SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนำ
ภูมิหลัง
ในการเรียนภาษาไม่ว่าจะเป็นภาษาใดในระดับชั้นใดก็ตาม ผู้เรียนจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
เรียนรู้เกี่ยวกับเสียง และคาศัพท์ในภาษานั้น ๆ (Tomlinson et al. 2011 : 344) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในปัจจุบันการสอนคาศัพท์เป็นสิ่งที่มีความสาคัญมาก เพราะคาศัพท์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของ
การสื่อสาร ดังที่ เดวิด วิลกินส์ กล่าวไว้ว่า “หากปราศจากไวยากรณ์การสื่อสารเกิดขึ้นน้อยมาก แต่เมื่อ
ปราศจากคาศัพท์การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นเลย” (Thornbury. 2008 : 13) การเรียนรู้คาศัพท์ถือเป็น
ภาระงานใหญ่ และสาคัญที่สุดที่ผู้เรียนภาษาต้องเผชิญ (Thornbury. 2008 : 14)
คาศัพท์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ คาแสดงเนื้อหา เช่น คานาม คากริยา
คาคุณศัพท์ และหน้าที่ของคา เช่น กริยานุเคราะห์บุพบท สันธาน (Richards, Platt, and Schmitt.
2004 : 13) ส่วนการรู้คาศัพท์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การรับรู้คาศัพท์ และการผลิตคาศัพท์
กล่าวคือ การรับรู้คาศัพท์ได้มาจากการฟัง และการอ่าน ส่วนการผลิตคาศัพท์ก่อให้เกิดทักษะการพูด
และการเขียน (Laufer, Paribakht and Melka. 2004 : 16) การเรียนรู้คาศัพท์ประกอบไปด้วย
องค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ (1) การเรียนรู้รูปแบบของคาศัพท์ เช่น การออกเสียง การสะกดคา และ
หน้าที่ของคาศัพท์ (2) การเรียนรู้ความหมายของคา ซึ่งรู้ว่ารูปแบบของคาศัพท์มีความสัมพันธ์กับ
ความหมายของคาศัพท์อย่างไร และ (3) การเรียนรู้หลักการนาไปใช้ คือ ความสามารถในการนาคาศัพท์
ไปใช้ในบริบทที่เหมาะสม ซึ่งผู้เรียนภาษาที่สองจาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อจะนาไปสู่ทักษะการพูด และ
การเขียน (Nation. 2004 : 17) นอกจากนี้ คาศัพท์หลายคามีการเรียนรู้โดยบังเอิญผ่านกิจกรรม
หลายอย่างทั้งจากการอ่าน และการฟัง ดังนั้นการกระตุ้นผู้เรียนให้อ่าน และเขียนจะเป็นโอกาสที่ดีใน
การเรียนรู้คาศัพท์ใหม่ (Hunt and Beglar. 1998 : 1)
ในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนพบปัญหาที่เกิดขึ้นหลายอย่าง ได้แก่ ปัญหาที่หนึ่ง
คือ การที่ไม่สามารถจาคาศัพท์ที่เรียนไปแล้วได้ ซึ่งอาจทาให้การสนทนาไม่ประสบความสาเร็จตาม
จุดประสงค์ ปัญหาที่สอง คือ การใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมตามบริบททางสังคม ปัญหาที่สาม คือ การใช้
คาศัพท์ไม่ถูกต้องตามระดับภาษา เช่น การใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมกับบุคคลในการสนทนา เช่น ใช้ภาษา
เชิงวิชาการในการสนทนาทั่วไป นอกจากนั้นยังมีปัญหาอื่น ๆที่เกิดจากการใช้คาศัพท์ เช่น การใช้
คาศัพท์ไม่ถูกต้อง การสะกดคาผิด การออกเสียงผิด สิ่งเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้คาศัพท์ไม่ใช่
เพียงแต่การจดจาคาศัพท์เท่านั้น (Campillo. 2014 : 39)
เทคนิคช่วยจา (Mnemonic Technique ) เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจา
การสอนเทคนิคช่วยจาเป็นการมอบเครื่องมือให้แก่ผู้เรียนในการถอดรหัสข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น ทาให้การค้น
คืนข้อมูลในภายหลังง่ายขึ้น การสอนเทคนิคช่วยจามีประสิทธิภาพเมื่อใช้กับผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน
ด้านการเรียนรู้ และความสามารถด้านการเรียนต่า (Hayes. 2009 : 7) เทคนิคช่วยจาเกี่ยวข้องกับ
การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลใหม่ที่จะเรียนซึ่งผู้เรียนยังไม่คุ้นเคย กับข้อมูลที่ได้เรียนรู้แล้ว และมี
2
ความคุ้นเคย ผ่านการใช้รูปภาพหรือการผสมตัวอักษรในรูปแบบของคาศัพท์ (Wolgemuth, Cobb
and Alwell. 2011 : 79) การใช้เทคนิคช่วยจาช่วยให้ข้อมูลใหม่สัมพันธ์กับข้อมูลเดิม ทาให้เกิด
การจาระยะยาว (Long-term Memory) ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปถูกป้อนในรูปแบบที่เข้ากันได้ หรือมีความ
เกี่ยวข้องกันกับสิ่งที่ได้เรียนไปแล้ว ส่งผลให้ข้อมูลถูกเก็บไว้ได้ยาวนานยิ่งขึ้น และการค้นข้อมูลคืนผ่าน
รูปแบบการพูดหรือการมองเห็นก็จะง่ายขึ้น นอกจากนั้นเทคนิคช่วยจายังช่วยในการเชื่อมโยงคาศัพท์กับ
ข้อมูลที่ได้เรียนรู้มา โดยใช้เทคนิคบางชนิด เช่น การใช้มโนภาพ (Imagery) หรือ การจัดหมวดหมู่
(Grouping) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ (Mastropieri and Scruggs. 2011 : 179)
เทคนิคช่วยจามีมากหมายหลายประเภท เช่น เทคนิคคาสาคัญ (Keyword) ใช้ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเรียนรู้เบื้องต้น และความคงทนของข้อมูล และระบบข้อมูล ซึ่งผู้เรียนมักพบเจอใน
โรงเรียน วิธีการนี้ใช้ทั้งเสียง และรูปภาพเพื่อส่งเสริมข้อมูลใหม่ที่จะเรียนให้มีความหมายมากยิ่งขึ้น
(Mastropieri. 2011: 79) เทคนิค Pegword เป็นเทคนิคที่นามาใช้ในการเรียนรู้คาศัพท์เพื่อช่วยใน
การเรียนรู้ และเรียกคืนข้อมูลเช่น 1=bun, 2 = shoe (Fontana, Scruggs and Mastropieri.
2007 : 346) และ เทคนิคดนตรี (Music) เป็นเทคนิคที่ช่วยส่งเสริมการเรียกคืนข้อมูลโดยใช้ดนตรี
เป็นสื่อในการเรียนการสอน (Hayes. 2009 : 20) ซึ่งข้อมูลที่เป็นตัวอักษรจะถูกดัดแปลงให้เป็นเพลง
หรือทานองเพลงที่ผู้เรียนมีความคุ้นเคย จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถจาข้อมูลได้ดี และนานยิ่งขึ้น
(Wallace. 2008 : 4)
เทคนิคช่วยจามีประโยชน์อย่างมากต่อผู้เรียน เป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิด
การเรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้น ลดความสับสนในกลุ่มสิ่งของที่มีความคล้ายคลึงกัน ทาให้การจดจา และการใช้
ข้อมูลในระยะยาวดีขึ้น (Shmidman, and Ehri. 2011 : 79) มีตัวอย่างงานวิจัยและการศึกษา
มากมายที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพที่ดีของเทคนิคการช่วยจา เช่น แมสโตเพียรี และ สกรักส์
(Mastropieri and Scruggs. 2009 : 9-10) ได้ทาการวิจัยเชิงทดลองหลายครั้งกับนักเรียนกว่า
1,000 คน เป็นเวลากว่า 10 ปี และได้นาเสนอข้อมูลหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของการ
สอนโดยใช้เทคนิคช่วยจาในชั้นเรียน ซึ่งชี้ให้เห็นว่านักเรียนที่ได้รับการสอนเทคนิคช่วยจาสามารถค้นคืน
ข้อมูลจากความจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้นักเรียนยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เพิ่มขึ้น มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน วิธีการสอน
เช่นนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับนักเรียนที่มีความแตกต่างด้านการเรียนรู้ และเหมาะสาหรับผู้ที่มี
ปัญหาด้านการจดจา และการค้นคืนข้อมูล ในส่วนของงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคคาสาคัญ เบลกิซาดา
และอาชูริ ได้ทาการศึกษาในเรื่อง การใช้เทคนิคคาสาคัญ และการใช้รายการคาศัพท์ที่มีผลต่อความ
คงทนในการจดจาคาศัพท์แบบฉับพลันของผู้เรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ โดยได้
ทาการศึกษากับนักเรียน จานวนทั้งหมด 44 คน ซึ่งมีทักษะทางภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น และไม่
เคยใช้เทคนิคคาสาคัญ จากการศึกษาพบว่า กลุ่มนักเรียนที่ได้เรียนรู้คาศัพท์ผ่านการใช้เทคนิคคาสาคัญ
สามารถจาคาศัพท์ได้มากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้เทคนิคช่วยจา ซึ่งชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพของเทคนิคคา
สาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนจดจาคาศัพท์ได้ง่ายยิ่งขึ้น (Baleghizadeh and Ashoori. 2010 : 4-5)
และสาหรับการใช้ดนตรีในการช่วยจา แคมเบลโล ดีคาโร่ โอเนล และ วาเซค ได้ทาการวิจัยเชิง
ปฏิบัติการในโรงเรียนระดับอนุบาล 3 แห่ง เป้าหมายของการวิจัยเพื่อส่งเสริมการระลึกข้อมูล และ
เนื้อหาที่ใช้เรียนในโรงเรียนโดยใช้ดนตรี และเทคนิคช่วยจา เป้าหมายของการวิจัยไม่เพียงแต่เพื่อพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจ และมีส่วนร่วมในการ
3
เรียน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากยิ่งขึ้น และผลการทดสอบของนักเรียนมีค่า
คะแนนที่สูงขึ้น สาหรับเด็กอนุบาล การใช้เพลงในการเรียนรู้คาศัพท์ช่วยให้นักเรียนสามารถออกเสียง
คาศัพท์ได้ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น (Campabello, De Carlo, O’Neil and Vacek. 2009 : 16)
ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นว่าการเรียนรู้คาศัพท์เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สาคัญที่แสดงให้เห็นถึง
พัฒนาการของการเรียนภาษา คาศัพท์เป็นพื้นฐานสาคัญที่มีบทบาทต่อพัฒนาการที่ดีในการเรียนภาษา
ทั้งในด้านทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน แต่ยังคงเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
คาศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น การที่ผู้เรียนจาคาศัพท์ไม่ได้ ใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์
ใช้คาศัพท์ในระดับภาษาที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น ผู้วิจัยจึงได้ตระหนักถึงปัญหาการเรียนรู้คาศัพท์เหล่านี้
โดยได้เล็งเห็นประโยชน์ของการใช้เทคนิคช่วยจาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และความสามารถในการจดจา
คาศัพท์ ซึ่งได้รับการอ้างอิงจากงานวิจัยต่างประเทศจากหลาย ๆ สถาบัน โดยพบว่าเทคนิคช่วยจา
สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ และการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถ
แก้ไขปัญหาการออกเสียงคาศัพท์ และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นที่จะเพิ่มขีด
ความสามารถของตนเอง ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจ และเลือกที่จะนาเอาเทคนิคช่วยจามาใช้เป็นเครื่องมือ
เพื่อพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้และจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
โดยใช้เทคนิคช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70
2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
โดยใช้เทคนิคช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
3. เพื่อเปรียบเทียบการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนเรียน และหลังเรียนในการใช้เทคนิค
ช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
4. เพื่อศึกษาการแก้ปัญหาการออกเสียงคาศัพท์ภาษาอังกฤษขณะจัดกิจกรรมด้วยเทคนิค
ช่วยจา
ควำมสำคัญของกำรทำวิจัย
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการพัฒนาการเรียนภาษาอังกฤษในด้านการพัฒนา
ความสามารถในการจดจาคาศัพท์ และแก้ไขการออกเสียงคาศัพท์ภาษาอังกฤษหลังจากได้เรียนรู้เทคนิค
ช่วยจา
2. การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจาจะเป็นแนวทางให้กับครูผู้สอน และผู้วิจัยใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของผู้สอนและผู้ที่มีบทบาททางการศึกษาในการ
พัฒนาความสามารถในการจดจาคาศัพท์ และทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจา และเป็น
การส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแก่ผู้เรียน
4
4. เป็นแนวทางการศึกษาค้นคว้าสาหรับผู้สอน และผู้ที่มีบทบาททางการศึกษาเกี่ยวกับการ
พัฒนาความสามารถในการจดจาคาศัพท์และทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ที่มีสภาพปัญหาคล้ายคลึงกัน
ได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตของกำรวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2557 จานวน 7 ห้องเรียน นักเรียนจานวน 280 คน
1.2 ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2557 จานวนนักเรียน 40 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกรูปแบบ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม
(Cluster Sampling)
2. ตัวแปรที่ศึกษา
2.1 ตัวแปรอิสระคือ
2.1.1 เทคนิคช่วยจา
2.2 ตัวแปรตามคือ
2.2.1 คาศัพท์ภาษาอังกฤษ
3. สมมติฐาน
ความสามารถในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหลังจากการเรียนด้วย
เทคนิคช่วยจา
4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 1 ภาคเรียน คือ ปีการศึกษา 2557 เป็นเวลา 3 เดือน
เริ่มจากเดือนมกราคม–มีนาคม 2557
เนื้อหำที่ใช้ในกำรวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพิจารณาโดยใช้เนื้อหาจากแหล่งเรียนรู้ที่มีความสอดคล้อง
กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 3 เรื่อง
ดังต่อไปนี้
1. Unit: Career
Topic: Future Career
มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
2. Unit: Places
Topic: Tourist Attractions
5
Sub-Topic: History
มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
3. Unit: Interest/Opinion
Topic: Concert
มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
4. Unit: Environment
Topic: Pollutions
มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
นิยำมศัพท์เพำะ
1. การเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการให้ความหมาย
และการนาคาศัพท์ไปสื่อสารด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน
2. เทคนิคช่วยจา หมายถึง เทคนิคที่เชื่อมโยงข้อมูลใหม่ และการระลึกข้อมูลที่เก็บอยู่ใน
ความทรงจา เพื่อช่วยจาสิ่งที่ยากให้จาง่ายขึ้น ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้เทคนิคดังต่อไปนี้
2.1 เทคนิคคาสาคัญ (Keyword) คือ การเชื่อมโยงข้อมูลใหม่ให้สัมพันธ์กับความรู้เดิม
โดยเชื่อมโยงระหว่าง เสียงของคาศัพท์กับความหมาย พร้อมกับการจินตนาการไปด้วย เช่นคาว่า rush
จะใช้คาสาคัญภาษาไทยเชื่อมโยงคือคาว่า ลัด โดยให้นักเรียนจินตนาการว่า แม่ขับรถไปส่งไปโรงเรียน
แต่รถติดมากลูกจึงบอกให้คุณแม่ใช้ทาง ลัด เพื่อจะได้ไปถึงจุดหมายให้เร็วขึ้น ซึ่ง rush หมายถึง เร่งรีบ
เมื่อนักเรียนเห็นคานี้จะทาให้นึกคาศัพท์ภาษาอังกฤษคาว่า rush ขึ้นได้ ใช้ในการจาคาศัพท์ ข้อมูลใหม่
ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น
2.2 เทคนิค Pegword เปรียบเสมือนระบบสมองที่รวมคาศัพท์ที่เราต้องการไว้ด้วยกัน
โดยการนาเอาคาศัพท์ และตัวเลขมาเชื่อมโยงกันให้จาง่ายขึ้น และเป็นวิธีที่มีประโยชน์ในการจดจา
รายชื่อ รายการสิ่งของต่างๆ ที่มีลาดับ 1, 2, 3… ซึ่งมักจะใช้ตัวเลขให้มีเสียงสัมผัส (Rhyme) กับสิ่งของ
นั้น และใช้จินตนาการในการช่วยจา
2.3 เทคนิคอักษรตัวแรก (First Letter) เทคนิคนี้จะใช้อักษรตัวแรกของคามาทาให้เป็น
ตัวอักษรย่อ หรือ คาๆหนึ่ง คาย่อที่มาจากตัวอักษรแรกของคาจะช่วยให้จาคาศัพท์โดยผู้เรียนระลึก
ข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับอักษรย่อที่ได้กาหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่าผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมต้องจาคา
ว่า borax ซึ่งมีองค์ประกอบคือ boron, oxygen and sodium ผู้เรียนสามารถดึงอักษรตัวแรกจากคา
ดังกล่าว จะได้คาว่า bos หลังจากนั้น เมื่อผู้เรียนระลึกข้อมูลในองค์ประกอบของคาว่า borax ผู้เรียน
จะใช้เทคนิคในการจาคาว่า bos ในการนึกถึงองค์ประกอบของสารนั้นทั้งหมด
2.4 การเชื่อมโยงรูปภาพ (Interactive Image) คือการที่ผู้เรียนจินตนาการถึงรูปภาพ
ของคาศัพท์นั้นเชื่อมโยงกับรูปภาพของคาศัพท์อีกคาหนึ่งให้มีความสัมพันธ์กัน เช่น ผู้เรียนต้องการจะ
ซื้อ ถุงเท้า แอบเปิ้ล และ กรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการว่า ผู้เรียนกาลังใช้กรรไกรตัดถุงเท้า ซึ่งข้างใน
ถุงเท้ามีแอบเปิ้ลอยู่
3. ประสิทธิภาพของการใช้เทคนิคช่วยจา หมายถึง คุณภาพของการใช้เทคนิคช่วยจา
ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าได้นามาใช้ในการเรียน การสอน และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 ดังนี้
6
70 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนที่ได้จาการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน
ได้แก่ กิจกรรมจากใบงานของนักเรียนทั้งหมดจากการสอนทั้งหมด 3 แผน และคะแนนเข้าเรียน ซึ่งคิด
เป็นร้อยละ 70 ขึ้นไป
70 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบการเรียนรู้
คาศัพท์หลังเรียน ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 70 ขึ้นไป

More Related Content

Viewers also liked

Listening reflect paper pepgard 4 en
Listening reflect paper   pepgard 4 enListening reflect paper   pepgard 4 en
Listening reflect paper pepgard 4 engradgrad gradgrad
 
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2gradgrad gradgrad
 
Final reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 enFinal reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 engradgrad gradgrad
 
Reading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 enReading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 engradgrad gradgrad
 
3 the bride comes to the yellow sky
3 the  bride comes to the yellow sky3 the  bride comes to the yellow sky
3 the bride comes to the yellow skygradgrad gradgrad
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (13)

4 a curious dream
4 a curious dream4 a curious dream
4 a curious dream
 
5 the black cat
5 the black cat5 the black cat
5 the black cat
 
Listening reflect paper pepgard 4 en
Listening reflect paper   pepgard 4 enListening reflect paper   pepgard 4 en
Listening reflect paper pepgard 4 en
 
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
 
6 rip van winkle
6 rip van winkle6 rip van winkle
6 rip van winkle
 
Final reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 enFinal reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 en
 
Character analysis
Character analysisCharacter analysis
Character analysis
 
1 the fat of the land
1 the fat of the land1 the fat of the land
1 the fat of the land
 
Reading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 enReading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 en
 
3 the bride comes to the yellow sky
3 the  bride comes to the yellow sky3 the  bride comes to the yellow sky
3 the bride comes to the yellow sky
 
2 the gift of the magi
2 the gift of the magi2 the gift of the magi
2 the gift of the magi
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 

Similar to Chapter 1 fixed to print

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์tuphung
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sarawut Tikummul
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 

Similar to Chapter 1 fixed to print (20)

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7lll
บทที่ 7lllบทที่ 7lll
บทที่ 7lll
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 

Chapter 1 fixed to print

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ ภูมิหลัง ในการเรียนภาษาไม่ว่าจะเป็นภาษาใดในระดับชั้นใดก็ตาม ผู้เรียนจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เรียนรู้เกี่ยวกับเสียง และคาศัพท์ในภาษานั้น ๆ (Tomlinson et al. 2011 : 344) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในปัจจุบันการสอนคาศัพท์เป็นสิ่งที่มีความสาคัญมาก เพราะคาศัพท์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของ การสื่อสาร ดังที่ เดวิด วิลกินส์ กล่าวไว้ว่า “หากปราศจากไวยากรณ์การสื่อสารเกิดขึ้นน้อยมาก แต่เมื่อ ปราศจากคาศัพท์การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นเลย” (Thornbury. 2008 : 13) การเรียนรู้คาศัพท์ถือเป็น ภาระงานใหญ่ และสาคัญที่สุดที่ผู้เรียนภาษาต้องเผชิญ (Thornbury. 2008 : 14) คาศัพท์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ คาแสดงเนื้อหา เช่น คานาม คากริยา คาคุณศัพท์ และหน้าที่ของคา เช่น กริยานุเคราะห์บุพบท สันธาน (Richards, Platt, and Schmitt. 2004 : 13) ส่วนการรู้คาศัพท์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การรับรู้คาศัพท์ และการผลิตคาศัพท์ กล่าวคือ การรับรู้คาศัพท์ได้มาจากการฟัง และการอ่าน ส่วนการผลิตคาศัพท์ก่อให้เกิดทักษะการพูด และการเขียน (Laufer, Paribakht and Melka. 2004 : 16) การเรียนรู้คาศัพท์ประกอบไปด้วย องค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ (1) การเรียนรู้รูปแบบของคาศัพท์ เช่น การออกเสียง การสะกดคา และ หน้าที่ของคาศัพท์ (2) การเรียนรู้ความหมายของคา ซึ่งรู้ว่ารูปแบบของคาศัพท์มีความสัมพันธ์กับ ความหมายของคาศัพท์อย่างไร และ (3) การเรียนรู้หลักการนาไปใช้ คือ ความสามารถในการนาคาศัพท์ ไปใช้ในบริบทที่เหมาะสม ซึ่งผู้เรียนภาษาที่สองจาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อจะนาไปสู่ทักษะการพูด และ การเขียน (Nation. 2004 : 17) นอกจากนี้ คาศัพท์หลายคามีการเรียนรู้โดยบังเอิญผ่านกิจกรรม หลายอย่างทั้งจากการอ่าน และการฟัง ดังนั้นการกระตุ้นผู้เรียนให้อ่าน และเขียนจะเป็นโอกาสที่ดีใน การเรียนรู้คาศัพท์ใหม่ (Hunt and Beglar. 1998 : 1) ในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนพบปัญหาที่เกิดขึ้นหลายอย่าง ได้แก่ ปัญหาที่หนึ่ง คือ การที่ไม่สามารถจาคาศัพท์ที่เรียนไปแล้วได้ ซึ่งอาจทาให้การสนทนาไม่ประสบความสาเร็จตาม จุดประสงค์ ปัญหาที่สอง คือ การใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมตามบริบททางสังคม ปัญหาที่สาม คือ การใช้ คาศัพท์ไม่ถูกต้องตามระดับภาษา เช่น การใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมกับบุคคลในการสนทนา เช่น ใช้ภาษา เชิงวิชาการในการสนทนาทั่วไป นอกจากนั้นยังมีปัญหาอื่น ๆที่เกิดจากการใช้คาศัพท์ เช่น การใช้ คาศัพท์ไม่ถูกต้อง การสะกดคาผิด การออกเสียงผิด สิ่งเหล่านี้ชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้คาศัพท์ไม่ใช่ เพียงแต่การจดจาคาศัพท์เท่านั้น (Campillo. 2014 : 39) เทคนิคช่วยจา (Mnemonic Technique ) เป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจา การสอนเทคนิคช่วยจาเป็นการมอบเครื่องมือให้แก่ผู้เรียนในการถอดรหัสข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น ทาให้การค้น คืนข้อมูลในภายหลังง่ายขึ้น การสอนเทคนิคช่วยจามีประสิทธิภาพเมื่อใช้กับผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน ด้านการเรียนรู้ และความสามารถด้านการเรียนต่า (Hayes. 2009 : 7) เทคนิคช่วยจาเกี่ยวข้องกับ การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลใหม่ที่จะเรียนซึ่งผู้เรียนยังไม่คุ้นเคย กับข้อมูลที่ได้เรียนรู้แล้ว และมี
  • 2. 2 ความคุ้นเคย ผ่านการใช้รูปภาพหรือการผสมตัวอักษรในรูปแบบของคาศัพท์ (Wolgemuth, Cobb and Alwell. 2011 : 79) การใช้เทคนิคช่วยจาช่วยให้ข้อมูลใหม่สัมพันธ์กับข้อมูลเดิม ทาให้เกิด การจาระยะยาว (Long-term Memory) ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปถูกป้อนในรูปแบบที่เข้ากันได้ หรือมีความ เกี่ยวข้องกันกับสิ่งที่ได้เรียนไปแล้ว ส่งผลให้ข้อมูลถูกเก็บไว้ได้ยาวนานยิ่งขึ้น และการค้นข้อมูลคืนผ่าน รูปแบบการพูดหรือการมองเห็นก็จะง่ายขึ้น นอกจากนั้นเทคนิคช่วยจายังช่วยในการเชื่อมโยงคาศัพท์กับ ข้อมูลที่ได้เรียนรู้มา โดยใช้เทคนิคบางชนิด เช่น การใช้มโนภาพ (Imagery) หรือ การจัดหมวดหมู่ (Grouping) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ (Mastropieri and Scruggs. 2011 : 179) เทคนิคช่วยจามีมากหมายหลายประเภท เช่น เทคนิคคาสาคัญ (Keyword) ใช้ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเรียนรู้เบื้องต้น และความคงทนของข้อมูล และระบบข้อมูล ซึ่งผู้เรียนมักพบเจอใน โรงเรียน วิธีการนี้ใช้ทั้งเสียง และรูปภาพเพื่อส่งเสริมข้อมูลใหม่ที่จะเรียนให้มีความหมายมากยิ่งขึ้น (Mastropieri. 2011: 79) เทคนิค Pegword เป็นเทคนิคที่นามาใช้ในการเรียนรู้คาศัพท์เพื่อช่วยใน การเรียนรู้ และเรียกคืนข้อมูลเช่น 1=bun, 2 = shoe (Fontana, Scruggs and Mastropieri. 2007 : 346) และ เทคนิคดนตรี (Music) เป็นเทคนิคที่ช่วยส่งเสริมการเรียกคืนข้อมูลโดยใช้ดนตรี เป็นสื่อในการเรียนการสอน (Hayes. 2009 : 20) ซึ่งข้อมูลที่เป็นตัวอักษรจะถูกดัดแปลงให้เป็นเพลง หรือทานองเพลงที่ผู้เรียนมีความคุ้นเคย จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถจาข้อมูลได้ดี และนานยิ่งขึ้น (Wallace. 2008 : 4) เทคนิคช่วยจามีประโยชน์อย่างมากต่อผู้เรียน เป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิด การเรียนรู้ได้รวดเร็วขึ้น ลดความสับสนในกลุ่มสิ่งของที่มีความคล้ายคลึงกัน ทาให้การจดจา และการใช้ ข้อมูลในระยะยาวดีขึ้น (Shmidman, and Ehri. 2011 : 79) มีตัวอย่างงานวิจัยและการศึกษา มากมายที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพที่ดีของเทคนิคการช่วยจา เช่น แมสโตเพียรี และ สกรักส์ (Mastropieri and Scruggs. 2009 : 9-10) ได้ทาการวิจัยเชิงทดลองหลายครั้งกับนักเรียนกว่า 1,000 คน เป็นเวลากว่า 10 ปี และได้นาเสนอข้อมูลหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของการ สอนโดยใช้เทคนิคช่วยจาในชั้นเรียน ซึ่งชี้ให้เห็นว่านักเรียนที่ได้รับการสอนเทคนิคช่วยจาสามารถค้นคืน ข้อมูลจากความจาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้นักเรียนยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพิ่มขึ้น มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีขึ้นระหว่างครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน วิธีการสอน เช่นนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับนักเรียนที่มีความแตกต่างด้านการเรียนรู้ และเหมาะสาหรับผู้ที่มี ปัญหาด้านการจดจา และการค้นคืนข้อมูล ในส่วนของงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคคาสาคัญ เบลกิซาดา และอาชูริ ได้ทาการศึกษาในเรื่อง การใช้เทคนิคคาสาคัญ และการใช้รายการคาศัพท์ที่มีผลต่อความ คงทนในการจดจาคาศัพท์แบบฉับพลันของผู้เรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ โดยได้ ทาการศึกษากับนักเรียน จานวนทั้งหมด 44 คน ซึ่งมีทักษะทางภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น และไม่ เคยใช้เทคนิคคาสาคัญ จากการศึกษาพบว่า กลุ่มนักเรียนที่ได้เรียนรู้คาศัพท์ผ่านการใช้เทคนิคคาสาคัญ สามารถจาคาศัพท์ได้มากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้เทคนิคช่วยจา ซึ่งชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพของเทคนิคคา สาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนจดจาคาศัพท์ได้ง่ายยิ่งขึ้น (Baleghizadeh and Ashoori. 2010 : 4-5) และสาหรับการใช้ดนตรีในการช่วยจา แคมเบลโล ดีคาโร่ โอเนล และ วาเซค ได้ทาการวิจัยเชิง ปฏิบัติการในโรงเรียนระดับอนุบาล 3 แห่ง เป้าหมายของการวิจัยเพื่อส่งเสริมการระลึกข้อมูล และ เนื้อหาที่ใช้เรียนในโรงเรียนโดยใช้ดนตรี และเทคนิคช่วยจา เป้าหมายของการวิจัยไม่เพียงแต่เพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจ และมีส่วนร่วมในการ
  • 3. 3 เรียน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากยิ่งขึ้น และผลการทดสอบของนักเรียนมีค่า คะแนนที่สูงขึ้น สาหรับเด็กอนุบาล การใช้เพลงในการเรียนรู้คาศัพท์ช่วยให้นักเรียนสามารถออกเสียง คาศัพท์ได้ถูกต้อง และชัดเจนมากขึ้น (Campabello, De Carlo, O’Neil and Vacek. 2009 : 16) ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นว่าการเรียนรู้คาศัพท์เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สาคัญที่แสดงให้เห็นถึง พัฒนาการของการเรียนภาษา คาศัพท์เป็นพื้นฐานสาคัญที่มีบทบาทต่อพัฒนาการที่ดีในการเรียนภาษา ทั้งในด้านทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน แต่ยังคงเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ คาศัพท์ภาษาอังกฤษ เช่น การที่ผู้เรียนจาคาศัพท์ไม่ได้ ใช้คาศัพท์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ ใช้คาศัพท์ในระดับภาษาที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น ผู้วิจัยจึงได้ตระหนักถึงปัญหาการเรียนรู้คาศัพท์เหล่านี้ โดยได้เล็งเห็นประโยชน์ของการใช้เทคนิคช่วยจาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และความสามารถในการจดจา คาศัพท์ ซึ่งได้รับการอ้างอิงจากงานวิจัยต่างประเทศจากหลาย ๆ สถาบัน โดยพบว่าเทคนิคช่วยจา สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ และการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถ แก้ไขปัญหาการออกเสียงคาศัพท์ และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นที่จะเพิ่มขีด ความสามารถของตนเอง ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจ และเลือกที่จะนาเอาเทคนิคช่วยจามาใช้เป็นเครื่องมือ เพื่อพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้และจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ควำมมุ่งหมำยของกำรวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้เทคนิคช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เพื่อเปรียบเทียบการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนเรียน และหลังเรียนในการใช้เทคนิค ช่วยจาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 4. เพื่อศึกษาการแก้ปัญหาการออกเสียงคาศัพท์ภาษาอังกฤษขณะจัดกิจกรรมด้วยเทคนิค ช่วยจา ควำมสำคัญของกำรทำวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับการพัฒนาการเรียนภาษาอังกฤษในด้านการพัฒนา ความสามารถในการจดจาคาศัพท์ และแก้ไขการออกเสียงคาศัพท์ภาษาอังกฤษหลังจากได้เรียนรู้เทคนิค ช่วยจา 2. การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจาจะเป็นแนวทางให้กับครูผู้สอน และผู้วิจัยใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของผู้สอนและผู้ที่มีบทบาททางการศึกษาในการ พัฒนาความสามารถในการจดจาคาศัพท์ และทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจา และเป็น การส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแก่ผู้เรียน
  • 4. 4 4. เป็นแนวทางการศึกษาค้นคว้าสาหรับผู้สอน และผู้ที่มีบทบาททางการศึกษาเกี่ยวกับการ พัฒนาความสามารถในการจดจาคาศัพท์และทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ที่มีสภาพปัญหาคล้ายคลึงกัน ได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ขอบเขตของกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จานวน 7 ห้องเรียน นักเรียนจานวน 280 คน 1.2 ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จานวนนักเรียน 40 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกรูปแบบ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระคือ 2.1.1 เทคนิคช่วยจา 2.2 ตัวแปรตามคือ 2.2.1 คาศัพท์ภาษาอังกฤษ 3. สมมติฐาน ความสามารถในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหลังจากการเรียนด้วย เทคนิคช่วยจา 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 1 ภาคเรียน คือ ปีการศึกษา 2557 เป็นเวลา 3 เดือน เริ่มจากเดือนมกราคม–มีนาคม 2557 เนื้อหำที่ใช้ในกำรวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพิจารณาโดยใช้เนื้อหาจากแหล่งเรียนรู้ที่มีความสอดคล้อง กับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 3 เรื่อง ดังต่อไปนี้ 1. Unit: Career Topic: Future Career มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 2. Unit: Places Topic: Tourist Attractions
  • 5. 5 Sub-Topic: History มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 3. Unit: Interest/Opinion Topic: Concert มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 4. Unit: Environment Topic: Pollutions มีจานวน 1 แผนการสอน ใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง นิยำมศัพท์เพำะ 1. การเรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการให้ความหมาย และการนาคาศัพท์ไปสื่อสารด้านการฟัง พูด อ่าน และเขียน 2. เทคนิคช่วยจา หมายถึง เทคนิคที่เชื่อมโยงข้อมูลใหม่ และการระลึกข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ความทรงจา เพื่อช่วยจาสิ่งที่ยากให้จาง่ายขึ้น ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้เทคนิคดังต่อไปนี้ 2.1 เทคนิคคาสาคัญ (Keyword) คือ การเชื่อมโยงข้อมูลใหม่ให้สัมพันธ์กับความรู้เดิม โดยเชื่อมโยงระหว่าง เสียงของคาศัพท์กับความหมาย พร้อมกับการจินตนาการไปด้วย เช่นคาว่า rush จะใช้คาสาคัญภาษาไทยเชื่อมโยงคือคาว่า ลัด โดยให้นักเรียนจินตนาการว่า แม่ขับรถไปส่งไปโรงเรียน แต่รถติดมากลูกจึงบอกให้คุณแม่ใช้ทาง ลัด เพื่อจะได้ไปถึงจุดหมายให้เร็วขึ้น ซึ่ง rush หมายถึง เร่งรีบ เมื่อนักเรียนเห็นคานี้จะทาให้นึกคาศัพท์ภาษาอังกฤษคาว่า rush ขึ้นได้ ใช้ในการจาคาศัพท์ ข้อมูลใหม่ ในรูปแบบที่ง่ายขึ้น 2.2 เทคนิค Pegword เปรียบเสมือนระบบสมองที่รวมคาศัพท์ที่เราต้องการไว้ด้วยกัน โดยการนาเอาคาศัพท์ และตัวเลขมาเชื่อมโยงกันให้จาง่ายขึ้น และเป็นวิธีที่มีประโยชน์ในการจดจา รายชื่อ รายการสิ่งของต่างๆ ที่มีลาดับ 1, 2, 3… ซึ่งมักจะใช้ตัวเลขให้มีเสียงสัมผัส (Rhyme) กับสิ่งของ นั้น และใช้จินตนาการในการช่วยจา 2.3 เทคนิคอักษรตัวแรก (First Letter) เทคนิคนี้จะใช้อักษรตัวแรกของคามาทาให้เป็น ตัวอักษรย่อ หรือ คาๆหนึ่ง คาย่อที่มาจากตัวอักษรแรกของคาจะช่วยให้จาคาศัพท์โดยผู้เรียนระลึก ข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับอักษรย่อที่ได้กาหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่าผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมต้องจาคา ว่า borax ซึ่งมีองค์ประกอบคือ boron, oxygen and sodium ผู้เรียนสามารถดึงอักษรตัวแรกจากคา ดังกล่าว จะได้คาว่า bos หลังจากนั้น เมื่อผู้เรียนระลึกข้อมูลในองค์ประกอบของคาว่า borax ผู้เรียน จะใช้เทคนิคในการจาคาว่า bos ในการนึกถึงองค์ประกอบของสารนั้นทั้งหมด 2.4 การเชื่อมโยงรูปภาพ (Interactive Image) คือการที่ผู้เรียนจินตนาการถึงรูปภาพ ของคาศัพท์นั้นเชื่อมโยงกับรูปภาพของคาศัพท์อีกคาหนึ่งให้มีความสัมพันธ์กัน เช่น ผู้เรียนต้องการจะ ซื้อ ถุงเท้า แอบเปิ้ล และ กรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการว่า ผู้เรียนกาลังใช้กรรไกรตัดถุงเท้า ซึ่งข้างใน ถุงเท้ามีแอบเปิ้ลอยู่ 3. ประสิทธิภาพของการใช้เทคนิคช่วยจา หมายถึง คุณภาพของการใช้เทคนิคช่วยจา ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าได้นามาใช้ในการเรียน การสอน และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 ดังนี้
  • 6. 6 70 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนที่ได้จาการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน ได้แก่ กิจกรรมจากใบงานของนักเรียนทั้งหมดจากการสอนทั้งหมด 3 แผน และคะแนนเข้าเรียน ซึ่งคิด เป็นร้อยละ 70 ขึ้นไป 70 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบการเรียนรู้ คาศัพท์หลังเรียน ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 70 ขึ้นไป