SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ ดวงดาว และอวกาศ
นายอดิพงศ์ ท่วมจอก
สภาพภูมิอากาศ/ภูมิศาสตร์
เปลี่ยนแปลงมากมาย
ยุคนี้มีแมลงมาก
แมลงปอยักษ์ (ปีกกว้าง 2ฟุต)
ยุคไดโนเสาร์ครองโลก
ปลายยุคไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมถือกาเนิด
ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป (Continental Drift Theory)
เมื่อประมาณ 220 ล้านปีมาแล้วโลกของเรามีพื้นทวีปใหญ่เพียงทวีปเดียวเท่านั้น เรียกว่า
“แพงเจีย” (Pangaea) ซึ่งแปลว่า “All Land” หรือ “แผ่นดินทั้งหมด” แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็
เริ่มขยับเคลื่อนที่แยกออกจากกันไปเลย จนปรากฎเป็นทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบัน
หลักฐานที่เป็นข้อมูลสนับสนุนทฤษฎี
1. หลักฐานสภาพรูปร่างของทวีป จากรูปร่างของทวีปต่าง ๆ ที่สวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ
โดยเฉพาะทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกา
2. หลักฐานสิ่งมีชีวิต จากการพบสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ชนิดเดียวกันที่อยู่ในแถบทวีปทั้ง 2 ที่อยู่
ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เป็นการแสดงว่าเดิมทวีป 2 ทวีปนี้เคยเชื่อมติดกันมาก่อน
3. หลักฐานการเคลื่อนที่ของเกาะกรีนแลนด์ ในสมัยนั้นนักธรณีวิทยาได้ศึกษาพบว่า เกาะ
กรีนแลนด์กาลังเคลื่อนที่ อัลเฟรด เวเจเนอร์จึงได้อ้างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่าสอดคล้องกับทฤษฎี
แผ่นเปลือกโลก
1. แผ่นแอฟริกัน : ครอบคลุมทวีป แอฟริกา เป็นแผ่นทวีป
2. แผ่นแอนตาร์คติก : ครอบคลุมทวีปแอนตาร์คติก เป็นแผ่นทวีป
3. แผ่นออสเตรเลียน : ครอบคลุม ออสเตรเลีย (เคยเชื่อมกับแผ่นอินเดียน เมื่อประมาณ 50-
55 ล้านปีก่อน) เป็นแผ่นทวีป
4. แผ่นยูเรเซียน : ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เป็นแผ่นทวีป
5. แผ่นอเมริกาเหนือ : ครอบคลุมทวีปอเมริกาเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของไซบีเรีย
เป็นแผ่นทวีป
6. แผ่นอเมริกาใต้ : ครอบคลุมทวีปอเมริกาใต้ เป็นแผ่นทวีป
7. แผ่นแปซิฟิก : ครอบคลุมมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นแผ่นมหาสมุทร
1
2
3
4
5
6
7
สัณฐานของโลก
• โลกมีรูปทรงสัณฐานเกือบกลม โดยเส้น
ผ่านศูนย์กลางของทรงกลมจากขั้วโลกเหนือถึง
ขั้วโลกใต้ยาวประมาณ 12,714 กิโลเมตร และ
เส้นผ่านศูนย์กลางเส้นศูนย์สูตรยาวประมาณ
12,757 กิโลเมตร
• จุดสูงสุดของโลกอยู่บริเวณเทือกเขาหิมาลัย
ที่ยอดเขาเอเวอเรสต์
• จุดลึกสุดของพื้นมหาสมุทรอยู่ที่ร่องลึกมา
เรียนา
ตาแหน่งที่ลึกที่สุดในมหาสมุทร คือ
ตาแหน่งลึกชาเลนเจอร์ (Challenger
Deep) ในร่องลึกมาเรียน่า (Mariana
Trench) โดยตาแหน่งนี้อยู่ลึกต่ากว่า
ระดับน้าทะเล 10,924 เมตร (35,840
ฟุต)
ถ้าเอาเทือกเอเวอเรสต์ (Mount
Everest) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่สูงที่สุดในโลก
ไปวางไว้ในบริเวณนั้นก็จะถูกน้าท่วมสูง
หลายกิโลเมตรเลยทีเดียว คาว่าตาแหน่งลึก
ชาเลนเจอร์นั้นได้มาจากชื่อเรือสารวจชาเลน
เจอร์ 2 ของสหราชอาณาจักร (British
survey ship Challenger II) ซึ่งสารวจ
พบจุดลึกนี้ในปี 1951
1
2
3
โครงสร้างของโลก
เปลือกโลก (Crust) เปลือกโลกประกอบด้วย 2 ชั้นย่อย
1. ชั้นหินไซอัล ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและอะลูมินัมเป็นส่วนประกอบหลัก
ซึ่งพบทั่วไปบริเวณเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป
2. ชั้นไซมา ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและแมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก
พบทั่วไปบริเวณเปลือกโลกที่เป็นพื้นสมุทรตอนล่างของเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป
และบริเวณรอยแตกของเปลือกโลกที่เป็นภูเขาไฟ
เปลือกโลกชั้นใน (ชั้นแมนเทิล) ธรณีภาค
หินหนืดละลาย(แมกม่า)
แก่นโลก (Core)
1. แก่นโลกชั้นนอก (Out core)
ประกอบด้วยหินเหลวพวกเหล็กมีความ
หนาแน่นสูง
2. แก่นโลกชั้นใน (Inner core)
ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิล ใน
สภาพที่ร้อนจัด อยู่ในสถานะของแข็ง
เนื่องจากมีความหนาแน่นสูง
ทบทวนความรู้โครงสร้างของโลก
1. ชั้นใดของโลกที่มีหินหนืดเป็นส่วนประกอบ ?
ก. เปลือกโลกชั้นล่าง แมนเทิล ข. แมนเทิล แก่นโลกชั้นบน
ค. แมนเทิล แก่นโลกชั้นล่าง ง. แก่นโลกเท่านั้น
2. หินไซอัลเป็นหินที่ประกอบด้วยธาตุใดและอยู่ในชั้นใดในโลกของเรา?
ธาตุซิลิกาและอะลูมินา อยู่ใน เปลือกโลกส่วนบน
ธาตุซิลิกาและอะลูมินา อยู่ใน เปลือกโลกส่วนล่าง
ธาตุซิลิกาและแมกนีเซีย อยู่ใน เปลือกโลกส่วนบน
ธาตุซิลิกาและแมกนีเซีย อยู่ใน เปลือกโลกส่วนล่าง
3. ชั้นที่ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิเกิลถูกอัดตัวกันแน่นจนกลายเป็นของแข็งคือชั้นใด ?
ก. เปลือกโลก ข. แมนเทิล ค. แก่นโลก ง. เมนทอล
4. ส่วนที่เป็นทวีปต่าง ๆ จะอยู่ชั้นใด ?
ก. เปลือกโลก ข. แมนเทิล ค. แก่นโลกชั้นใน ง. แก่นโลกชั้นนอก
5. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับชั้นแมนเทิล ?
ก. มีหินอัคนีบางชนิด ข. ประกอบด้วยธาตุ เหล็ก ซิลิกอน และอะลูมิเนียม
ค. มีอุณหภูมิและความดันสูง ง. เป็นของแข็ง เคลื่อนที่ไม่ได้
6. เวเนเจอร์ได้กล่าวถึงโลกในสมัยก่อนว่าเป็น "แพงกีอา" ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีของเขา ?
ก. รูปร่างของทวีปต่าง ๆ สวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ
ข. การค้นพบว่าเกาะกรีนแลนด์มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา
ค. แผ่นเปลือกโลกสมัยก่อนเคยแตกออกเป็นแผ่นเล็ก ๆ จานวนมาก
ง. แพงกีอาค่อย ๆ แยกตัวกลายเป็นทวีปในปัจจุบัน
ส่วนประกอบของเปลือกโลก
แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แร่ชนิดต่าง ๆ ที่พบ
บริเวณเปลือกโลกสามารถจาแนก ตามการกาเนิดได้เป็น 2 ประเภท คือ
แร่ปฐมภูมิ
ได้แก่ แร่ที่เกิดจากการเย็นตัวของสารหลอมเหลวภายในโลกคือ หินหนืด หรือลาวา
(พบในหินอัคนี)
Quartz Feldspar Mica
แร่ทุติยภูมิ
แร่ที่เกิดจากการผุพังสลายตัว หรือแปรสภาพจากแร่ปฐมภูมิ เช่น เมื่อแร่เฟลด์สปาร์และแร่
ไมกาผุพังสลายตัว ก็ได้เป็นแร่ดินเหนียว การผุพังสลายตัวของแร่ปฐมภูมิอื่น ๆ
1. กลุ่มแร่เคโอลิไนต์ (kaolinite) มีโครงสร้างชนิด 1 : 1 ประกอบด้วยชั้นของซิลิกาเรียงสลับกับ
ชั้นของอลูมินา
2. กลุ่มแร่อิลไลท์ (Illite) เป็นแร่ดินชนิด 2 : 1 ในหน่วยโครงสร้างจะมีชั้นซิลิกา 2 ชั้น ประกบ
ชั้นอลูมินาอยู่ และในแต่ละหน่วยมีไอออนของโพแทสเซียมแทรกอยู่ ทาให้ดินในกลุ่มนี้ไม่สามารถ
พองตัวในน้าได้
3. กลุ่มแร่สเมคไตต์ (smectite) โครงสร้างเป็นชนิด 2 : 1 เหมือนกลุ่มอิลไลท์ แต่ในชั้น
โครงสร้างมีโมเลกุลของน้าแทรกอยู่ และไอออนบวกส่วนใหญ่ที่พบจะเป็น แคลเซียม แมกนีเซียม
เหล็กและโซเดียม แร่กลุ่มนี้มีความสามารถในการพองตัวในน้าได้ดี
4. กลุ่มแร่เวอร์มิคูไลต์ (vermiculite) มีโครงสร้างเหมือนกลุ่มสเมคไตต์ แต่มีค่าความสามารถ
ในการแลกเปลี่ยนไอออนสูงกว่า เมื่อเผาแล้วอนุภาคมีลักษณะคล้ายตัวหนอน
5. กลุ่มแร่ปาลีกอร์ซไกต์ (palygorskite) มีโครงสร้างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
หิน
ชั้นหินแข็งเป็นส่วนประกอบหลักของโลก
หินแต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน
วัสดุต้นกาเนิดหิน
กระบวนการเกิด
สภาพแวดล้อม/ระยะเวลาการเกิด
หินอัคนีที่เย็นตัวใต้ผิวโลกในระดับลึก (หินอัคนีแทรกซอน)
หินอัคนี
เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหลอมละลายภายในโลกเย็นลงและแข็งตัวจากสภาพที่เป็นหินหนืดจน
กลายเป็นหินแข็ง
หินอัคนีภายใน
หินอัคนีภายในจะค่อย ๆ เย็นลงทีละน้อย จึงมีระยะเวลานานพอที่จะเกิดผลึก
Granite Gabbro
อัคนีที่เย็นตัวที่ผิวโลก (หินอัคนีพุ )
หินอัคนีภายนอก
หินอัคนีที่เย็นตัวภายนอกที่ผิวโลกอุณหภูมิจะลดลงอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใดเมื่อ
สัมผัสกับอากาศที่ผิวโลก แร่ประกอบหินในลาวาไม่สามารถเกิดเป็นผลึกได้ทัน จึงมัก
ปรากฏเป็นหินที่มีเนื้อแบบแก้วหรือที่เรียกว่าแก้วธรรมชาติ ผลของการเย็นตัวอย่าง
รวดเร็วจึงทาให้เกิดหินแบบไม่มีผลึก หรือผลึกเล็กมาก บางกรณีจะพบหินเนื้อละเอียด
ผสมกับเนื้อแก้ว
Andesite Pumice
หินตะกอน
สามารถจาแนกตามกระบวนการเกิดได้ 3 ประเภท
 เกิดจากชิ้นส่วนเดิมของหิน
 เกิดจากกระบวนการทางเคมี
 เกิดจากอินทรียสาร
เกิดจากหินเดิมถูกกัดเซาะ ชิ้นส่วนตะกอนถูกพัดพามาทับถมจนเกิดหินขึ้น
เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของแร่ที่ตกตะกอนทางเคมีจากสารละลายใน
แหล่งน้ารวมถึงพวกที่เกิดจากการระเหยของน้า ทาให้สารละลายเข้มข้นมาก
เกิดจากการทับถมของซากพืชและซากสัตว์และมีการเชื่อมตัวจนแข็งเป็นหิน
หินแปร
หินแปรเป็นหินที่แปรสภาพมาจากหินเดิม โดยอิทธิพลของความร้อนและความกดดันภายในโลก
แรงดันของหินหนืดที่พุ่งตัวขึ้นสู่ผิวโลก
 การแปรสัมผัส
 การแปรภูมิภาค
ความร้อนของหินหนืดและสารละลายที่ผสมอยู่มีผลทาให้หินข้างเคียง
เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะบริเวณที่สัมผัสและบริเวณใกล้เคียงกับบริเวณที่สัมผัส
หากกระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 1,000
ตารางกิโลเมตร มีความลึกเกินกว่า 100 เมตร
ส่วนประกอบของดิน
ส่วนประกอบของดิน
ของแข็ง ก๊าซของเหลว
1.อนินทรีย์วัตถุ
แร่ หิน ที่ผุพัง ธาตุ : ออกซิเจน-ซิลิกอน
พืช : คาร์บอนไฮโดรเจน-ออกซิเจน-ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส
2. อินทรีย์วัตถุ
การสลายของสิ่งมีชีวิต(ฮิวมัส) สิ่งมีชีวิตในดิน
บริเวณป่า-ทุ่งหญ้า-ดินพรุ มีอินทรีวัตถุมาก
3. น้าในดิน
น้าอิสระ : น้าที่แทรกอยู่ในช่องว่างของเนื้อดิน
น้าซับ : น้าที่อยู่บนผิวของอนุภาคดินและซึมซับดินจนชุ่มชื้น
น้าเยื่อ : น้าที่เคลือบที่ผิวอนุภาคดิน
ปัจจัยสร้างดินและการเปลี่ยนแปลงในดิน
ปัจจัยที่ร่วมกันในการสร้างดิน 5 ประการ ได้แก่
 ภูมิอากาศ
 สิ่งมีชีวิต
 วัตถุต้นกาเนิดดิน
 ภูมิประเทศ
 และระยะเวลา
การเปลี่ยนแปลงในดิน
 การเพิ่มเติม
 การสูญเสีย
 การแปรสภาพ
 และการเคลื่อนย้าย
การจาแนกดิน
 ดินโซนัล เป็นดินที่จาแนกตามเขตภูมิอากาศ และพืชพรรณ
ของโลก แบ่งออกเป็น 10 เขต
 ดินอินทราโซนัล เป็นดินที่เกิดในเขตภูมิประเทศเฉพาะแห่ง
เช่น เกิดในแอ่ง ทะเลสาบ และในพรุน้าขัง
 ดินอะโซนัล เป็นดินที่เกิดขึ้นไม่จากัดเขต แต่เกิดขึ้นจาก
กระบวนการเฉพาะอย่าง เช่น ดินตะกอนน้าพา ดินลมหอบ ดิน
ภูเขาไฟ เป็นต้น
หน้าตัดดิน
ป่า-สีคล้า
พื้นที่เกษตร
เหล็กออกไซด์สะสม
ไม่มีการสะสมของอินทรีย์

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05Chay Kung
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพsarawut chaiyong
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกJuno Nuttatida
 

What's hot (20)

บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
Minerals
MineralsMinerals
Minerals
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 

Similar to โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 

Similar to โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 

โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก