหญ่ เพื่อให้พนักงาน กลัวและไม่กล้าทาผิดอีก เพราะถ้าปล่อยให้ มีระบบ การ ไม่มีระบบ ไม่มีระบบ ควบคุมการ ครั้งแรกผ่านไป ก็จะมีครั้งที่สองตามมา บริหารงาน ควบคุม ควบคุม ทางาน 8. เทคนิคในการได้รอบถี่ๆของร้านอาหาร Uniform มี ไม่มี มี คือ ต้องไล่ลูกค้าแบบสุภาพ เช่น เก็บของที่ กินหมดตลอดเวลา เคลียร์โต๊ะให้ว่าง จะได้ มีลูกค้าใหม่ๆมานั่งเพราะที่นั่งมีจากัด How to apply Retro Marketing to your business Common Strategy ( Case Study ) แนวโน้มธุรกิจร้านอาหาร 1. Visual Identity ทุกร้านอาหารจะเน้นที่ การตกแต่งร้านทั้งแสงและสีซึ่งจะไปใน มูลค่าธุรกิจร้านอาหารเติบโตขึ้นร้อย ทิศทางเดียวกันคือ ใช้แสงและสีในโทนสี ละ 8 เป็น 74,670 ล้านบาท เนื่องจากภาวะ เหลืองอมส้ม ทาให้ของเก่าที่เอามาโชว์ดูมี เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวฟื้นตัว ทาให้ มนต์ขลังมากขึ้น และการตกแต่งจะใช้ของ รายได้ของผู้บริโภคในประเทศเพิ่มขึ้น ตกแต่งที่อยู่ในยุคร่วมสมัยเดียวกัน ทาให้ดู ผู้ประกอบการจึงเร่งปรับปรุงร้านให้ทันสมัย กลมกลืนไม่ขัดกันเอง และขยายสาขา ตลอดจนแนะนาเมนูอาหาร 2. Sonic Identity ทั้งสามร้านมีส่วน ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดและขยาย คล้ายคลึงกันในเรื่องการเปิดเพลง ที่เป็น ฐานลูกค้าให้กว้างขึ้น อย่างไรก็ดีภาวะเงิน เพลงตามยุคสมัยในแต่ละร้าน เช่น ปาเต๊ะ เฟูอที่สูงขึ้นจะทาให้ค่าใช้จ่ายในการ จะเปิดเพลงสากลยุค 60’s-70’s , บ้านไม้ ดาเนินงานและต้นทุนในการประกอบอาหาร ชายน้าจะเปิดเพลงบรรเลงสมัยก่อน และ เพิ่มขึ้นตาม ซึ่งจะส่งผลให้การทากาไรมี 11Gallery เปิดเพลงบรรเลงเครื่องดนตรี แนวโน้มลดลง ไทย เช่น ระนาดและขิม เป็นต้น
  • 11. SWOT ต้องหาซื้ออาหารและรับประทานอาหารนอก บ้านมากขึ้น Strengths 3. การปรับขึ้นค่าครองชีพของภาครัฐและ 1. Relevance เป็นแนวการย้อนยุคที่โดนใจ เอกชน ส่งผลให้รายได้ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น กลุ่มลูกค้าเปูาหมายมากที่สุด ( กลุ่มอายุ 25 – 35 ปี ) อีกทั้งยังเป็นการเลือกช่องว่าง Threats ของยุคที่ยังไม่มีคู่แข่งรายใดลงมาเล่น 1. ราคาน้ามันที่เพิ่มสูงขึ้น ทาให้ต้นทุน 2. Location ใกล้ออฟฟิศและสานักงาน อีก วัตถุดิบในการประกอบอาหารและค่าใช้จ่าย ทั้งซอยอารีย์ยังเป็นแหล่งรวมของ ในการดาเนินธุรกิจสูงขึ้นตาม ร้านอาหารต่างๆที่มีผู้คนสัญจรไปมา มากมาย ประกอบกับในบริเวณนี้ยังไม่มี 2. ปัญหาสารปนเปื้อนในอาหารและการเกิด ร้านอาหาร Style นี้ โรคระบาดต่างๆ ทาให้ผู้บริโภคระมัดระวังใน การบริโภคมากขึ้น 3. Identity มีลักษณะเฉพาะของร้านที่ ชัดเจน ทั้งการแต่งกายของพนักงาน , ที่มา : ธนาคารกรุงไทย กุมภาพันธ์ 2553 ลักษณะของเพลงที่เปิด และการตกแต่งร้าน ด้วยโปสเตอร์และของเล่นต่างๆ ( มุมชัก Retrorant ภาพ ) ( นึกถึง Retro นึกถึง Retrorant ) 4. Variety เนื่องจากมีความหลากหลาย Business Model ของเมนูหรือประเภทของอาหารมากกว่า 50 รายการ โดยมีอาหารแนะนาที่โดดเด่นถึง ร้าน RetroRant มีที่มาจาก Retro 10 รายการ ( อาหารคาว 5 รายการ และ + Restaurant กลายเป็น “RETRORANT” อาหารหวาน 5 รายการ ) ร้านอาหารแนวย้อนยุคที่ใช้รูปแบบ Retro - Retro ทาให้นึกถึงสมัยวัยเยาว์ของคนรุ่นปี Weaknesses 2528 - 2538 หรือเป็นยุค 85’s – 95’s 1. ประสบการณ์ของผู้ประกอบการที่เพิ่ง นั่นเอง โดยร้านเราจะเน้นขายบรรยากาศ เริ่มต้นเข้ามาในธุรกิจนี้ ซึ่งต้องใช้เวลาใน ไทยๆ เก็บความรู้สึกดีๆและสัมผัส การศึกษาและปรับตัวสักระยะหนึ่ง บรรยากาศที่ดี เมื่อลูกค้าเข้าไปในร้านจะทา 2. เงินลงทุนสูงในการตกแต่งร้าน ให้หวนราลึกถึงวันหลังครั้งยังเป็นเด็ก ร้อง 3. ไม่มีนวัตกรรม สามารถเลียนแบบได้ง่าย เพลงที่ร้านเปิดได้ทุกเพลง ฟังเพลงแล้ว Opportunities สามารถเล่าเรื่องราวของเพลงนั้นๆ ทั้ง เรื่องราวที่เกี่ยวกับศิลปิน หรือว่าละครในยุค 1. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆของ นั้นๆ แต่ว่าร้านของเราไม่ได้ย้อนกลับไปลึก รัฐบาล เช่น โครงการไทยเข้มแข็ง ซึ่ง ถึงรุ่นพ่อ หรือ แม่ในวัยรุ่น เพราะเป็นเรื่องที่ ก่อให้เกิดการจ้างงานทาให้ประชาชนมี ไกลเกินกว่าวัยรุ่นสมัยนี้ ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้า รายได้และกาลังซื้อมากขึ้น หลักของเราจะสามารถเข้าถึงได้ เรา ต้องการทาให้เข้ามาแล้วยังพอจาได้เป็น 2. วิถีการดาเนินชีวิตที่เร่งรีบในการเดินทาง ภาพรางๆว่าเคยเจอสิ่งต่างๆเหล่านั้นตอน และการทางาน ทาให้ผู้บริโภคส่วนใหญ่ ไหน อีกทั้งทางร้านยังต้องการให้ที่ร้านเป็น เหมือนที่นัดพบปะสังสรรค์ เหมือนเป็น
  • 12. สถานที่นัดชุมนุมของเพื่อนเก่า ที่จะมาเจอ กันอีกครั้งหนึ่ง ร้าน Retrorant มีรูปแบบการให้บริการคือ  จาหน่ายอาหารคาว อาหารหวาน โดยมี เมนูพิเศษประจาร้านที่คิดขึ้นมาเองเป็น เมนูแนะนาให้แก่ลูกค้า  บริเวณร้านจะมีมุมขายขนมสมัยก่อน Vision เพือไว้เป็นที่ระลึก เช่น ขนมบุหรี่ , เป็นแบรนด์อันดับ 1 ในใจลูกค้าด้าน ซูกัส , ไข่ไดโนเสาร์ , ขนมสายไหม ร้านอาหารแนว Retro และหมากฝรั่งตรานกแก้ว เป็นต้น Mission ประกอบธุรกิจร้านอาหารโดยให้ความสาคัญ กับคุณภาพและบริการและสร้างบรรยากาศ ให้ลูกค้านึกถึงเมื่อครั้งยังเป็นเด็ก ( 2528 – 2538 ) STP กลุ่มเปูาหมาย ( Target ) กลุ่มคนที่มอายุ 25 – 35 ปี ซึ่งเป็น ี วัยที่เริ่มต้นทางานและเคยสัมผัสกับ บรรยากาศแบบนี้แล้วในวัยเด็ก ถึงแม้ว่าจะ เคยลืมเลือนไปบ้างแล้วก็ตาม ( เฉพาะ กรุงเทพ จานวนผู้ชาย 430,784 คน และ จานวนผู้หญิง 466,306 คน ) ที่มา : กรมการปกครอง ธันวาคม 2552 โดยมีกลุ่มเปูาหมายรองคือคนทั่วไป และกลุ่มเด็กรุ่นใหม่ที่ไม่เคยพบเจอ กับ บรรยากาศในสมัยนั้นมาก่อน เพราะจะ กลายเป็นสิ่งที่แปลกใหม่สาหรับพวกเค้า
  • 13. อาหารหวาน ที่เป็น Signature Value Curve 1.หวามเค็มลงตัว (ปลากริมไข่เต่า) 60 12 2.พบญาติ (รวมมิตรข้าวเหนียวมูล) 120 10 3.ลอยรัก (บัวลอยเผือก ไข่กล้วยหอม) 50 8 ปาเต๊ะ 4.ฟาดเคราะห์ (ลอดช่อง) 40 6 4 บ้านไม้ชายน้า 2 0 11 Gallery การแต่งตัว หวนให้คิดถึงวันวาน ความเป็นไทย การบริการ Retrorant Holistic Market Strategy 1. 7’P - Price : - Product :มีทั้งอาหารไทยทั่วไป และมี อาหารคาว 70-200 บาท อาหารที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของทาง อาหารหวาน 40-120 บาท ร้าน Retrorant เท่านั้น ดังตัวอย่างเช่น - Channel : ซอยอารีย์ พญาไท กรุงเทพ อาหารคาวที่เป็น Signature 1.คาคา (เมี่ยงปลาทู) 120 - IMC : Sales Promotion เช่น Friday 2.แกงไหลไปตามเวลา 200 Night เพื่อดึงลูกค้าเข้าร้านและกระตุ้น (แกงส้มไหลบัว) ยอดขายของทางร้าน อีกทั้งยังเป็นการ 3.ผักผัก Retro (ใบเหลียงผัดไข่) 90 สร้างให้เป็นเอกลักษณ์ของทางร้าน 4.ข้าวผัดวันวาน (ข้าวผัดหมูทอด) 90 5.หมกความหลัง (ห่อหมกขนมครก) 120
  • 14. - Physical Evidence : Website/ การตกแต่งร้านใน Style ย้อนยุค ซึ่ง Walk-in ประกอบด้วย โปสเตอร์ภาพยนตร์เก่าๆที่ คิดเงิน เข้ามาที่ร้าน แปะเรียงรายอยู่ตามผนัง พร้อมกับการเปิด เพลงในยุคสมัยนั้นประกอบกันไปเบาๆ และยังมีมุมขายขนมเก่าๆและมุมถ่ายภาพ ไว้ให้บริการในบรรยากาศที่เป็นกันเองเพือ ่ รับประทาน สั่งอาหาร เป็นการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน อาหาร Confirm - People : order  การแต่งกายพนักงานชาย : เป็นกางเกง  เปิด Website เป็นสไตล์ย้อนยุค ขาม้า ขากระดิ้งเอวสูง สีสันสดใส และ  สวัสดีลูกค้าทุกคนที่มารับประทาน สวมเสื้อเชิ้ตกระดุมปิดคอสีตัดกัน และ อาหาร รองเท้าหนังส้นตึก เป็นต้น  ก่อนสั่งอาหารจะมีพนักงานนาข้าว เกรียบมาให้รับประทาน  การแต่งกายพนักงานหญิง : เป็นเสื้อเด  เมนูที่นามาให้ลูกค้าเลือกจะทาจากไม้ รสกระโปรง คอบัว หรือเป็นกระโปรงบาน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของทางร้าน ทรงสุ่ม โดยจะเน้นสี ชมพูบานเย็น ส้ม  สามารถเลือกเพลงที่ต้องการฟังได้ใน เขียว ขาว รองเท้าส้นตึก เป็นต้น ขณะที่รออาหารมาเสิร์ฟ  เสิรฟด้วยจานชามที่มีเอกลักษณ์ พร้อม ์  พนักงานต้องมีอายุใกล้เคียง หรือ ทั้งมี Story ของอาหารบางเมนูไว้ให้ เทียบเท่ากับกลุ่มเปูาหมาย เพื่อแบ่งปัน ลูกค้าได้อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ประสบการณ์ 2. Buzz Marketing : เดินแจกส่วนลดตาม  มีการฝึกอบรมพนักงานให้มีมารยาท อาคารสานักงานและออฟฟิศต่างๆ เพื่อให้ เพื่อให้ลูกค้ารู้สึกดีและเกิดความ ผู้บริโภครับรู้ถึง Brand ได้อย่างรวดเร็ว ประทับใจ 3. Direct Marketing : Social Network - Process : ผ่านทาง Website และ Facebook CRM เก็บข้อมูลของลูกค้าที่เป็น Growth Strategy ลูกค้าประจา และเป็นลูกค้าชั้นดีของทาง ในอนาคตเมื่อเห็นโอกาสในการ ร้าน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทาการตลาด ขยายตลาดและขยายฐานลูกค้าเพิ่มก็จะ ต่อไป ขยายสาขาไปยังแหล่งอื่น ให้ความสาคัญกับทุก Touch Point เพื่อให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ และ Contingency Plan กลับมารับประทานอาหารที่ร้านอีกครั้ง ถ้ายอดขายไม่ได้ตามเปูาจะ repositioning โดยเปลี่ยนเป็นร้านแนว Modern แทน
  • 15. กลยุทธ์ RETRORANT ( ที่ได้จาก ในขณะที่รออาหาร และเมื่อนาอาหารมา การศึกษา Case Study ) เสิร์ฟก็จะเสิร์ฟด้วยจานและชามที่เป็น เอกลักษณ์ของร้าน 1. การเลือกกลุ่มลูกค้าเปูาหมายที่ชัดเจน ซึ่งเป็นจุดที่สาคัญที่สุด เพราะเราต้องรู้ว่า 4. Word of Mouth โดยการให้ลูกค้าบอก ลูกค้าเราคือใคร จึงจะสามารถตอบโจทย์ ต่อๆไปยังกลุ่มเพื่อน และชักชวนให้มาทาน ของลูกค้าได้ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ และ อาหารที่ร้าน ซึ่งเป็นวิธีที่ประหยัดต้นทุนที่ กาหนดเป็นกลยุทธ์ของร้าน ( กลุ่มลูกค้า สุดแต่กลับได้ผลมากและกระจายอย่าง เปูาหมายคือ อายุ 25 – 35 ปี ) รวดเร็ว 2. Sensory Branding 5. People ( 7’P ) แต่งกายด้วยชุดที่ย้อน ไปในสมัยนั้น เพื่อให้ลูกค้าประทับใจและ เนื่องจากเห็นด้วยกับทุกๆร้านที่ต้อง เข้าถึงบรรยากาศที่ทางร้านต้องการนาเสนอ มีการสร้างบรรยากาศด้วยแสง , สี และเสียง เพื่อให้มีการแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน เพื่อดึงดูดให้ลูกค้าเข้ามาภายในร้าน 6. การใช้คุณธรรมในการทาธุรกิจ ซึ่งต้องมี - Visual Identity ตกแต่งร้านด้วย คุณธรรมทั้งต่อตนเอง , พนักงาน และลูกค้า บรรยากาศย้อนยุคไปยังปี 85’s – 95’s เหมาะกับลูกค้าที่มีอายุ 25 – 35 ปี โดย กลยุทธ์ RETRORANT ( ของกลุ่ม ) ตกแต่งร้านด้วยโปสเตอร์หนังในยุคสมัยนั้น 1. Buzz Marketing เดินแจกส่วนลดตาม เช่น บุญชู และโลกทั้งใบให้นายคนเดียว อาคารสานักงานและออฟฟิศต่างๆ เพื่อให้ เป็นต้น พร้อมทั้งจัดเรียงตั้งโชว์ของเก่าๆที่ ผู้บริโภครับรู้ถึง Brand ได้อย่างรวดเร็ว เก็บสะสมมา เนื่องจากร้านอาหารที่เป็น Style ย้อนยุค จะต้องพยายามทาให้ลูกค้า 2. Sales Promotion เช่น Friday Night เข้ามาในร้านแล้วเกิดความประทับใจแล้วนึก เพื่อดึงลูกค้าเข้าร้านและกระตุ้นยอดขาย ถึงบรรยากาศเก่าๆที่ตนเคยผ่านมา ของทางร้าน อีกทั้งยังเป็นการสร้างให้เป็น เอกลักษณ์ของทางร้าน - Sonic Identity ด้วยการเปิดเพลง ที่เคยได้ยินมา เช่น เพราะเธอหรือเปล่า , 3. Social Network ผ่านทาง Website และ สบาย สบาย , ใจนักเลง และปาปฺา มาม๊า Facebook เป็นต้น ซึ่งทาให้กลุ่มลูกค้านึกถึงในวัยเด็ก ของตน เช่น ในสมัยนั้นเราเคยฟังเพลงนี้ 4. ให้ความสาคัญกับการบริการ เนื่องจาก และนึกมิวสิกวีดีโอตามไปด้วย เป็นต้น อีก เป็น Key Success Factor ของธุรกิจ ทั้งยังกลายเป็นหัวข้อสนทนา ร้านอาหาร 3. Customer Engagement สร้างความ 5. ตรวจสอบคุณภาพของอาหารและการ ประทับใจให้กับลูกค้าทุก Touch Point ให้บริการตลอดเวลา ด้วยการวางใบประเมิน ตั้งแต่เริ่มเข้ามาด้วยการสวัสดีลูกค้าทุกราย รสชาติของอาหารและการบริการของ และเมื่อลูกค้าได้ที่นั่งแล้วทางร้านก็จะนา พนักงานไว้ที่โต๊ะรับประทานอาหารของ ข้าวเกรียบมาแจกให้ลูกค้า หลังจากนั้น ลูกค้าทุกโต๊ะ พนักงานจะนาเมนูที่เป็นเอกลักษณ์ของทาง ร้าน ( เมนูทาจากไม้ ) มาให้ลูกค้าได้เลือก อาหาร และในระหว่างที่รออาหาร ทางร้าน จะมีบริการให้เลือกเพลงได้ 1 เพลง เพื่อฟัง