SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
ปรัชญาเบื้องต้น
บทที่ ๕ คุณวิทยา
คุณวิทยา
บทที่ ๕ คุณวิทยา
 ขอบข่ายเนื้อหา
๑. ความหมาย และความสาคัญของคุณวิทยา
๒. ขอบเขตและลักษณะของคุณวิทยา
๓. ลักษณะการตัดสินคุณค่าของคุณวิทยา
๔. ความหมายและขอบเขตของจริยศาสตร์
๕. ความหมายและขอบเขตของสุนทรียศาสตร์
๖. ความหมายและขอบเขตของตรรกศาสตร์
 ในบทนี้จะศึกษาปัญหาว่า จะรู้ความจริงเพื่ออะไร (How to act
according to reality) สาขาวิชาที่ศึกษาปัญหานี้ คือ กลุ่มวิชาที่
เรียกว่า คุณวิทยา อันประกอบด้วย
ความนา
จริยศาสตร์ (Ethics)
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
ตรรกศาสตร์ (Logic)
เทววิทยา (Theology)
 อะไรคืออุคมคติของชีวิต หรืออะไรคือสิ่งที่ดีที่สุด
สาหรับมนุษย์ อะไรเป็นสิ่งประเสริฐสุดที่มนุษย์ควร
แสวงหาสาขาที่จะตอบปัญหานี้ได้ คือ ความหมาย
และความสาคัญของคุณวิทยา
๕.๒ความหมายและความสาคัญของคุณวิทยา
(๑) จริยศาสตร์ (Ethics) วิชาว่าด้วยความประพฤติ
(๒) สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) วิชาที่ว่าด้วยความงาม
(๓) ตรรกศาสตร์ (Logic) วิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์การใช้เหตุผล
๕.๓ ขอบเขตของคุณวิทยา
ลักษณะการตัดสินคุณค่าของคุณวิทยา
ดอกกุหลาบจะสวยหรือไม่สวยขึ้นอยู่กับอะไร ?
 แบ่งออกเป็น ๔ แบบ
๑. การตัดสินคุณค่าเชิงจิตวิสัย เป็นการตัดสินโดยอาศัยทัศนะของผู้
ตัดสินเป็นหลัก
๒. การตัดสินคุณค่าเชิงวัตถุวิสัย เป็นการตัดสินโดยอาศัยวัตถุเป็นหลัก
ดอกกุหลาบจะสวยหรือไม่สวย ขึ้นอยู่กับดอกกุหลาบ
๓. การตัดสินคุณค่าเชิงจิตวิสัยและเชิงวัตถุวิสัยร่วมกันเป็นการตัดสินโดย
อาศัยทั้งจิตวิสัยและวัตถุวิสัยประกอบกัน ดอกกุหลาบจะสวยหรือไม่
สวย ขึ้นอยู่กับดอกกุหลาบและผู้ดูดอกกุหลาบ
๔. การตัดสินคุณค่าโดยถืออรรถประโยชน์ เป็นการตัดสินโดยึดผล
ประโยชน์ที่ได้เป็นหลัก
๕.๔ ลักษณะการตัดสินคุณค่าของคุณวิทยา
 จริยศาสตร์ เป็นคุณวิทยาสาขาแรกที่ศึกษาเรื่องความ
ประพฤติของมนุษย์ เพื่อหาแนวทางที่จะกาหนดกรอบให้
ชัดเจนว่า หลังจากได้ศึกษาความจริงแท้และวิธีการแสวงหา
ความรู้มาแล้ว ความรู้เหล่านั้นจะนามาใช้ประโยชน์อะไรได้
บ้างที่เกี่ยวกับความประพฤติของมนุษย์
จริยศาสตร์
๕.๕ความหมายของจริยศาสตร์
 จริยศาสตร์ มาจากศัพท์ จริย+ศาสตร์ = วิชาว่าด้วยความ
ประพฤติ
 จริยศาสตร์ (Ethies) คือ ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหา
ความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความ
ประพฤติของมนุษย์ว่า อย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร
และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพทางศีลธรรม
ขอบเขตและปัญหาสาคัญในจริยศาสตร์
๑. อะไรคือสิ่งที่ดีที่สุดสาหรับมนุษย์
๒. อะไรคือเกณฑ์ในการตัดสินการกระทา
๓. อะไรคือ คุณค่าทางจริยธรรม
สิ่งที่ดีที่สุดของมนุษย์คืออะไร?
อะไรคืออุดมคติของชีวิตที่มนุษย์ควรแสวงหา
๑. สุขนิยม - ความสุขกาย
๒. ศานตินิยม - ความสงบใจ
๓. มนุษยนิยม - ทุกอย่างที่มนุษย์พึงแสวงหา
๑.คติสุขารมณ์ หรือสุขนิยม (Hedonism)
คือ แนวคิดที่ถือว่า “ความสุข” เป็นสิ่งที่ดีที่สุดใน
ชีวิตและเป็นสิ่งที่มนุษย์ควรแสวงหา
ความสุขเท่านั้นเป็นสิ่งสูงสุดสาหรับชีวิต สิ่งอื่นๆ
มีคุณค่าเป็นเพียงเครื่องมือนาไปสู่ความสุขเท่านั้น
๒.คติอสุขารมณ์ หรือศานตินิยม(Non-Hedonism)
คือ แนวคิดที่ถือว่า
“สิ่งมีค่าสูงสุดของชีวิตอยู่ที่ปัญญาคือความสงบของจิต
ไม่ใช่ความสุขทางกายอันเป็นความสุขขั้นต่า”
๓.มนุษย์นิยม
- คือแนวคิดที่เสนอให้มนุษย์มองชีวิตอย่างรอบด้าน ไม่
สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง มีลักษณะเป็นการประนีประนอม
ระหว่างทัศนะต่าง ๆ หรือระหว่างความสุข ปัญญา ความสงบ
และ ความรู้สึก
- ชีวิตมนุษย์มีความซับซ้อนยากเกินกว่าจะใช้ระบบ
ปรัชญาใด ๆ มาเป็นสูตรสาเร็จในการอธิบาย
- เน้นการสร้างดุลยภาพทั้งร่างกายและจิตใจ
๕.๕.๔ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์
 ๑) สัมพัทธนิยม (Relativism) เห็นว่า ความดีมิใช่สิ่ง
ตายตัว การกระทาหรือปฏิบัติ การอันใดอันหนึ่ง จะดีหรือ
ชั่ว ผิดหรือถูก ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและปัจจัย
 ๒) สัมบูรณนิยม (Absolutism) เห็นว่า ความดีเป็นสิ่ง
ตายตัว ถ้าสิ่งหนึ่งดี ต้องดีโดยไม่มีเงื่อนไข ไม่ขึ้นอยู่กับสิ่ง
ใด ความดีเหมือนคุณสมบัติประจา เช่น เกลือ
 ๓) มโนธรรมสัมบูรณ์ (Absolute conscience) คือสานึกที่มนุษย์ทุก
คนมีโดยธรรมชาติความสานึกรู้สึกผิดชอบชั่วดีที่เกิดขึ้นเอง โดยไม่
มีใครหรือสิ่งใดมากระตุ้น มาชักนา ความสานึกเป็นเหมือนเสียง
ภาย ในจิตใจ ที่บอกมนุษย์ว่า อะไรถูกอะไรผิด อะไรควร อะไรไม่
ควร
 ๔) ประโยชน์นิยม (Utilitarinism) ถือประโยชน์เป็นเกณฑ์ในการ
ตัดสิน การกระทาสิ่งใด สิ่งหนึ่งไม่ดี หรือชั่ว ถูกหรือผิด ขึ้นอยู่กับ
ประโยชน์
๕.๕.๔ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์
๕.๕.๕ปัญหาเกี่ยวกับการนิยามความดี
๑) ธรรมชาตินิยม (Naturalism) ความดี คือ สิ่งประชาชนส่วนใหญ่
เห็นชอบ
๒) อธรรมชาตินิยม (Non- Naturalism) ความดี คือ ความถูกต้อง
เป็นอิสระ ไม่เกี่ยวกับเสียงส่วนใหญ่ของสังคม แต่เกี่ยวกับ
เจตนา
๓) อารมณ์นิยม (Emotionism) ความดี ความชั่ว เป็นสิ่งไม่มีจริง
แล้วแต่มุมมองแต่ละคน ไม่มีมาตรฐานกลาง
๕.๕.๖คุณค่าทางจริยศาสตร์
๑) ความดีในตัวเอง หมายถึงความสัมพันธ์สอดคล้องระหว่างความจริง
ความดี และความงาม ที่ไม่มีเงื่อนไข
๒) ความดีในฐานะเป็นเครื่องมือ เพื่อสร้างความดีที่ดีกว่า เป็นความดีที่
สูงขึ้นไปเรื่อยๆ
๓) ความดีในฐานะเป็นเป้ าหมายสูงสุด
๔) การพัฒนาตนเองเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ถือว่า การพัฒนา
ตนเอง เป็นมาตรฐานตัดสินความดี ความชั่ว ความผิดและความถูก
การพัฒนาคือการทาให้ดีกว่าเดิม ดีกว่า
๕.๕.๗มาตรฐานทางจริยธรรม
 ๑) หน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ลัทธินี้ตั้งสมมติฐานว่า
“หน้าที่” ได้ถูกกาหนดแล้วด้วยเหตุผล เหตุผลก็มาจากศีลธรรม
ในขณะที่ศีลธรรม มาจากกฎศีลธรรม และกฎศีลธรรมมาจาก
กฎสากล
 ๒) ความสุขเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม แนวคิดนี้ถือว่า การ
กระทาใดที่ก่อให้เกิดความสุขการกระทานั้นดี ไม่คานึงว่า คุณ
จะมีเจตนาดีหรือไม่ดี
 ๓) ความอยู่รอด แนวคิดนี้ถือว่า การรักษาตัวรอด หรือปรับตัว
ให้อยู่กับเขาได้ เป็นมาตรฐานการตัดสินความดีและความชั่ว
ความถูกและความผิด
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
 เสนอคาตอบต่อปัญหาว่า มนุษย์ควรเกิดมาเพื่ออะไร
 “มนุษย์ควรเกิดมาเพื่อพัฒนากรรม คือพัฒนากรรมดีให้ดีขึ้น
จนกว่าจะบรรลุถึงความดีสูงสุด (นิพพาน) เมื่อถึงก็ถือว่า พ้น
ความดี ความชั่วไปแล้ว”
๕.๖ สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
คนจะงาม งามน้าใจใช่ใบหน้า
 หมายถึง ...
 สุนทรียศาสตร์ มาจากศัพท์ว่า สุนทรียะ + ศาสตร์
= วิชาที่ว่าด้วยความงาม
 วิชาที่ว่าด้วยความซาบซึ้งในคุณค่าของสิ่งที่งดงาม ไพเราะ
หรือรื่นรมย์ ไม่ว่าจะเป็นของธรรมชาติหรืองานศิลปะ
๕.๖.๑ ความหมายและขอบเขตของสุนทรียศาสตร์
 (๑) กลุ่มที่ใช้ตนเองเป็นตัวตัดสินเรียกเกณฑ์ตัดสินนี้ว่า“อัตนัยนิยม”
เป็นกลุ่มที่เชื่อว่า ความรู้ ความจริงและความดีงามทั้งหลายล้วนเป็นสิ่ง
ที่ไม่มีความจริงในตัวเอง
 (๒) กลุ่มที่เชื่อว่า มีหลักเกณฑ์ที่ตายตัวที่จะใช้ตัดสินได้ เรียกเกณฑ์
ตัดสินนี้ว่า “ปรนัยนิยม” กลุ่มที่เชื่อว่า มีเกณฑ์มาตรฐานตายตัว
แน่นอนในทางศิลปะ
 (๓) กลุ่มที่เชื่อว่า หลักเกณฑ์ในการตัดสินสุนทรียศาสตร์นั้นเปลี่ยน
แปลงไปตามสภาวะแวดล้อม เรียกเกณฑ์ตัดสินนี้ว่า “สัมพัทธนิยม”
๕.๖.๒ ตัดสินทางสุนทรียศาสตร์
 อะไรคือสิ่งสวยงาม ?
 เราจะตัดสินได้อย่างไรว่าอะไรงาม ?
 เราใช้อะไรเป็นมาตรฐานในการตัดสินว่า
อะไรงามหรือไม่งาม ?
๕.๖.๓ ปัญหาที่สุนทรียศาสตร์จะต้องค้นหาคาตอบ
๕.๖.๔ลักษณะของความงาม
•ความงามที่ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลเป็นผู้ตัดสิน อาจใช้ความรู้สึก
•ความงามขึ้นอยู่กับความรู้สึกและอารมณ์ของผู้เสพ
Subjectivism
(อัตนิยม / อัตวิสัย)
•ความงามที่ไม่ขึ้นอยู่กับบุคคล เป็นความงามแบบสัมบูรณ์
•มนุษย์จะต้องทาลายข้อจากัดของตน จึงจะสามารถเข้าถึงได้
•ความงามเป็นลักษณะโลกแห่งมโนคติ (Form)
Objectivism
(ปรนิยม / ปรวิสัย)
•ความงามเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสุนทรียวัตถุ
•โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างเหมาะสม ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอารมณ์
•สถานที่ (Space & Time) เวลา
Relativism
(สัมพัทธนิยม)
Naturalism
(ธรรมชาตินิยม)
•ความงามเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการรังสรรค์จากธรรมชาติ
•สิ่งที่เรียกว่าศิลปะ ที่ยอมรับกันว่ามีความงาม ย่อมมาจาก
ธรรมชาติ หรือสะท้อนให้เห็นธรรมชาติมากที่สุด
•ความงามตามธรรมชาติล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดลบันดาใจให้
มนุษย์สร้างศิลปะขึ้นมา
๕.๖.๔ปัญหาว่าด้วยเรื่องศิลปะ (Art)
 คาว่า “ศิลปะ (Art)” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้
คาจากัดความกว้างๆ ว่า ศิลปะ เป็นคานาม หมายถึงฝีมือ ฝีมือ
ทางช่าง การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจให้ประจักษ์เห็น
ความหมายของศิลปะ
 ๑) จุดมุ่งหมาย
 ๒) มีความงามที่ผู้พบเห็นเกิดความสะเทือนใจ
 ๓) มีความคิดสร้างสรรค์เฉพาะแบบของศิลปิ น
ลักษณะของศิลปะที่ดี ควรมีลักษณะ ๓ ประการคือ
 ๑) วิจิตรศิลป์ (Fine Art) เป็นศิลปะแห่งความงามวิจิตร
พิสดารที่สร้างสรรค์มาด้วยจิตใจ และความรู้สึกนึกคิดที่ติด
ตาตรึงใจ ประทับใจ และสะเทือนใจแก่ผู้ที่ได้พบเห็น เป็น
งานสร้างสรรค์ของศิลปิ นที่มุ่งสร้างขึ้นจากความบันดาลใจ
ที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสนองความต้องการ
 แบ่งออกเป็น ๓ แขนงคือ
 ทัศนศิลป์
 โสตศิลป์
 โสตทัศนศิลป์
๕.๖.๕ประเภทของศิลปะ
ทัศนศิลป์ (Visual Art)
โสตศิลป์ (Audio Art)
โสตทัศนศิลป์ (Audio-Visual Art)
 ๒) ประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) ประยุกต์ศิลป์ คือ ศิลปะที่
มุ่งประโยชน์ทางใช้สอยเป็นอันดับแรก แล้วจึงมุ่งนาเอา
ความงามทางด้านศิลปะเข้าไปช่วยตกแต่งให้งานที่ใช้สอย
นั้นน่าดู น่าชม และน่าใช้สอยมากขึ้น
๕.๖.๕ประเภทของศิลปะ
 จัดเป็นส่วนหนึ่งในสาขาคุณค่าวิทยา วิชาตรรกศาสตร์เป็น
วิชาที่เสนอข้อคิด กฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบแผนต่างๆ
เกี่ยวกับเรื่องเหตุผล ผู้ศึกษาวิชาปรัชญาอาศัยตรรกศาสตร์
เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงปรัชญา
๕.๗ ตรรกศาสตร์ (Logic)
 “วิชาว่าด้วยการตรึกตรองที่มีกฎเกณฑ์เป็นการให้เหตุผล
ด้วยกฎเกณฑ์ เป็นความรู้ที่ประกอบด้วยเหตุผล เป็นวิชาว่า
ด้วยกฎเกณฑ์การให้เหตุผล”
ความหมายของตรรกศาสตร์
 กาหนดหาเหตุผล ๒ แบบใหญ่ๆ คือ
ขอบเขตของตรรกศาตร์
วิธีการนิรนัย
วิธีการอุปนัย
วิธีการนิรนัย
ดอกไม้สีขาวมีกลิ่นหอม (ความรู้เดิม หรือประโยคอ้าง)
ดอกมะลิมีสีขาว (ความจริงย่อย)
ดอกมะลิมีกลิ่นหอม (ข้อสรุป)
วิธีการอุปนัย
แม่ชอบชื้อสินค้าที่มีของแถม (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
พี่สาวชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
เพื่อนผู้หญิงชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
ป้ าชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม (ความจริงย่อย ประโยคอ้าง)
ผู้หญิงชอบซื้อสินค้าที่มีของแถม (ข้อสรุป)
 ๑) ตรรกศาสตร์ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักของการคิด อย่างถูกต้อง
 ๒) การเรียนตรรกศาสตร์เป็นการฝึกใช้ปัญญาอย่างแท้จริง
 ๓) รู้กฎทั่วไปของความคิดซึ่งเป็นกฎของวิทยาศาสตร์ทุกสาขา
ประโยชน์ของตรรกศาสตร์
 ความรู้ประกอบด้วยเหตุผล หมายถึง ความรู้ที่จะต้องตอบ
ปัญหาที่ว่า “ทาไมจึงเป็นอย่างนี้หรืออย่างนั้น” เช่น เมื่อมี
คาถามว่า “ทาไมทุกคนจึงต้องตาย”ก็จาเป็นจะต้องชี้แจงเหตุผล
ให้ผู้ถามยอมรับข้อมูลอย่างถูกต้อง หรือจะต้องพิสูจน์ให้เห็น
จริงจนหมดความสงสัย ความรู้ใดที่สามารถพิสูจน์ให้เห็นจริงได้
ความรู้เช่นนั้นเป็นความรู้ประกอบด้วยเหตุผล
ความหมายของความรู้
 คือ การศึกษาถึงวิธีการและหลักการที่จะใช้ในการแยกแยะ
การเจรจาออกมาให้รู้ว่า การเจรจาชนิดใดหรือแบบใดเป็น
การเจรจาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ถกต้อง จะต้องอาศัยเหตุผล
หรือหลักฐาน และเหตุผลหรือหลักฐานอยู่ในสมองที่ใช้คิด
นั่นเอง
การศึกษาวิชาตรรกศาสตร์
 คุณค่าวิทยา (Axiology) กลุ่มวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับค่า
ประกอบด้วย ๓ สาวิชา คือ
 จริยศาสตร์
 สุนทรียศาสตร์และ
 ตรรกศาสตร์
สรุปท้ายบท
จบบทที่ ๕
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรkhanidthakpt
 

What's hot (20)

ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตรการกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
การกำหนดจุดมุ่งหมายและเนื้อหาของหลักสูตร
 

Similar to ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา

บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิงniralai
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, moralityMum Mumum
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีPa'rig Prig
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 

Similar to ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา (20)

บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
10
1010
10
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ  วัดไร่ขิง
013แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตามแนววิถีพุทธ วัดไร่ขิง
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
333
333333
333
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา