SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
( Kingdom of Life )
ตารางเปรียบเทียบลักษณะสาคัญสิ่งมีชีวิตใน 5 KINGDOM
Kingdom

Monera

Protista

Fungi

Plantae

Animalia

สิ่ง
เปรียบเทียบ

1. ประเภท
โครงสร้างของ
เซลล์
2. ออร์แกเนลล์ที่
มีเยือหุม
่ ้
3. ไรโบโซม

4. จานวนเซลล์
และเนื้ อเยือ
่

Prokaryotic cell
(ไม่มีเยือหุมนิ วเคลียส)
่ ้

Eukaryotic cell
(มีเยือหุมนิ วเคลียส)
่ ้

ไม่มี

มี

มี

1 เซลล์ หรือ
มากกว่า แต่ไม่ทาหน้าที่ร่วมกันเป็ นเนื้ อเยือ
่
(cellular level)

มากกว่า 1 เซลล์ และ
ทาหน้าที่ร่วมกันเป็ นเนื้ อเยื่อ
(Tissue level)
Kingdom

Monera

Protista

Fungi

Plantae

Animalia

สิ่ง
เปรียบเทียบ

5. ตัวอ่อน
(Embryo)

ไม่มี

6. จานวน
โครโมโซมและ
โปรตีนฮีสโตน

โครโมโซม 1 อัน และไม่มี
โปรตีนสโตน

7. ผนังเซลล์
(Cell wall)

มี เป็ นสาร Peptidoglycan
แต่ไม่ใช่ Cellulose

8. ประเภภทการ
ดารงชีวิต

ผูผลิต (ไม่มีคลอโรพลาสต์) ผูผลิต (มีคลอ
้
้
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกม- โรพลาสต์)
น้ าเงิน หรือ ผูยอยสลาย
้่
หรือผูบริโภค
้
ได้แก่ แบคทีเรีย

มี

มากกว่า 1 อัน และมีโปรตีนฮีสโตน

มี ในพวก เห็ดรา
ยีสต์ (สาร Chitin) และ
สาหร่าย (สาร Cellulose)
ผูยอยสลาย
้่

มี เป็ นสาร
Cellulose

ไม่มี

ผูผลิต (มีคลอ้
โรพลาสต์)

ผูบริภาค
้
แผนภาพการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตเป็น 5 อาณาจักร
อาณาจักรมอเนอรา

KINGDOM
KINGDOM
MONERA
MONERA
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรมอเนอรา
ิ
- เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) ในขณะที่สิ่งมีชีวิตอื่นๆทุก
อาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยูคารีโอต (eukaryotic cell)
- ไม่มออร์แกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ้มเช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะ
ี
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มคือไรโบโซม

สิ่งมีชีวิตใรอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ กล่าวคือ
กลุ่มแบคทีเรียทาหน้าที่เป็นผูย่อยอินทรียสารก่อให้เกิดการหมุนเวียนสารอนินทรียและอินทรีย์สารต่างๆ
้
์
สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงินทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศและสิงมีชีวิต 2 กลุ่มนียังมีความสาคัญในแง่
่
เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ่น เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร

อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษาพันธุศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึน
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 2 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
2. ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)

Schizophyta

Cyanophyta
ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta)
สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี ได้แก่ แบคทีเรีย
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ
1. มีเซลล์ขนาดเล็ก
2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ
2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus
2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus
2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum

แบคทีเรีย ในรูปร่างต่างๆ
3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ
- เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci
- เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก
staphylococci
- เซลล์ 8 เซลล์ เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina
แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรง
กลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึนกับสภาพของ
การเพาะเลียงในอาหาร
แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่าง
กันทังทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง
4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในนา ในอากาศ แหล่งที่เป็นนาพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก
โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ
1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA)
2. ผนังเซลล์ (cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้องกันเซลล์แตกประกอบด้วย
peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยนาตาล 2 ชนิด คือ N-actyl glucosamine (NAG) และN-acytyl
muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic acid
3. Capsule เป็นส่วนที่อยูนอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการ
่
ทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านัน แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง
4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการ
เคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation
5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การ
แบ่งเซลล์
6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจลลา
ประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจลลา 1
เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง
7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วงแหวน
และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ พลาสมิดมีหลายชนิด
บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บางชนิดควบคุมการดือต่อยาปฏิชีวนะต่าง ๆ
แผนภาพแสดงรูปร่างลักษณะของแบคทีเรีย
การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย
ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary Fission
บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ
1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึงไปยังอีกเซลล์หนึงด้วยการจับคู่สมผัสกัน
่
่
ั
โดยตรง
2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล์
หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึงไปยังอีกเซลล์หนึงโดยอาศัยไวรัสหรือ
่
่
Bacteriophage

ภาพแสดงโครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย
การจาแนก Bacteria อาศัยลักษณะดังนี้
1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง
2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น
2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้
2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้
3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น
3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต
3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน
4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2
5. ลักษณะการเลียงเชือ : อาหาร สภาพแวดล้อม
6. ลักษณะทางแอนติเจน
ประโยชน์ของแบคทีเรีย
1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง
2. การทดสอบคุณภาพนา
3. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ
4. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช

โทษของแบคทีเรีย
1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย
2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์
เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta)
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่า
Cyanobacteria
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ
1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella
2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น
chloroplast
3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin
4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ
4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม เช่น

4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย

gloeocapsa

chroococcus
การสืบพันธุ์ของ Cyanocacteria
1. การแบ่งตัว Binary fission.
2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย
3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete
ประโยชน์
- เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2
- Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์
- Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ยในดิน เช่น แหนแดง (Azolla) ซึ่ง
Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ
อาณาจักรโพรติสตา

KINGDOM
KINGDOM
PROTISTA
PROTISTA
อาณาจักรโปรตีสตา (Kingdom Protista)
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรตีสตาเป็นพวกเซลล์ยูคาริโอต มีทังชนิดเซลล์เดียวหรือ
หลายเซลล์ที่ไม่มี differentiation ได้แก่ สาหร่าย (algae) ไลเคนส์ (Lichens) ราเมือก
(slime mold) และโปรโตซัว (Protozoa)
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรโพรติสตา
ิ
ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์
รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament)
1. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo)
2. การดารงชีพ มีทังชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer)
และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer)
3. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
4. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม
(Pseudopodium) บางชนิดอาจจะไม่พบการเคลื่อนที่เลยก็ได้
5. รูปแบบการสืบพันธ์อาจจะเกิดการสืบพันธุแบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) หรืออาจจะเกิด
์
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction5) ก็ได้
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมโพรโทซัว (Phylum Protazoa)
2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)
3. ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta)
4. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta)
5. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta)
6. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta)
7. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta)
8. ไฟลัมยูไมโคไฟตา (Phylum Eumycophyta)
9. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
ไฟลัมโปรโตซัว (Phylum Protozoa)
โปรโตซัว จัดอยู่ในไฟลัมโปรโตซัว (phylum protozoa) มีทังชนิดที่เป็นเซลล์เดี่ยว หรือรวมเป็นกลุ่มเซลล์
รูปร่างหลายแบบ รูปไข่ ยาวรี บางชนิดมีรูปร่างไม่แน่นอน มีทังนาจืด นาเค็ม และพืนดิน ดารงชีวิตทังอิสระ
ภาวะต้องพึ่งพา และปรสิต แบ่งเป็น 4 กลุ่ม

ลักษณะทั่วไป : เซลล์มีแส้ (Flagella)
สาหรับเคลื่อนที่ พบทังนาจืดและนาเค็ม
ส่วนใหญ่ดารงชีวิตอิสระ พวกที่เป็นปรสิต
เช่น Trypanosoma เป็นปรสิตในเลือด
ของสัตว์เลียงและคน ทาให้เกิดโรคอัฟริกัน
เหงาหลับ (African Sleeping Sickness)
ลักษณะทั่วไป : เซลล์มีขน (cilia) ใช้พัด
โบกในการเคลื่อนที่และพัดพาอาหารเข้า
สู่เซลล์ส่วนใหญ่อยู่ในนาจืด)

ลักษณะทั่วไป : เคลื่อนที่โดยการไหลเวียน
ของไซโตพลาสซึมในเซลล์เป็นขาเทียม
(Pseudopodium) ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน
นาจืดมีชีวิตอิสระ บางชนิดเป็นปรสิตใน
ลาไส้คน เช่น Entamoeba histolytica
ทาให้เกิดโรคบิด
ลักษณะทั่วไป : เซลล์ไม่มีโครงสร้างสาหรับ
การเคลื่อนที่ต้องอาศัยพาหะ ดารงชีวิต
เป็นปรสิตทังหมด สืบพันธุ์แบบไม่อาศัย
เพศโดยการสร้างสปอร์สลับกับการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ บางชนิดทาให้เกิดโรคที่
ร้ายแรง เช่น plasmodium เป็นเชือไข้
มาลาเรียในคน โดยมียุงเป็นพาหะ
ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ( green algae) มีทัวหมดประมาณ 17,500 สปีชีส์ พบอยู่ในนาจืดมากกว่า
ในนาเค็ม พบในดินที่เปียกชืน แม่นาลาคลอง
ลักษณะ
1. จานวนเซลล์มีทังพวกเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุ่ม มีทังเคลื่อนที่ได้
่
และเคลื่อนที่ไม่ได้
2. โครงสร้างของผนังเซลล์ ประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเปกติน (Pectin) เคลือบอยู่
ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate)
.
3. การสืบพันธุ์
- แบบไม่อาศัยเพศ
- แบบอาศัยเพศ
ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามิน สูง
ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta)
ได้แก่ พวกสาหร่ายสีนาตาลแกมเหลือง หรือสาหร่ายสีทอง
แหล่งที่พบ พบได้ทั่วไปทังในนาจืด นาเค็ม
ลักษณะ
1. สาหร่ายสีนาตาลแกมทอง ( goldenbrown algae ) มีประมาณ 16,600 สปีชีส เป็นผู้ผลิตที่มีมาก
ที่สุดในทะเล
2. รงควัตถุที่พบในเซลล์มรงควัตถุสีเขียว คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี และมีรงควัตถุสีนาตาล
ี
3. มีทังพวกเซลล์เดียวและหลายเซลล์อยู่กันเป็นสายหรือรวมเป็นกลุ่ม
ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta)
สาหร่ายในดิวิชันนีเรียกว่า ยูกลีนอยด์ (euglenoid) ซึ่งจัดเป็นโปรโตซัวในคลาสแฟลก เจลลาตาด้วย
แหล่งที่พบ ในนาจืด ในดินชืนแฉะ
ลักษณะ
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด เอ และ บี คาโรทีน แซนโทฟิลล์
2. อาหารสะสมเป็นแป้ง เรียกว่า พาราไมลัม (Paramylum)
3. ไม่มีผนังเซลล์ มีแต่เยื่อเซลล์เหนียวๆ เรียกว่า Pellicle ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของเซลล์
ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta)
ได้แก่ พวกสาหร่ายสีนาตาล
แหล่งที่พบ ในนาเค็ม
ลักษณะ
1. สาหร่ายในไฟลัมพีโอไฟตา เรียกโดยทั่วไปว่าสาหร่ายสีนาตาล (Brown algae)
2. สาหร่ายสีนาตาลมีหลายเซลล์ พวกที่มีขนาดใหญ่มากเรียกว่า เคลป์ (Kelp) ซึ่งอาจมีความยาว 60-70 เมตร
3. การสืบพันธุ์ สาหร่ายสีนาตาลมีการสืบพันธุทังแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ โดยมีวงชีวิตแบบสลับ
์
(Alternation of generation) คล้ายกับพืช
ความสาคัญ
1. Laminara ใช้ทาปุ๋ยโปตัสเซียม
2. Laminara และ Kelp สกัดได้จากสารแอลจิน (algin) ทาไอศกรีม พลาสติก สบู่
ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta)
สมาชิกในไฟลัมนีนิยมเรียกว่า ไดโนแพลเจลเลต (Dinoflagellates)
แหล่งที่พบ ในนาเสีย
ลักษณะ
1. อาหารสะสม คือ แป้ง (Starch) ซึ่งสะสมไว้ในหรือนอกคลอโรพลาสต์
2. บางชนิดไม่มีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เซลล์จะเปล่าเปลือย
3. พบมากในทะเล บางพวกเรืองแสงได้ในที่มืด (Bioluminescence) ที่เราเรียกว่า พรายนา
4. การสืบพันธุ์โดยมากเป็นแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์และมีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศบ้าง
์
ความสาคัญ Dinoflagellate ในทะเลมาก เรียกว่า นาพิษสีแดงหรือขีปลาวาฬ (Red tide) ขีปลาวาฬ (Red tide)
มีอันตรายกับสิ่งมีชีวิต
ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta)
ได้แก่ พวกสาหร่ายสีแดง
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1. สาหร่ายในไฟลัมนีเรียกว่า สาหร่ายสีแดง (red algae) มีอยู่ประมาณ 3,900 สปีซีส์
2. ผนังเซลล์ ประกอบด้วยผนังเซลล์ชันใน เป็นพวกสารเซลลูโลส และผนังเซลล์ชันนอกเป็นสารเมือก
พวกซัลเฟตเตต แกแลกแตน (Sulfated galactan)
ความสาคัญ
1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด
2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
ไฟลัมยูไมโคไฟตา ( Phylum Eumycophyta)
สมาชิกในไฟลัมนีเรียก ราแท้ (True fungi) ตัวอย่างได้แก่ เห็ด รา ยีสต์
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucariyotic cell) ส่วนมากมีหลายเซลล์ ยกเว้น ยีสต์ซึ่งมี
เซลล์เดียว
2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้ ต้องใช้อาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
3. รามีทังการสืบพันธุ์แบบอาศัย เพศและแบบไม่อาศัยเพศ
ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด
2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วน
ุ้
ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
เป็นโปรตีสต์ที่มีช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์และช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายพืช ได้แก่ ราเมือก (Slime mold)
เป็นต้น
แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล
ลักษณะ
1. มีเซลล์เป็นแบบยูคาริโอต
2. การสืบพันธุ์มีวงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์สลับกับวงชีวิตคล้ายพืช
3. ราเมือกดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลาย ( saprophytism )
ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด
2. Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
อาณาจักรฟังไจ

KINGDOM
KINGDOM
FUNGI
FUNGI
สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด้วย รา เห็ด และยีสต์
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจ
1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย
3. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส
4. มีทังเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าขยุ้มรา (mycelium)
ส่วนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แต่อาจมีการต่อกันเป็นสาย เรียกว่า Pseudomycelium
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรฟังไจ
ิ
1. Fragmentation เกิดจากเส้นใยหักเป็นส่วน ๆแต่ละส่วนเรียก oidia สามารถเจริญเป็นเส้นใยใหม่ได้
2. Budding การแตกหน่อ เป็นการที่เซลล์แบ่งออกเป็นหน่อขนาดเล็กและนิวเคลียสของเซลล์แม่แบ่งออกเป็นสอง
นิวเคลียส นิวเคลียสอันหนึงส่วนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แต่อาจมีการต่อกันเป็นสาย เรียกว่า Pseudomycelium
่
จะเคลื่อนย้ายไปเป็นนิวเคลียสของหน่อ เมื่อหน่อเจริญเต็มที่จะคอดเว้าขาดจากกัน หน่อที่หลุดออกมาจะเจริญต่อไปได้
เรียกหน่อที่ได้นีว่า Blastosporeพบการสืบพันธุ์แบบนีในยีสต์ทั่วไป
3. Fission การแบ่งตัวออกเป็น 2 ส่วน แต่ละเซลล์จะคอดเว้าตรงกลางและหลุดออกจากกันเป็น 2 เซลล์พบในยีสต์
บางชนิดเท่านัน
4. การสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศทีพบมากที่สด สปอร์แต่ละชนิดจะมีชื่อและวิธีสร้างที่
่
ุ
แตกต่างกันไป
5. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการผสมมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์และมีการรวมตัวของนิวเคลียส

การสืบพันธุ์แบบมีเพศในฟังไจแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่เรียกว่า gametangium ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และ
เพศเมียที่เรียกว่า gamete เข้าผสมกัน
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนีแบ่งเป็น 4 ไฟลัม คือ
1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota)
2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota)
3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota)
4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (Phylum Deuteromycota)
ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota)
ราที่มีวิวัฒนาการต่าสุด
ลักษณะ
1. เซลล์เดี่ยวเจริญอยู่ในนา บนบก และซากพืชซากสัตว์
2. เส้นใยชนิดไม่มีผนังกัน
3. ดารงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte)
4. การสืบพันธุ์
- แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า sporangiospore
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า zygospore
ประโยชน์
1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์
2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก
โทษ
ทาให้เกิดโรคในพืชและสัตว์
ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota)
ลักษณะ
1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ นอกนันเป็นพวกมีเส้นใยมีผนังกันและเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi)
2. ดารงชีวิตบนบก
3. การสืบพันธุ์
- แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า conidia ที่ปลายไฮฟา ส่วนยีสต์จะแตกหน่อ
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ ที่มีชื่อว่า ascospore อยู่ในถุงเรียกว่า ascus
ประโยชน์
1. Saccharomyces cerevisiae ใช้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง
2. Monascus sp. ใช้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี
โทษ เกิดโรคกับคนและสัตว์
ไฟลัมเบสิดโิ อไมโคตา (Phylum Basidiomycota)
ลักษณะ
1. เส้นใยมีผนังกันและรวมตัวอัดแน่นเป็นแท่งคล้ายลาต้น เช่น ดอกเห็ด
2. การสืบพันธุ์
- แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า codiospore ใน conidia
- แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ที่สร้างโดยอาศัยเพศสร้างบนอวัยวะคล้ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium)
เรียกว่า แบสิดิโอสปอร์ (basidiospore)

ประโยชน์
ใช้เป็นแหล่งอาหาร
โทษ
1. ทาให้เกิดโรคในพืช เช่น ราสนิม ราเขม่า
2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ
ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (Phylum Deuteromycota)
ลักษณะ
1. เส้นใยมีผนังกัน
2. สืบพันธุไม่แบบอาศัยเพศเท่านัน โดยสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ่มนีว่า
์
Fungi Imperfecti
3. แต่หากเมื่อใดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะไปอยู่ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes
ประโยชน์
1. Penicillium chrysogernum ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน
2. Aspergillus wendtii ใช้ผลิตเต้าเจียว
3. A. oryzae ใช้ผลิตเหล้าสาเก
โทษ
1. ทาให้เกิดโรคในพืช
2. สร้างสารพิษ ทาให้เกิดโรค
3. ทาให้เกิดโรคในคน เช่น กลาก เกลือน โรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟุต
อาณาจักรพืช

Kingdom
Kingdom
Plantae
Plantae
อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
พืชทุกชนิดมีมีลักษณะสาคัญร่วมกันคือ มีเนือเยื่อ ตัวอ่อน ผนังเซลล์เป็นสารเซลลูโลส มีคลอโรพลาสต์
และมีวฏจักรชีวิตแบบสลับ(Alternation of generation) ซึ่งหมายความว่า มีระยะแกมีโทไฟต์ (gamrtophyte)
ั
สร้างเซลล์สือพันธุ์ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สลับกับระยะสปอโรไฟต์ (Sporophyte) สร้างสปอร์เป็นการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช
1. มีคลอโรฟลลบรรจุอยูในเม็ดคลอโรพลาสตนอกจากนนยั ังมีรงควัตถอุ ื่นๆ อีกเชน คาโรดินอยด (Carotenoids)
2. ไมเคลื่อนที่จากที่หนึงไปยังอีกที่หนึงแตในบางระยะของวงชีวิตอาจมีแฟลกเจลลัมสาหรับเคลื่อนที่ได
่
่
3. เปนสิ่งมีชีวตพวกย ิ ูคาริโอติก (Eukaryotic cell)
4. ประกอบดวยเซลลหลายเซลลรวมกลมกุ ันเปนเนือเยอซื่ ึ่งมีการเปลี่ยนสภาพของเซลล
ไปทาหนาทีเ่ ฉพาะ (Differentiation)
5. เซลลสืบพนธั ผสมกันไดไซโกตแลวจะตองเจริญผานระยะเอมบรโอิ แลวจึงจะเจริญเปนตนใหม (ตนสปอโรไฟต)
ุ
6. มีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) หมายถึงวามีระยะของตนแกมีโตไฟต(Gemetophyte)
ทาหนาทีสรางเซลลสืบพันธุผสมกันแบบอาศัยเพศ สลับกับระยะของตนสปอโรไฟต(Sporophyte)
่
สรางสปอรเปนการสืบพันธแบบไม ุ อาศัยเพศ
7. มีผนังเซลล (Cell wall) เปนสารเซลลูโลสและสารเพคติน (Cellulosse และ Pectic substance)
วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบด้วยช่วงชีวิตที่เป็นส
ปอโรไฟต์ (sporophyte generation) ทาหน้าที่สร้างสปอร์ (spore) สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์
(gametophyte generation) ทาหน้าที่สร้างแกมีต (gamete) ได้แก่ เซลล์สืบพันธุเ์ พศผูหรือสเปิร์ม (sperm) และ
้
เซลล์สืบพันธุเ์ พศเมียหรือไข่ (egg) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้เป็นเซลล์ใหม่คือ ไซโกต (zygote)
อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืช ประกอบขึนด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่เป็นหมัน (sterile cell) ห่อหุ้ม
อยู่รอบนอก การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอโรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ (embryo)
ก่อน คุณสมบัติทัง 2 ประการ ดังกล่าวนีจะไม่พบในพวกสาหร่าย (algae)

ภาพแสดงเซลล์พืช

ภาพแสดงการเปรียบเทียบเซลล์พืช และเซลล์สัตว์
วงชีวิตแบบสลับ
พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป ในขณะที่แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็น
ด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม แกมีโทไฟต์ประกอบขึนด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (n) จานวนมากทาหน้าทีสร้างแกมีต
่
สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึนด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์ (2n) ทาหน้าที่สร้างสปอร์จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส
ของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (sporangium)สปอร์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮ
พลอยด์ (n)จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (n) ที่ทาหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่

การปฏิสนธิ (fertilization) คือ การรวมตัวกันของสเปิร์ม (n) และไข่ (n) จะทาให้ได้เซลล์ใหม่ทเี่ ป็นดิพลอยด์ (2n)
คือ ไซโกตเกิดขึนมา และต่อจากนันไซโกตจะแบ่งเซลล์ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไปเป็นสปอร์โรไฟต์
ดังนันจึงกล่าวได้ว่า ไซโกตคือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์ และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้นของช่วงแกมีโทไฟต์
ในพืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ดส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว (homospore) ซึ่ง สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัว
และเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทาหน้าที่สร้างทังสเปิร์มและไข่บนต้นเดียวกัน แต่สาหรับพืชที่มีการสร้างเมล็ดแล้ว
ทุกชนิด จะสร้างสปอร์เป็น 2 ชนิด (heterospore) ได้แก่ ไมโครสปอร์ (microspore) และ เมกะสปอร์
(megaspore) ไมโครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือแกมีโทไฟต์
เพศผู้ (male gametophyte) ทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์ จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเมกะแกมีโทไฟต์
(megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) ทาหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนีแบ่งเป็น 9 ดิวิชัน คือ
1. ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)
2. ดิวิชันไซโลไฟตา (Division Psilophyta)
3. ดิวิชันไลโคไฟตา(Division Lycophyta)
4. ดิวิชันสฟีโนไฟตา (Division Sphenophyta)
5. ดิวิชันเทอโรไฟตา (Division Pterophyta)
6. ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา (Division Coniferophyta)
7. ดิวิชันไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta)
8. ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division Ginkophyta)
9. ดิวิชันอแนโทไฟตา (Division Anthophyta)
พืชใบเลียงคู่
พืชใบเลียงเดี่ยว
1. มีใบเลียง 2 ใบ
1. มีใบเลียง 1 ใบ
2. เส้นใบเป็นแบบร่างแห
2. เส้นใบเรียงแบบขนาน
3. ใบเลียงชูเหนือพืนดิน
3. ใบเลียงไม่ชูเหนือพืนดิน
4. ระบบรากแก้ว
4. ระบบรากฝอย
5. ระบบท่อลาเลียงเป็นวงรอบข้อ
5. ระบบท่อลาเลียงกระจัดกระจาย
6. กลีบเลียง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 4-5
6. กลีบเลียง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 3
7. รากจะมีท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงอาหาร 4
7. รากจะมีท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงอาหาร
แฉก
มากกว่า 4 แฉก
8. มี Cambium และมีการเจริญทางด้านข้าง
8. ไม่มี Cambium และไม่มีการเจริญทางด้านข้าง
ลักษณะสาคัญ
1. เป็นพวก Eukaryotic cell
2. สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
3. ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
4. มีหลายเซลล์ เซลล์รวมกันเป็นเนือเยื่อ
5. มีวงชีวิตแบบสลับ(Alternation of generation)
อาณาจักรสัตว์

KINGDOM
KINGDOM
ANIMALIA
ANIMALIA
ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์
เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม ประกอบด้วย หลายเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละเซลล์
เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร ไม่มีคลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีวิตได้หลายลักษณะทังบนบก
ในนา และบางชนิดเป็นปรสิต อาณาจักรนีได้แก่สัตว์ทุกชนิด ตังแต่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ที่มีกระดูก
สันหลัง ได้แก่ พยาธิใบไม้ กบ ลิง กระต่าย ดาวทะเล แมงดาทะเล พลานาเรีย หอย2ฝา แมลงสาบ
1. เซลล์แบบยูคาริโอต (eukaryotic cell) คือเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมีออร์แกนเนลล์ต่างๆ
กระจายอยู่
2. ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนิดที่ไม่มีผนังเซลล์ เรียกว่าเซลล์สัตว์ ทาให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุมและ
่
แตกต่างไปจากเซลล์พืช เซลล์เหล่านีจะมารวมกันเป็นเนือเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพบว่าเซลล์ในเนือเยื่อมัก
มีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มีการประสานการทางานระหว่างกัน สัตว์ชันสูงมีเนือเยื่อหลายชนิดสามารถจาแนก
ตามหน้าที่และตาแหน่งที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คือ เนือเยื่อบุผิว(epithelial tissue) เนือเยื่อเกี่ยวพัน
(connective tissue) เนือเยื่อกล้ามเนือ(muscular tissue) เนือเยื่อลาเลียง (vascular tissue) และเนือเยื่อ
ประสาท (nervous tissue)
3. สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์ ดังนันการดารงชีวิตจึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร
ซึ่งอาจเป็นพืชหรือสัตว์ด้วยกัน การดารงชีวิตจึงมักเป็นแบบผู้ล่าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ
4. โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว่าเมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วเกาะอยู่กบที่
ั
5. โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิงเร้าได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับ
่
ความรู้สึกและตอบสนอง เช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ เป็นต้น
6. ร่างกายสัตว์ต้องมีการกาจัดของเสียที่เกิดจากการเมตาบอลิซึมของเซลล์ ( ได้เเก่
คาร์บอนไดออกไซด์ เเละของเสียไนโตรเจน ) ออกจากร่างกาย สัตว์ขนาดใหญ่จะมีระบบทาหน้าที่เฉพาะ
กลุ่มที่ไม่มีเนือเยื่อที่แท้จริง
Phylum Porifera
ได้แก่ ฟองนาต่างๆ

ลักษณะสาคัญ
1. เป็นสัตว์หลายเซลล์ มีรูปร่างเป็นก้อนหรือคล้ายแจกัน มีรูพรุน(ostia) ทั่วตัว เป็นทางผ่านเข้าของนา และ
อาหาร ช่องใหญ่ด้านบน (osculum) เป็นทางผ่านออก (แต่ยังไม่มีการเรียงตัวของเซลล์เป็นเนือเยื่อ)
2. มีสมมาตรแบบรัศมี หรือบางชนิดไม่มีสมมาตร
3. ตัวอ่อนเคลื่อนที่ได้ วิธีกินอาหารเหมือนสัตว์มากกว่าพืช
4. มีโครงสร้างภายในเรียกว่า spicule (เทียบได้กับโครงกระดูกมนุษย์)
5. มีเซลล์ลักษณะเป็นปลอก มีแฟลกเจลลัม เรียกว่า collar cell ทาหน้าที่พัดโบกนาและกรองสารอาหาร
ฟองนาแบ่งออกเป็น 3ประเภท (โดยใช้ลักษณะของ spicule เป็นเกณฑ์ )
5.1 มีโครงร่างเป็นสารพวกหินปูน เช่น ฟองนาหินปูน
5.2 มีโครงร่างเป็นพวกซิลิกา (แก้วหรือทราย) เช่น ฟองนาแก้ว
5.3 มีโครงร่างเป็นโปรตีนอ่อนนิ่ม เรียกว่า sponging เช่น ฟองนาถูตัว
6. สืบพันธุแบบไม่อาศัยเพศโดยวิธีการแตกหน่อ
์
7. แบบอาศัยเพศก็ได้

ฟองนาถูตัว

ฟองนาแก้ว
ความสาคัญ
1. ลักษณะเป็นโพรงภายในลาตัวเป็นที่อยู่ของพวกสัตว์นาตัวเล็กๆ ตัวอ่อนของสัตว์นา
2. ปลูกไว้ขายเพื่อนาไปขัดพืน ,ทาแปรงทาสี,ถูตัว,ทายาปฏิชีวนะ
กลุ่มที่มีเนือเยื่อที่แท้จริง

แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะสมมาตร คือกลุ่มที่มีสมมาตรแบบรัศมีและกลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง
ก. กลุ่มที่มีสมมาตรแบบรัศมี
Phylum Coelenterata (Phylum Cnidaria)
ได้แก่ ซีแอนีโมนี (ดอกไม้ทะเล) ปะการัง กัลปังหา แมงกะพรุน ไฮดรา
ลักษณะสาคัญ
1. มีเนือเยือ 2 ชัน
2. พวกที่มีเดือย หนาม หรือเข็มเล็กๆเอาไว้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ เรียกว่า nematocyst ซึ่งอยู่ในเซลล์ถุงเก็บ
เข็มพิษที่หนวด(tentacle)
3. มีช่องว่างกลางลาตัวเรียกว่า Gastrovascular cavity ซึ่งเปรียบเสมือนทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน
4. มีรูปร่าง 2 แบบ คือ polyp (ทรงกระบอก) และ mrdusa (คล้ายร่มหรือระฆังคว่า)
5. สมมาตรแบบรัศมี
6. มีการสืบพันธุ์แบบสลับ (ได้ทังแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ)
7. ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
ความสาคัญ
1. แนวหินปะการับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นา
2. นามาผลิตอาหาร
3. ทาเครื่องประดับ
4. นามาใช้ทางการแพทย์
ปะการัง

ปะการัง

กัลปังหา
แมงกะพรุน
ข. กลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง
กลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือกลุ่มโพรโทสโทเมียร์และกลุ่มดิวเทอโรสโทเมียร์
1. กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือกลุ่มที่มีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์และกลุ่มที่มีตัวอ่อนแบบ
ลอกคราบ
กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ ที่มีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์
Phylum Platyhelminthes
ได้แก่ หนอนตัวแบนต่างๆ เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ พลานาเรีย
ลักษณะสาคัญ
1. ลาตัวแบนยาว ไม่มีช่องว่างในร่างกาย
2. มีเนือเยื่อ 3 ชันเป็นพวกแรก
3. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก
4. ระบบทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ ยกเว้น ตัวตืด ไม่มีทังปากและทวารหนัก
5. ทีผิวลาตัวมีชันขีผึง (cuticle ) หนา ป้องการอันตรายจากนาย่อย(เฉพาะพวกที่เป็นปรสิต)
่
มีอวัยวะยึดติดกับผู้ถูกอาศัย เรียกว่า hook และมีอวัยวะดูดอาหารเรียกว่า sucker
6. มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
7. ไม่มีระบบเลือด

พานาเรีย

พยาธิตัวตืด

พยาธิใบไม้
Phylum Mollusca
ได้แก่ หอยโข่ง หอยทาก หอยนางรม ลิ่นทะเล เพรียงเจาะไม้ (เพรียงเรือ) หอยงวงช้าง หมึก

ลักษณะสาคัญ
1. ลาตัวนิ่ม ไม่แบ่งเป็นปล่อง มีเยื่อบางๆเรียกว่าแมนเทิล หุ้มตัวทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้ม
2. เปลือกอาจมีหรือไม่มีก็ได้
3. มีเนือเยื่อ 3 ชัน
4. สมมาตรแบบครึ่งซีก
หอย
5. มีทางเดินอาหารสมบูรณ์
6. หายใจด้วยเหงือก ยกเว้น ทาก และทากดูดเลือดหายใจด้วยปอด
7. ระบบหมุนเวียนเป็นแบบวงจรเปิด
8. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง เพศแยก

ลิ่มทะเล

หมึก

เพรียงเจาะไม้ (เพรียงเรือ)
Phylum Annelida
ได้แก่ ไส้เดือนดิน ปลิงนาจืด ทากดูดเลือด(ปลิงบก) แม่เพรียง ปลิงดูดเลือด หนอนดอกไม้
ลักษณะสาคัญ
1. มีเนือเยื่อ 3 ชัน
2. ลาตัวกลมยาว เป็นปล้อง คล้ายวงแหวนต่อกัน(ภายในมีเยื่อกันระหว่างปล้อง) ผิวหนังเปียกชืน
3. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก
4. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง
5. มีระบบเลือดแบบวงจรปิด
6. มี 2 เพศในตัวเดียวกัน
ปลิงดูดเลือด
ไส้เดือนดิน

แม่เพรียง
หนอนดอกไม้
กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ ที่มีตัวอ่อนแบบลอกคราบ
Phylum Nematoda
ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า พยาธิโรคเท้าช้าง ตัวจิ๊ด ไส้เดือนฝอย (หนอนใน
นาส้มสายชู)

ลักษณะสาคัญ
1. ลาตัวกลม ยาว ไม่มีปล้อง ไม่มระยางค์
ี
2. มีเนือเยื่อ 3 ชัน
3. สมมาตรแบบครึ่งซีก
4. มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์เป็นพวกแรก
5. มีช่องว่างเทียม
6. ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีระบบหายใจ
7. เพศแยก
8. มีทังพวกปรสิตและพวกที่หาอิสระ

พยาธิไส้เดือน

โรคเท้าช้าง

ตัวจี๊ด

พยาธิแส้ม้า

ไส้เดือนฝอย
Phylum Arthropoda
ได้แก่ แมลงต่างๆ มด กุ้ง ปู ไรนา เพรียงหิน แมงมุม แมงป่อง เห็บ แมงดาทะเล ตะขาบ กิงกือ
ลักษณะสาคัญ
1. เป็นสัตว์ที่มีเนือเยื่อ 3 ชัน
2. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก
3. ลาตัวเป็นปล้อง และรยางค์เป็นปล้อง
4. ลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อก ท้อง
5. ฃมีเปลือกแข็งหุ้มตัวเป็นสารพวกคิวติน
6. มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
7. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง
กุ้ง
แบ่งเป็น 6 คลาส

ปู

เพรียงหิน

โรน่า
1. class Crustacean มีส่วนหัว อก เชื่อมติกัน มีหนวด 2 คู่ ส่วนท้องเป็นปล้อง มีขาเดิน 5 คู่ และ
ขาว่ายนาด้านล่างของส่วนท้อง หายใจด้วยเหงือก ได้แก่ กุ้ง กัง ปู ไรนา(ไรแดง) เพรียงหิน ตัว
กะปิ จักจั่นทะเล
2. class Arachinida มีขา 4 คู่ ไม่มีหนวด ส่วนหัว-อกเชื่อมรวมกันกัน มีอยู่ทังบนบก และ
ในนาเค็ม ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง เห็บ บึง

แมงมุม

บึง

แมงป่อง
3. class Merostoma เป็นพวกดารงชีวิตเป็นอิสระ บริเวณแหล่งนาตืน ในนากร่อยและนาเค็ม
จะฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือทราย ส่วนหัว-อกติดกัน มีกระดองโค้งเป็นแผ่นแข็งคลุมตัว
มีส่วนคล้ายหางที่สวนท้ายของลาตัว มีขาเดือน 5 คู่ ไม่มีหนวด ปลายขาเดินคู่สุดท้าย
่
มีลักษณะเป็นแผ่นแบนซ้อนกันใช้ขุดทายเวลาจะฝังตัวในทราย ได้แก่ แมงดาทะเล ซึ่งมี 2 ชนิดในไทยคือ
- แมงดาทะเลหางเหลี่ยม(แมงดาจาน)
- แมงดาทะเลหางกลม (แมงดาถ้วย)

แมงดาทะเล
แมงดาทะเล
4. class Insecta เป็นสัตว์ที่มีมากที่สดในโลก ร่างกายแบ่งเป็น 3 ส่วน หัว อก ท้อง มีขา 3 คู่ ส่วนอก
ุ
มีหนวด 1 คู่ (มีปีกหรือไม่มีก็ได้)

แมงปอ

มด

ผีเสือ

ตักแตน
5. class Chilopoda มีส่วนหัวและลาตัวแบนยาวเป็นปล้องๆละ 15 – 18 ปล้อง แต่ละปล้องมีขา 1 คู่
(ยกเว่นปล้องสุดท้าย) มีหนวดยาวต่อเป็นข้อๆ 1 คู่ มีต่อมพิษ ได้แก่ พวกตะขาบ ตะเข็บ

ตะขาบ

ตะขาบ
6. class Diplopoda มีลาตัวกลมยาว แต่ละปล้องมีขาสันๆ 2 คู่ เคลื่อนที่ช้ากว่าตะขาบ มีหนวดสัน 1 คู่
เพศแยก
ไม่มีต่อมพิษ ได้แก่ กิงกือ

กิงกือ
กลุ่มดิวเทอโรสโทเมียร์
Phylum Echinodermata
ได้แก่ ดาวทะเล อีแปะทะเล (เหรียญทะเล) ปลองทะเล หอยเม่น (เม่นทะเล) ขนนกทะเล พลับพลึงทะเล
ลักษณะสาคัญ
1. มีเนือเยื่อ 3 ชัน
2. ผิวลาตัวมีลักษณะเป็นหนามขรุขระ
3. มีสมมาตร 2 แบบ คือ ขณะเป็นเอมบริโอมีลักษณะบางใส ว่ายนาอย่างอิสระ มีสมมาตรแบบครึ่งซีก แต่เมื่อเป็น
ตัวเต็มวัยไม่มีส่วนหัว ส่วนท้าย จะมีสมมาตรแบบรัศมี
4. มีระบบหมุนเวียนนาใช้ในการเคลื่อนที่
5. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง
เม่นทะเล
6. มีระบบทางเดินอาหารที่สมบูรณ์
7. เพศแยก
ปลิงทะเล
ดาวทะเล
Phylum Chordata
เป็นสัตว์ที่มีโครงร่างเป็นแกนของร่างกาย ได้แก่ เพรียงหัวหอม แอมพิออกซัส ปลาปากกลม ปลากระดูก
อ่อน ปลากระดูกแข็ง สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา สัตว์เลือยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลียงลูกด้วยนานม
ลักษณะสาคัญ
1. มีโนโตคอร์ดเป็นแกนของร่างกาย
2. มีช่องว่างที่แท้จริง
3. สมมาตรแบบครึ่งซีก
4. มีระบบหมุนเวียนเลือด
5. มีท่อประสาทกลวงที่ด้านหลัง
6. มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย
7. หาง พบได้ส่วนมากในไฟลัมนี
สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
1. Urochordata ได้แก่ เพรียงหัวหอม เพรียงสาย เป็นสัตว์นาเค็ม ลาตัวใส
มีเปลือกหุ้มอยู่ภายนอกประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส อาจลอยนาได้หรือว่ายนาได้ ช่องว่าง
ในลาตัวไม่ชัดเจน มีโนโตคอร์ดเฉพาะที่เป็นตัวอ่อนเท่านัน

เพรียงหัวหอม

เพรียงหัวหอม

2. Cephalochordata ได้แก่ แอมพิออกซัส เป็นสัตว์ทะเลเล็กๆ ลักษณะตัวยาว หัวท้ายแหลมคล้าย
ปลา มีโนโตคอร์ดยาวตลอดตัวและมีไขสันหลังตลอดชีวิต

แอมฟิออกซัส

แอมฟิออกซัส
สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาที่มีกระดูกสันหลัง
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร
1. ปลาปากกลม (class Cyclostomata ) ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล ปากกลม ขอบบนของปากและปลายลินมี
ฟันเล็กๆแหลมคมมากมาย ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีขากรรไกรไม่มีครีบคู่ (เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังประเภทเดียวที่
ยังมีโนโตคอร์ดเหลืออยุ่ขณะเป็นตัวเต็มวัย)

ปลาปากกลม

ปลาปากกลม
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
2. ปลากระดูกอ่อน (class Chondricthyes) มีกระดูกอ่อน มีทังครีบคู่และครีบเดี่ยว ปากมักอยู่ลายสุดของ
ร่างกาย มีเกล็ดเล็กคล้ายฟัน ผสมพันธุ์กันภายในร่างกาย ออกลูกเป็นตัว ได้แก่ ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลา
กระต่าย
ปลาฉนาก ปลาโรนัน

ปลาฉลาม

ปลากะเบน

ปลาฉนาก
3. ปลากระดูกแข็ง(class Osteicthyes) มีช่องเหงือก มีแก้มปิดช่องเหงือก มีกระดูกแข็ง มีครีบเดียว ครีบ
คู่ มีเกล็ดเรียงคล้ายกระเบือมุงหลังคา ผสมพันธุ์ภายนอกร่างกายเช่น ปลาดุก ปลาหมอ ปลาสวย ม้านา

ปลาดุก

ปลาทอง

ม้า
4. สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา(class Amphibia) ผิวหนังเปียกชืน ไม่มีเกล็ด แต่มีต่อมเมือก มี 4 ขา เป็นสัตว์เลือกเย็น
หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง ตัวอย่างเช่น จิงจกนา(ซาลามานเดอร์) กบ งูดิน เขียด อึ่งอ่าง

อึงอ่าง

คางคก

ซาลามานเดอร์
5. สัตว์เลือยคลาน (class Reptilia) ผิวหนังแห้ง มีเกล็ดปกคลุมท่าวไป มีขา 2 คู่ (ยกเว้นงู)
ผสมพันธุกันภายในร่างกาย ออกลูกเป็นไข่ ตัวอย่างเช่น งู ตะพาบ กิงก่า เต่า ตะกวด
์

เต่า
งู
จิงเหลน
6. นก(class Aves) ร่างกายปกคลุมด้วยขนที่เรียกว่าขนนก(feather) เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขา 2 คู่ (ขาหน้า
เปลี่ยนไปเป็นปีก) ขาหลังมี 4 นิว หายใจด้วยปอด ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ตัวอย่างเช่น
นก เป็ด ไก่ ห่าน หงส์

ห่าน

นกแพนกวิน

นกเอียง
. สัตว์เลียงลูกด้วยนานม(class Mammalia) เป็นสัตว์เลือดอุ่น ตัวเมียมีต่อมนานม ไว้เลียงลูกอ่อน ร่างกายมีขน
(hair) ปกคลุม มีขา 2 คู่ (นิวข้างละ 5 นิว) ลูกอ่อนเจริญภายในตัวแม่ ไข่มีขนาดเล็ก ไม่มีเปลือกหุ้ม มีสายสะดือกับ
รกติดต่อกับผนังมดลูก เพื่อรับอากาศและอาหารจากแม่ ตัวอย่างเช่น จิงโจ้ ตุ่นปากเป็ด
ตัวกินมด ค้างคาว สุนัข แมว ปลาโลมา ปลาวาฬ
ปัจจุบันแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี
7.1 กลุ่มมอโนทรีม(Monotremes) เช่น ตุ่นปากเป็ด และตัวกินมดมีหนาม เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนานมที่มี
ลักษณะโบราณ ตัวออกลูกเป็นไข่ แต่มีขนและต่อมนานม ตัวอ่อนฝักออกจากไข่แล้วจะเลียนานมบริเวณหน้า
ท้องของแม่กิน

ตุ่นปากเป็ด

ตัวกินมดมีหนาม
7.2 กลุ่มมาร์ซูเพียล(Marsupials) เช่น โอพอสซัม จิงโจ้และโคอาลา สัตว์กลุ่มนีจะตังท้องในระยะเวลาที่สัน
มาก ทาให้ลูกอ่อนที่คลอดออกมามีขนาดเล็กและจะคลานเข้าไปในถุงหน้าท้องของแม่ซึ่งภายในจะมีต่อมนานมที่มี
หัวนมสาหรับเลียงลูกอ่อน ลูกจะอยู่ในถุงหน้าท้องจนกว่าจะเจริญเติบโตเต็มที่จึงจะออกจากถุงหน้าท้องของแม่

โคอาลา

โอพอสซัม

จิงโจ้
7.3กลุ่มยูเทเรียน(Eutherians) เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนานมที่มีรก ตัวอ่อนจะมีการเจริญเติบโตที่
สมบูรณ์ภายในมดลูกของแม่และได้รับสารอาหารจากแม่ผ่านทากรก ได้แก่ สัตว์เลียงลูกด้วยนานมส่วนใหญ่ เช่น
ลิง คน วาฬ โลมา

ลิง

โลมา

ค้างคาว

ควาย
The End.
จัดทาโดย

นางสาวณัชนันท์ จินาติ เลขที่ 1
นางสาวเจนจิรา ปันวารี เลขที่ 21
นางสาวศิริพรรณ วงค์ฐาน เลขที่ 23
ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 5/6

More Related Content

What's hot

อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
พัน พัน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
tarcharee1980
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
Plantae kingdom
Plantae kingdomPlantae kingdom
Plantae kingdom
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
fungi
fungifungi
fungi
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
อาณาจักรพืช (Kingdom plantae)
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 

Viewers also liked

อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
Sumalee Khvamsuk
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Bios Logos
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 

Viewers also liked (18)

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
ใบกิจกรรมที่ 4 (ฝากไฟล์)
 
Cell
CellCell
Cell
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 

Similar to Kingdom

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
mu_nin
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
dnavaroj
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
Takky Pinkgirl
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
kanitnun
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
pongrawee
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
Weeraphon Parawach
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
dnavaroj
 

Similar to Kingdom (20)

4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
เทคโนโลยีเกี่ยวกับสัตว์
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
4
44
4
 
4
44
4
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 

Kingdom

  • 2. ตารางเปรียบเทียบลักษณะสาคัญสิ่งมีชีวิตใน 5 KINGDOM Kingdom Monera Protista Fungi Plantae Animalia สิ่ง เปรียบเทียบ 1. ประเภท โครงสร้างของ เซลล์ 2. ออร์แกเนลล์ที่ มีเยือหุม ่ ้ 3. ไรโบโซม 4. จานวนเซลล์ และเนื้ อเยือ ่ Prokaryotic cell (ไม่มีเยือหุมนิ วเคลียส) ่ ้ Eukaryotic cell (มีเยือหุมนิ วเคลียส) ่ ้ ไม่มี มี มี 1 เซลล์ หรือ มากกว่า แต่ไม่ทาหน้าที่ร่วมกันเป็ นเนื้ อเยือ ่ (cellular level) มากกว่า 1 เซลล์ และ ทาหน้าที่ร่วมกันเป็ นเนื้ อเยื่อ (Tissue level)
  • 3. Kingdom Monera Protista Fungi Plantae Animalia สิ่ง เปรียบเทียบ 5. ตัวอ่อน (Embryo) ไม่มี 6. จานวน โครโมโซมและ โปรตีนฮีสโตน โครโมโซม 1 อัน และไม่มี โปรตีนสโตน 7. ผนังเซลล์ (Cell wall) มี เป็ นสาร Peptidoglycan แต่ไม่ใช่ Cellulose 8. ประเภภทการ ดารงชีวิต ผูผลิต (ไม่มีคลอโรพลาสต์) ผูผลิต (มีคลอ ้ ้ ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกม- โรพลาสต์) น้ าเงิน หรือ ผูยอยสลาย ้่ หรือผูบริโภค ้ ได้แก่ แบคทีเรีย มี มากกว่า 1 อัน และมีโปรตีนฮีสโตน มี ในพวก เห็ดรา ยีสต์ (สาร Chitin) และ สาหร่าย (สาร Cellulose) ผูยอยสลาย ้่ มี เป็ นสาร Cellulose ไม่มี ผูผลิต (มีคลอ้ โรพลาสต์) ผูบริภาค ้
  • 6. ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรมอเนอรา ิ - เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบโพรคาริโอต (prokaryotic cell) ในขณะที่สิ่งมีชีวิตอื่นๆทุก อาณาจักรมีโครงสร้างเซลล์แบบยูคารีโอต (eukaryotic cell) - ไม่มออร์แกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ้มเช่น ร่างแหเอนโดพลาสซึม กอลจิคอมเพลกซ์ ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ มีเฉพาะ ี ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มคือไรโบโซม สิ่งมีชีวิตใรอาณาจักรนี้มีความสาคัญอย่างมากต่อระบบนิเวศ กล่าวคือ กลุ่มแบคทีเรียทาหน้าที่เป็นผูย่อยอินทรียสารก่อให้เกิดการหมุนเวียนสารอนินทรียและอินทรีย์สารต่างๆ ้ ์ สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงินทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศและสิงมีชีวิต 2 กลุ่มนียังมีความสาคัญในแง่ ่ เทคโนโลยีชีวภาพซึ่งได้มีการศึกษาวิจัยเพิ่มมากขึ่น เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษาพันธุศาสตร์ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรให้ดียิ่งขึน
  • 7. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 2 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) 2. ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) Schizophyta Cyanophyta
  • 8. ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) สิ่งมีชีวิตที่จัดอยู่ในไฟลัมนี ได้แก่ แบคทีเรีย ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมซิโซไฟดา คือ 1. มีเซลล์ขนาดเล็ก 2. ลักษณะรูปร่าง มี 3 ลักษณะคือ 2.1 รูปร่างกลม เรียกว่า coccus 2.2 รูปร่างแบบแท่งยาว เรียกว่า bacillus 2.3 รูปร่าง เกลียว เรียกว่า spirillum แบคทีเรีย ในรูปร่างต่างๆ
  • 9. 3. เซลล์รูปร่างต่าง ๆ มีการเรียงตัวทาให้เกิดลักษณะเฉพาะ เช่น แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกลม มีการเรียงตัวหลายแบบ - เซลล์ทรงกลม 2 เซลล์เรียงต่อกันเรียก diplococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็นลูกโซ่เรียก streptococci - เซลล์หลายเซลล์เรียงกันเป็นกลุ่มก้อนคล้ายพวงองุ่น เรียก staphylococci - เซลล์ 8 เซลล์ เรียงเป็นลูกบาศก์เรียก sarcina แบคทีเรียที่มีรูปร่างทรงกระบอก ไม่ค่อยมีแบบแผนการเรียงตัวที่เด่นชัดเท่าทรง กลม แต่อาจมีการเรียงตัวของเซลล์เนื่องมาจากระยะการเจริญเติบโตหรือขึนกับสภาพของ การเพาะเลียงในอาหาร แบคทีเรียที่มีรูปร่างแบบเกลียว มักอยู่เป็นเซลล์เดี่ยว ๆ แต่ละชนิดมีความแตกต่าง กันทังทางด้านความยาว จานวนเกลียว ความโค้ง 4. แหล่งที่พบแทบทุกแห่งในดินในนา ในอากาศ แหล่งที่เป็นนาพุร้อน เขตหิมะ ทะเลลึก
  • 10. โครงสร้างของแบคทีเรียที่แตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ 1. แบคทีเรียมี ribosome ชนิด 70 s และสารพันธุกรรมเป็น DNA โดย (single circular DNA) 2. ผนังเซลล์ (cell wall) ทาหน้าที่คงรูปร่างของเซลล์ ป้องกันเซลล์แตกประกอบด้วย peptidoglycan ซึ่งประกอบด้วยนาตาล 2 ชนิด คือ N-actyl glucosamine (NAG) และN-acytyl muramic acid (NAM) และ มี amino acid หลายชนิด และ lipoprotein lipopolysac teichoic acid 3. Capsule เป็นส่วนที่อยูนอกผนังเซลล์ สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม และทนต่อการ ่ ทาลายของเม็ดเลือดขาว พบแคปซูลในแบคทีเรียบางชนิดเท่านัน แบคทีเรียที่มีแคปซูลมักก่อโรครุนแรง 4. pilil มีลักษณะเป็นขนคล้ายแฟลกเจลลา แต่มีขนาดเล็ก มีลักษณเป็นท่อกลวง ไม่มีหน้าที่ในการ เคลื่อนที่แต่ช่วยให้เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช่วยในการถ่ายทอด DNA ใน Conjugation 5. mesosome เป็นส่วนที่เยื่อหุ้มเซลล์บางส่วนยื่นเว้าเข้าไปในcytoplasm จะพบบริเวณ ที่จะมี การ แบ่งเซลล์ 6. Flagella เป็นโครงสร้างใช้ในการเคลื่อนที่ แบคทีเรียส่วนใหญ่เป็นพวกที่เคลื่อนที่ได้ แฟลกเจลลา ประกอบด้วยเส้นใยเส้นเดี่ยว ๆ ซึ่งต่างจากแฟลกเจลลาของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ แบคทีเรียอาจมีแฟลกเจลลา 1 เส้นจนถึงหลายร้อยเส้น และอยู่ได้หลายตาแหน่ง 7. Plasmid เป็น DNA ที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย ลักษณะของพลาสมิดเป็น DNA วงแหวน และเป็นเกลียวคู่ สามารถจาลองตัวเองได้และสามารถถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียอื่น ๆ ได้ พลาสมิดมีหลายชนิด บางชนิดควบคุมการสืบพันธุ์แบบมีเพศของเซลล์ บางชนิดควบคุมการดือต่อยาปฏิชีวนะต่าง ๆ
  • 12. การสืบพันธุ์ของแบคทีเรีย ส่วนใหญ่แบคทีเรียสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศที่เรียกว่า Transverse Binary Fission บางชนิดมีการแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้ 3 รูปแบบคือ 1. Conjugation คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึงไปยังอีกเซลล์หนึงด้วยการจับคู่สมผัสกัน ่ ่ ั โดยตรง 2. Transformation คือ การถ่ายทอด DNA ตัวเปล่า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล์ หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง 3. Transduction คือ การถ่ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล์หนึงไปยังอีกเซลล์หนึงโดยอาศัยไวรัสหรือ ่ ่ Bacteriophage ภาพแสดงโครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย
  • 13. การจาแนก Bacteria อาศัยลักษณะดังนี้ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง 2. ตามอาหารที่ได้รับ แบ่งเป็น 2.1 พวก Autotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองได้ 2.2 พวก Heterotroph เป็นพวกที่สามารถสร้างอาหารเองไม่ได้ 3. การติดสีของผนังเซลล์ [ Gram stain ] แบ่งเป็น 3.1 Gram positive เป็นพวกที่ติดสีย้อมคริสตัลไวโอเลต 3.2 Gram negative เป็นพวกที่ติดสีย้อมซาฟานิน 4. การหายใจ ความต้องการใช้อากาศหรือ O2 5. ลักษณะการเลียงเชือ : อาหาร สภาพแวดล้อม 6. ลักษณะทางแอนติเจน
  • 14. ประโยชน์ของแบคทีเรีย 1. ด้านอุตสาหกรรม เช่นการผลิตอาหารหมัก ใช้ฟอกหนัง 2. การทดสอบคุณภาพนา 3. ทางด้านการแพทย์ เช่นการผลิตยาปฏิชีวนะ 4. ช่วยย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นอาหารของพืช โทษของแบคทีเรีย 1. ผลิตสารพิษที่เป็นอันตราย 2. ทาให้เกิดโรคต่างๆ ใน คน เช่น ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค ปอดบวม วัณโรค คอตีบ สัตว์ เช่น แอนแทรกซ์ บาดทะยัก และพืช เช่น โรครากเน่า โรคใบไม้ของสาลี่
  • 15. ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) ได้แก่ สาหร่ายสีเขียวแกมนาเงิน (Blue-green algae) ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่า Cyanobacteria ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมไซยาโนไฟตา คือ 1. ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส เป็นเซลล์พวกโปรคารีโอต ไม่มี flagella 2. มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล์ แต่ไม่ได้รวมเป็น chloroplast 3. ผนังเซลล์เป็น cellulose และ pectin 4. มีขนาดเล็ก อาจอยู่ในลักษณะ 4.1 เซลล์เดี่ยว หรือเซลล์กลุ่ม เช่น 4.2 เซลล์ที่จัดเรียงเป็นสาย gloeocapsa chroococcus
  • 16. การสืบพันธุ์ของ Cyanocacteria 1. การแบ่งตัว Binary fission. 2. การหักเป็นท่อน (fragmentation) พบในพวกที่เป็นสาย 3. สร้างสปอร์หรือสร้างเซลล์พิเศษ เช่น akinete ประโยชน์ - เป็นผู้ผลิตอาหาร และ O2 - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช้ทาอาหารเสริมคนและสัตว์ - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพิ่มความตรึง N ทาเป็นปุ๋ยในดิน เช่น แหนแดง (Azolla) ซึ่ง Anabaena อยู่ช่องว่างกลางใบ
  • 18. อาณาจักรโปรตีสตา (Kingdom Protista) สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรตีสตาเป็นพวกเซลล์ยูคาริโอต มีทังชนิดเซลล์เดียวหรือ หลายเซลล์ที่ไม่มี differentiation ได้แก่ สาหร่าย (algae) ไลเคนส์ (Lichens) ราเมือก (slime mold) และโปรโตซัว (Protozoa) ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรโพรติสตา ิ ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์ รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) 1. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) 2. การดารงชีพ มีทังชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer) 3. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 4. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดอาจจะไม่พบการเคลื่อนที่เลยก็ได้ 5. รูปแบบการสืบพันธ์อาจจะเกิดการสืบพันธุแบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) หรืออาจจะเกิด ์ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction5) ก็ได้
  • 19. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมโพรโทซัว (Phylum Protazoa) 2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta) 3. ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta) 4. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta) 5. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta) 6. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta) 7. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta) 8. ไฟลัมยูไมโคไฟตา (Phylum Eumycophyta) 9. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta)
  • 20. ไฟลัมโปรโตซัว (Phylum Protozoa) โปรโตซัว จัดอยู่ในไฟลัมโปรโตซัว (phylum protozoa) มีทังชนิดที่เป็นเซลล์เดี่ยว หรือรวมเป็นกลุ่มเซลล์ รูปร่างหลายแบบ รูปไข่ ยาวรี บางชนิดมีรูปร่างไม่แน่นอน มีทังนาจืด นาเค็ม และพืนดิน ดารงชีวิตทังอิสระ ภาวะต้องพึ่งพา และปรสิต แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ลักษณะทั่วไป : เซลล์มีแส้ (Flagella) สาหรับเคลื่อนที่ พบทังนาจืดและนาเค็ม ส่วนใหญ่ดารงชีวิตอิสระ พวกที่เป็นปรสิต เช่น Trypanosoma เป็นปรสิตในเลือด ของสัตว์เลียงและคน ทาให้เกิดโรคอัฟริกัน เหงาหลับ (African Sleeping Sickness)
  • 21. ลักษณะทั่วไป : เซลล์มีขน (cilia) ใช้พัด โบกในการเคลื่อนที่และพัดพาอาหารเข้า สู่เซลล์ส่วนใหญ่อยู่ในนาจืด) ลักษณะทั่วไป : เคลื่อนที่โดยการไหลเวียน ของไซโตพลาสซึมในเซลล์เป็นขาเทียม (Pseudopodium) ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน นาจืดมีชีวิตอิสระ บางชนิดเป็นปรสิตใน ลาไส้คน เช่น Entamoeba histolytica ทาให้เกิดโรคบิด
  • 22. ลักษณะทั่วไป : เซลล์ไม่มีโครงสร้างสาหรับ การเคลื่อนที่ต้องอาศัยพาหะ ดารงชีวิต เป็นปรสิตทังหมด สืบพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศโดยการสร้างสปอร์สลับกับการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศ บางชนิดทาให้เกิดโรคที่ ร้ายแรง เช่น plasmodium เป็นเชือไข้ มาลาเรียในคน โดยมียุงเป็นพาหะ
  • 23. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta) ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว ( green algae) มีทัวหมดประมาณ 17,500 สปีชีส์ พบอยู่ในนาจืดมากกว่า ในนาเค็ม พบในดินที่เปียกชืน แม่นาลาคลอง ลักษณะ 1. จานวนเซลล์มีทังพวกเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ต่อกันเป็นสายยาว หรือรวมกันเป็นกลุ่ม มีทังเคลื่อนที่ได้ ่ และเคลื่อนที่ไม่ได้ 2. โครงสร้างของผนังเซลล์ ประกอบด้วย เซลลูโลส (Cellulose) บางชนิดมีเปกติน (Pectin) เคลือบอยู่ ภายนอกบาง ๆ บางชนิดมีแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) . 3. การสืบพันธุ์ - แบบไม่อาศัยเพศ - แบบอาศัยเพศ ความสาคัญ เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และวิตามิน สูง
  • 24. ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta) ได้แก่ พวกสาหร่ายสีนาตาลแกมเหลือง หรือสาหร่ายสีทอง แหล่งที่พบ พบได้ทั่วไปทังในนาจืด นาเค็ม ลักษณะ 1. สาหร่ายสีนาตาลแกมทอง ( goldenbrown algae ) มีประมาณ 16,600 สปีชีส เป็นผู้ผลิตที่มีมาก ที่สุดในทะเล 2. รงควัตถุที่พบในเซลล์มรงควัตถุสีเขียว คือ คลอโรฟิลล์ เอ และคลอโรฟิลล์ ซี และมีรงควัตถุสีนาตาล ี 3. มีทังพวกเซลล์เดียวและหลายเซลล์อยู่กันเป็นสายหรือรวมเป็นกลุ่ม ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
  • 25. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta) สาหร่ายในดิวิชันนีเรียกว่า ยูกลีนอยด์ (euglenoid) ซึ่งจัดเป็นโปรโตซัวในคลาสแฟลก เจลลาตาด้วย แหล่งที่พบ ในนาจืด ในดินชืนแฉะ ลักษณะ 1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด เอ และ บี คาโรทีน แซนโทฟิลล์ 2. อาหารสะสมเป็นแป้ง เรียกว่า พาราไมลัม (Paramylum) 3. ไม่มีผนังเซลล์ มีแต่เยื่อเซลล์เหนียวๆ เรียกว่า Pellicle ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของเซลล์ ความสาคัญ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เช่น ไดอะตอมมีสารพวกซิลิกา
  • 26. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta) ได้แก่ พวกสาหร่ายสีนาตาล แหล่งที่พบ ในนาเค็ม ลักษณะ 1. สาหร่ายในไฟลัมพีโอไฟตา เรียกโดยทั่วไปว่าสาหร่ายสีนาตาล (Brown algae) 2. สาหร่ายสีนาตาลมีหลายเซลล์ พวกที่มีขนาดใหญ่มากเรียกว่า เคลป์ (Kelp) ซึ่งอาจมีความยาว 60-70 เมตร 3. การสืบพันธุ์ สาหร่ายสีนาตาลมีการสืบพันธุทังแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ โดยมีวงชีวิตแบบสลับ ์ (Alternation of generation) คล้ายกับพืช ความสาคัญ 1. Laminara ใช้ทาปุ๋ยโปตัสเซียม 2. Laminara และ Kelp สกัดได้จากสารแอลจิน (algin) ทาไอศกรีม พลาสติก สบู่
  • 27. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta) สมาชิกในไฟลัมนีนิยมเรียกว่า ไดโนแพลเจลเลต (Dinoflagellates) แหล่งที่พบ ในนาเสีย ลักษณะ 1. อาหารสะสม คือ แป้ง (Starch) ซึ่งสะสมไว้ในหรือนอกคลอโรพลาสต์ 2. บางชนิดไม่มีผนังเซลล์ห่อหุ้ม เซลล์จะเปล่าเปลือย 3. พบมากในทะเล บางพวกเรืองแสงได้ในที่มืด (Bioluminescence) ที่เราเรียกว่า พรายนา 4. การสืบพันธุ์โดยมากเป็นแบบไม่อาศัยเพศโดยการแบ่งเซลล์และมีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศบ้าง ์ ความสาคัญ Dinoflagellate ในทะเลมาก เรียกว่า นาพิษสีแดงหรือขีปลาวาฬ (Red tide) ขีปลาวาฬ (Red tide) มีอันตรายกับสิ่งมีชีวิต
  • 28. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta) ได้แก่ พวกสาหร่ายสีแดง แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล ลักษณะ 1. สาหร่ายในไฟลัมนีเรียกว่า สาหร่ายสีแดง (red algae) มีอยู่ประมาณ 3,900 สปีซีส์ 2. ผนังเซลล์ ประกอบด้วยผนังเซลล์ชันใน เป็นพวกสารเซลลูโลส และผนังเซลล์ชันนอกเป็นสารเมือก พวกซัลเฟตเตต แกแลกแตน (Sulfated galactan) ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด 2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
  • 29. ไฟลัมยูไมโคไฟตา ( Phylum Eumycophyta) สมาชิกในไฟลัมนีเรียก ราแท้ (True fungi) ตัวอย่างได้แก่ เห็ด รา ยีสต์ แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล ลักษณะ 1. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucariyotic cell) ส่วนมากมีหลายเซลล์ ยกเว้น ยีสต์ซึ่งมี เซลล์เดียว 2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ จึงไม่สามารถสร้างอาหารได้ ต้องใช้อาหารจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น 3. รามีทังการสืบพันธุ์แบบอาศัย เพศและแบบไม่อาศัยเพศ ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด 2.Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วน ุ้
  • 30. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta) เป็นโปรตีสต์ที่มีช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์และช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายพืช ได้แก่ ราเมือก (Slime mold) เป็นต้น แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบในทะเล ลักษณะ 1. มีเซลล์เป็นแบบยูคาริโอต 2. การสืบพันธุ์มีวงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์สลับกับวงชีวิตคล้ายพืช 3. ราเมือกดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลาย ( saprophytism ) ความสาคัญ 1. Porphyra (จีฉ่าย)ใส่แกงจืด 2. Gracilaria ต้นเครามังกร หรือสาหร่ายวุ้น สกัดได้วุ้น
  • 32. สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจ ประกอบด้วย รา เห็ด และยีสต์ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจ 1. เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 2. ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดารงชีวิตเป็นผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เน่าเปื่อย 3. ผนังเซลล์เป็นสารไคตินกับเซลลูโลส 4. มีทังเซลล์เดียวและเป็นเส้นใยเล็ก เรียกว่าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ่ม เรียกว่าขยุ้มรา (mycelium) ส่วนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แต่อาจมีการต่อกันเป็นสาย เรียกว่า Pseudomycelium
  • 33. การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวตในอาณาจักรฟังไจ ิ 1. Fragmentation เกิดจากเส้นใยหักเป็นส่วน ๆแต่ละส่วนเรียก oidia สามารถเจริญเป็นเส้นใยใหม่ได้ 2. Budding การแตกหน่อ เป็นการที่เซลล์แบ่งออกเป็นหน่อขนาดเล็กและนิวเคลียสของเซลล์แม่แบ่งออกเป็นสอง นิวเคลียส นิวเคลียสอันหนึงส่วนยีสต์ เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แต่อาจมีการต่อกันเป็นสาย เรียกว่า Pseudomycelium ่ จะเคลื่อนย้ายไปเป็นนิวเคลียสของหน่อ เมื่อหน่อเจริญเต็มที่จะคอดเว้าขาดจากกัน หน่อที่หลุดออกมาจะเจริญต่อไปได้ เรียกหน่อที่ได้นีว่า Blastosporeพบการสืบพันธุ์แบบนีในยีสต์ทั่วไป 3. Fission การแบ่งตัวออกเป็น 2 ส่วน แต่ละเซลล์จะคอดเว้าตรงกลางและหลุดออกจากกันเป็น 2 เซลล์พบในยีสต์ บางชนิดเท่านัน 4. การสร้างสปอร์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศทีพบมากที่สด สปอร์แต่ละชนิดจะมีชื่อและวิธีสร้างที่ ่ ุ แตกต่างกันไป 5. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีการผสมมกันระหว่างเซลล์สืบพันธุ์และมีการรวมตัวของนิวเคลียส การสืบพันธุ์แบบมีเพศในฟังไจแต่ละชนิดจะมีโครงสร้างที่เรียกว่า gametangium ทาหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และ เพศเมียที่เรียกว่า gamete เข้าผสมกัน
  • 34.
  • 35. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนีแบ่งเป็น 4 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) 2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota) 3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา (Phylum Basidiomycota) 4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (Phylum Deuteromycota)
  • 36. ไฟลัมไซโกไมโคตา (Phylum Zygomycota) ราที่มีวิวัฒนาการต่าสุด ลักษณะ 1. เซลล์เดี่ยวเจริญอยู่ในนา บนบก และซากพืชซากสัตว์ 2. เส้นใยชนิดไม่มีผนังกัน 3. ดารงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู้ย่อยสลาย (saprophyte) 4. การสืบพันธุ์ - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า sporangiospore - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ เรียกว่า zygospore ประโยชน์ 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล์ 2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก โทษ ทาให้เกิดโรคในพืชและสัตว์
  • 37. ไฟลัมแอสโคไมโคตา (Phylum Ascomycota) ลักษณะ 1. เซลล์เดียว ได้แก่ ยีสต์ นอกนันเป็นพวกมีเส้นใยมีผนังกันและเป็นราคล้ายถ้วย (cup fungi) 2. ดารงชีวิตบนบก 3. การสืบพันธุ์ - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า conidia ที่ปลายไฮฟา ส่วนยีสต์จะแตกหน่อ - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ ที่มีชื่อว่า ascospore อยู่ในถุงเรียกว่า ascus ประโยชน์ 1. Saccharomyces cerevisiae ใช้ผลิตแอลกอฮอล์ และมีโปรตีนสูง 2. Monascus sp. ใช้ผลิตข้าวแดงและเต้าหู้ยี โทษ เกิดโรคกับคนและสัตว์
  • 38. ไฟลัมเบสิดโิ อไมโคตา (Phylum Basidiomycota) ลักษณะ 1. เส้นใยมีผนังกันและรวมตัวอัดแน่นเป็นแท่งคล้ายลาต้น เช่น ดอกเห็ด 2. การสืบพันธุ์ - แบบไม่อาศัยเพศ สร้างสปอร์เรียกว่า codiospore ใน conidia - แบบอาศัยเพศ สร้างสปอร์ที่สร้างโดยอาศัยเพศสร้างบนอวัยวะคล้ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium) เรียกว่า แบสิดิโอสปอร์ (basidiospore) ประโยชน์ ใช้เป็นแหล่งอาหาร โทษ 1. ทาให้เกิดโรคในพืช เช่น ราสนิม ราเขม่า 2. เห็ดรา มีสารพิษเข้าทาลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร ตับ หัวใจ
  • 39. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา (Phylum Deuteromycota) ลักษณะ 1. เส้นใยมีผนังกัน 2. สืบพันธุไม่แบบอาศัยเพศเท่านัน โดยสร้างสปอร์ที่เรียกว่า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ่มนีว่า ์ Fungi Imperfecti 3. แต่หากเมื่อใดมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะไปอยู่ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes ประโยชน์ 1. Penicillium chrysogernum ใช้ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน 2. Aspergillus wendtii ใช้ผลิตเต้าเจียว 3. A. oryzae ใช้ผลิตเหล้าสาเก โทษ 1. ทาให้เกิดโรคในพืช 2. สร้างสารพิษ ทาให้เกิดโรค 3. ทาให้เกิดโรคในคน เช่น กลาก เกลือน โรคเท้าเปื่อยหรือฮ่องกงฟุต
  • 41. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae) พืชทุกชนิดมีมีลักษณะสาคัญร่วมกันคือ มีเนือเยื่อ ตัวอ่อน ผนังเซลล์เป็นสารเซลลูโลส มีคลอโรพลาสต์ และมีวฏจักรชีวิตแบบสลับ(Alternation of generation) ซึ่งหมายความว่า มีระยะแกมีโทไฟต์ (gamrtophyte) ั สร้างเซลล์สือพันธุ์ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ สลับกับระยะสปอโรไฟต์ (Sporophyte) สร้างสปอร์เป็นการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศ
  • 42.
  • 43. ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช 1. มีคลอโรฟลลบรรจุอยูในเม็ดคลอโรพลาสตนอกจากนนยั ังมีรงควัตถอุ ื่นๆ อีกเชน คาโรดินอยด (Carotenoids) 2. ไมเคลื่อนที่จากที่หนึงไปยังอีกที่หนึงแตในบางระยะของวงชีวิตอาจมีแฟลกเจลลัมสาหรับเคลื่อนที่ได ่ ่ 3. เปนสิ่งมีชีวตพวกย ิ ูคาริโอติก (Eukaryotic cell) 4. ประกอบดวยเซลลหลายเซลลรวมกลมกุ ันเปนเนือเยอซื่ ึ่งมีการเปลี่ยนสภาพของเซลล ไปทาหนาทีเ่ ฉพาะ (Differentiation) 5. เซลลสืบพนธั ผสมกันไดไซโกตแลวจะตองเจริญผานระยะเอมบรโอิ แลวจึงจะเจริญเปนตนใหม (ตนสปอโรไฟต) ุ 6. มีวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of generation) หมายถึงวามีระยะของตนแกมีโตไฟต(Gemetophyte) ทาหนาทีสรางเซลลสืบพันธุผสมกันแบบอาศัยเพศ สลับกับระยะของตนสปอโรไฟต(Sporophyte) ่ สรางสปอรเปนการสืบพันธแบบไม ุ อาศัยเพศ 7. มีผนังเซลล (Cell wall) เปนสารเซลลูโลสและสารเพคติน (Cellulosse และ Pectic substance)
  • 44. วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบด้วยช่วงชีวิตที่เป็นส ปอโรไฟต์ (sporophyte generation) ทาหน้าที่สร้างสปอร์ (spore) สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์ (gametophyte generation) ทาหน้าที่สร้างแกมีต (gamete) ได้แก่ เซลล์สืบพันธุเ์ พศผูหรือสเปิร์ม (sperm) และ ้ เซลล์สืบพันธุเ์ พศเมียหรือไข่ (egg) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้เป็นเซลล์ใหม่คือ ไซโกต (zygote) อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืช ประกอบขึนด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่เป็นหมัน (sterile cell) ห่อหุ้ม อยู่รอบนอก การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอโรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ (embryo) ก่อน คุณสมบัติทัง 2 ประการ ดังกล่าวนีจะไม่พบในพวกสาหร่าย (algae) ภาพแสดงเซลล์พืช ภาพแสดงการเปรียบเทียบเซลล์พืช และเซลล์สัตว์
  • 45. วงชีวิตแบบสลับ พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป ในขณะที่แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็น ด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม แกมีโทไฟต์ประกอบขึนด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (n) จานวนมากทาหน้าทีสร้างแกมีต ่ สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึนด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์ (2n) ทาหน้าที่สร้างสปอร์จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (sporangium)สปอร์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮ พลอยด์ (n)จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (n) ที่ทาหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่ การปฏิสนธิ (fertilization) คือ การรวมตัวกันของสเปิร์ม (n) และไข่ (n) จะทาให้ได้เซลล์ใหม่ทเี่ ป็นดิพลอยด์ (2n) คือ ไซโกตเกิดขึนมา และต่อจากนันไซโกตจะแบ่งเซลล์ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไปเป็นสปอร์โรไฟต์ ดังนันจึงกล่าวได้ว่า ไซโกตคือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์ และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้นของช่วงแกมีโทไฟต์ ในพืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ดส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว (homospore) ซึ่ง สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัว และเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทาหน้าที่สร้างทังสเปิร์มและไข่บนต้นเดียวกัน แต่สาหรับพืชที่มีการสร้างเมล็ดแล้ว ทุกชนิด จะสร้างสปอร์เป็น 2 ชนิด (heterospore) ได้แก่ ไมโครสปอร์ (microspore) และ เมกะสปอร์ (megaspore) ไมโครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือแกมีโทไฟต์ เพศผู้ (male gametophyte) ทาหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์ จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเมกะแกมีโทไฟต์ (megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) ทาหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป
  • 46. สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนีแบ่งเป็น 9 ดิวิชัน คือ 1. ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta) 2. ดิวิชันไซโลไฟตา (Division Psilophyta) 3. ดิวิชันไลโคไฟตา(Division Lycophyta) 4. ดิวิชันสฟีโนไฟตา (Division Sphenophyta) 5. ดิวิชันเทอโรไฟตา (Division Pterophyta) 6. ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา (Division Coniferophyta) 7. ดิวิชันไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta) 8. ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division Ginkophyta) 9. ดิวิชันอแนโทไฟตา (Division Anthophyta)
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58. พืชใบเลียงคู่ พืชใบเลียงเดี่ยว 1. มีใบเลียง 2 ใบ 1. มีใบเลียง 1 ใบ 2. เส้นใบเป็นแบบร่างแห 2. เส้นใบเรียงแบบขนาน 3. ใบเลียงชูเหนือพืนดิน 3. ใบเลียงไม่ชูเหนือพืนดิน 4. ระบบรากแก้ว 4. ระบบรากฝอย 5. ระบบท่อลาเลียงเป็นวงรอบข้อ 5. ระบบท่อลาเลียงกระจัดกระจาย 6. กลีบเลียง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 4-5 6. กลีบเลียง กลีบดอกเกสรตัวผู้ 3 7. รากจะมีท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงอาหาร 4 7. รากจะมีท่อลาเลียงนาและท่อลาเลียงอาหาร แฉก มากกว่า 4 แฉก 8. มี Cambium และมีการเจริญทางด้านข้าง 8. ไม่มี Cambium และไม่มีการเจริญทางด้านข้าง ลักษณะสาคัญ 1. เป็นพวก Eukaryotic cell 2. สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ 3. ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ 4. มีหลายเซลล์ เซลล์รวมกันเป็นเนือเยื่อ 5. มีวงชีวิตแบบสลับ(Alternation of generation)
  • 59.
  • 61. ลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสมีผนังห่อหุ้ม ประกอบด้วย หลายเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละเซลล์ เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่างแบบถาวร ไม่มีคลอโรฟิลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีวิตได้หลายลักษณะทังบนบก ในนา และบางชนิดเป็นปรสิต อาณาจักรนีได้แก่สัตว์ทุกชนิด ตังแต่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ที่มีกระดูก สันหลัง ได้แก่ พยาธิใบไม้ กบ ลิง กระต่าย ดาวทะเล แมงดาทะเล พลานาเรีย หอย2ฝา แมลงสาบ
  • 62.
  • 63. 1. เซลล์แบบยูคาริโอต (eukaryotic cell) คือเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมีออร์แกนเนลล์ต่างๆ กระจายอยู่ 2. ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ชนิดที่ไม่มีผนังเซลล์ เรียกว่าเซลล์สัตว์ ทาให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุมและ ่ แตกต่างไปจากเซลล์พืช เซลล์เหล่านีจะมารวมกันเป็นเนือเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพบว่าเซลล์ในเนือเยื่อมัก มีขนาดและรูปร่างเหมือนกัน มีการประสานการทางานระหว่างกัน สัตว์ชันสูงมีเนือเยื่อหลายชนิดสามารถจาแนก ตามหน้าที่และตาแหน่งที่อยู่ของร่างกายเป็น 5 ประเภท คือ เนือเยื่อบุผิว(epithelial tissue) เนือเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) เนือเยื่อกล้ามเนือ(muscular tissue) เนือเยื่อลาเลียง (vascular tissue) และเนือเยื่อ ประสาท (nervous tissue) 3. สร้างอาหารเองไม่ได้ เพราะไม่มีคลอโรฟิลล์ ดังนันการดารงชีวิตจึงต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร ซึ่งอาจเป็นพืชหรือสัตว์ด้วยกัน การดารงชีวิตจึงมักเป็นแบบผู้ล่าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ 4. โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว่าเมื่อเป็นตัวเต็มวัยแล้วเกาะอยู่กบที่ ั 5. โดยส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิงเร้าได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับ ่ ความรู้สึกและตอบสนอง เช่น การกินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ เป็นต้น 6. ร่างกายสัตว์ต้องมีการกาจัดของเสียที่เกิดจากการเมตาบอลิซึมของเซลล์ ( ได้เเก่ คาร์บอนไดออกไซด์ เเละของเสียไนโตรเจน ) ออกจากร่างกาย สัตว์ขนาดใหญ่จะมีระบบทาหน้าที่เฉพาะ
  • 64. กลุ่มที่ไม่มีเนือเยื่อที่แท้จริง Phylum Porifera ได้แก่ ฟองนาต่างๆ ลักษณะสาคัญ 1. เป็นสัตว์หลายเซลล์ มีรูปร่างเป็นก้อนหรือคล้ายแจกัน มีรูพรุน(ostia) ทั่วตัว เป็นทางผ่านเข้าของนา และ อาหาร ช่องใหญ่ด้านบน (osculum) เป็นทางผ่านออก (แต่ยังไม่มีการเรียงตัวของเซลล์เป็นเนือเยื่อ) 2. มีสมมาตรแบบรัศมี หรือบางชนิดไม่มีสมมาตร 3. ตัวอ่อนเคลื่อนที่ได้ วิธีกินอาหารเหมือนสัตว์มากกว่าพืช 4. มีโครงสร้างภายในเรียกว่า spicule (เทียบได้กับโครงกระดูกมนุษย์)
  • 65. 5. มีเซลล์ลักษณะเป็นปลอก มีแฟลกเจลลัม เรียกว่า collar cell ทาหน้าที่พัดโบกนาและกรองสารอาหาร ฟองนาแบ่งออกเป็น 3ประเภท (โดยใช้ลักษณะของ spicule เป็นเกณฑ์ ) 5.1 มีโครงร่างเป็นสารพวกหินปูน เช่น ฟองนาหินปูน 5.2 มีโครงร่างเป็นพวกซิลิกา (แก้วหรือทราย) เช่น ฟองนาแก้ว 5.3 มีโครงร่างเป็นโปรตีนอ่อนนิ่ม เรียกว่า sponging เช่น ฟองนาถูตัว 6. สืบพันธุแบบไม่อาศัยเพศโดยวิธีการแตกหน่อ ์ 7. แบบอาศัยเพศก็ได้ ฟองนาถูตัว ฟองนาแก้ว ความสาคัญ 1. ลักษณะเป็นโพรงภายในลาตัวเป็นที่อยู่ของพวกสัตว์นาตัวเล็กๆ ตัวอ่อนของสัตว์นา 2. ปลูกไว้ขายเพื่อนาไปขัดพืน ,ทาแปรงทาสี,ถูตัว,ทายาปฏิชีวนะ
  • 66. กลุ่มที่มีเนือเยื่อที่แท้จริง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะสมมาตร คือกลุ่มที่มีสมมาตรแบบรัศมีและกลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง ก. กลุ่มที่มีสมมาตรแบบรัศมี Phylum Coelenterata (Phylum Cnidaria) ได้แก่ ซีแอนีโมนี (ดอกไม้ทะเล) ปะการัง กัลปังหา แมงกะพรุน ไฮดรา ลักษณะสาคัญ 1. มีเนือเยือ 2 ชัน 2. พวกที่มีเดือย หนาม หรือเข็มเล็กๆเอาไว้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ เรียกว่า nematocyst ซึ่งอยู่ในเซลล์ถุงเก็บ เข็มพิษที่หนวด(tentacle) 3. มีช่องว่างกลางลาตัวเรียกว่า Gastrovascular cavity ซึ่งเปรียบเสมือนทางเดินอาหารและระบบหมุนเวียน 4. มีรูปร่าง 2 แบบ คือ polyp (ทรงกระบอก) และ mrdusa (คล้ายร่มหรือระฆังคว่า) 5. สมมาตรแบบรัศมี 6. มีการสืบพันธุ์แบบสลับ (ได้ทังแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ) 7. ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
  • 67. ความสาคัญ 1. แนวหินปะการับเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นา 2. นามาผลิตอาหาร 3. ทาเครื่องประดับ 4. นามาใช้ทางการแพทย์ ปะการัง ปะการัง กัลปังหา แมงกะพรุน
  • 68. ข. กลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง กลุ่มที่มีสมมาตรแบบด้านข้าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือกลุ่มโพรโทสโทเมียร์และกลุ่มดิวเทอโรสโทเมียร์ 1. กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือกลุ่มที่มีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์และกลุ่มที่มีตัวอ่อนแบบ ลอกคราบ กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ ที่มีตัวอ่อนแบบโทรโคฟอร์ Phylum Platyhelminthes ได้แก่ หนอนตัวแบนต่างๆ เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้ พลานาเรีย
  • 69. ลักษณะสาคัญ 1. ลาตัวแบนยาว ไม่มีช่องว่างในร่างกาย 2. มีเนือเยื่อ 3 ชันเป็นพวกแรก 3. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก 4. ระบบทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ ยกเว้น ตัวตืด ไม่มีทังปากและทวารหนัก 5. ทีผิวลาตัวมีชันขีผึง (cuticle ) หนา ป้องการอันตรายจากนาย่อย(เฉพาะพวกที่เป็นปรสิต) ่ มีอวัยวะยึดติดกับผู้ถูกอาศัย เรียกว่า hook และมีอวัยวะดูดอาหารเรียกว่า sucker 6. มี 2 เพศในตัวเดียวกัน 7. ไม่มีระบบเลือด พานาเรีย พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้
  • 70. Phylum Mollusca ได้แก่ หอยโข่ง หอยทาก หอยนางรม ลิ่นทะเล เพรียงเจาะไม้ (เพรียงเรือ) หอยงวงช้าง หมึก ลักษณะสาคัญ 1. ลาตัวนิ่ม ไม่แบ่งเป็นปล่อง มีเยื่อบางๆเรียกว่าแมนเทิล หุ้มตัวทาหน้าที่สร้างเปลือกหุ้ม 2. เปลือกอาจมีหรือไม่มีก็ได้ 3. มีเนือเยื่อ 3 ชัน 4. สมมาตรแบบครึ่งซีก หอย 5. มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ 6. หายใจด้วยเหงือก ยกเว้น ทาก และทากดูดเลือดหายใจด้วยปอด 7. ระบบหมุนเวียนเป็นแบบวงจรเปิด 8. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง เพศแยก ลิ่มทะเล หมึก เพรียงเจาะไม้ (เพรียงเรือ)
  • 71. Phylum Annelida ได้แก่ ไส้เดือนดิน ปลิงนาจืด ทากดูดเลือด(ปลิงบก) แม่เพรียง ปลิงดูดเลือด หนอนดอกไม้ ลักษณะสาคัญ 1. มีเนือเยื่อ 3 ชัน 2. ลาตัวกลมยาว เป็นปล้อง คล้ายวงแหวนต่อกัน(ภายในมีเยื่อกันระหว่างปล้อง) ผิวหนังเปียกชืน 3. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก 4. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง 5. มีระบบเลือดแบบวงจรปิด 6. มี 2 เพศในตัวเดียวกัน ปลิงดูดเลือด ไส้เดือนดิน แม่เพรียง หนอนดอกไม้
  • 72. กลุ่มโพรโทสโทเมียร์ ที่มีตัวอ่อนแบบลอกคราบ Phylum Nematoda ได้แก่ พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า พยาธิโรคเท้าช้าง ตัวจิ๊ด ไส้เดือนฝอย (หนอนใน นาส้มสายชู) ลักษณะสาคัญ 1. ลาตัวกลม ยาว ไม่มีปล้อง ไม่มระยางค์ ี 2. มีเนือเยื่อ 3 ชัน 3. สมมาตรแบบครึ่งซีก 4. มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์เป็นพวกแรก 5. มีช่องว่างเทียม 6. ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ไม่มีระบบหายใจ 7. เพศแยก 8. มีทังพวกปรสิตและพวกที่หาอิสระ พยาธิไส้เดือน โรคเท้าช้าง ตัวจี๊ด พยาธิแส้ม้า ไส้เดือนฝอย
  • 73. Phylum Arthropoda ได้แก่ แมลงต่างๆ มด กุ้ง ปู ไรนา เพรียงหิน แมงมุม แมงป่อง เห็บ แมงดาทะเล ตะขาบ กิงกือ ลักษณะสาคัญ 1. เป็นสัตว์ที่มีเนือเยื่อ 3 ชัน 2. มีสมมาตรแบบครึ่งซีก 3. ลาตัวเป็นปล้อง และรยางค์เป็นปล้อง 4. ลาตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อก ท้อง 5. ฃมีเปลือกแข็งหุ้มตัวเป็นสารพวกคิวติน 6. มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ 7. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง กุ้ง แบ่งเป็น 6 คลาส ปู เพรียงหิน โรน่า 1. class Crustacean มีส่วนหัว อก เชื่อมติกัน มีหนวด 2 คู่ ส่วนท้องเป็นปล้อง มีขาเดิน 5 คู่ และ ขาว่ายนาด้านล่างของส่วนท้อง หายใจด้วยเหงือก ได้แก่ กุ้ง กัง ปู ไรนา(ไรแดง) เพรียงหิน ตัว กะปิ จักจั่นทะเล
  • 74. 2. class Arachinida มีขา 4 คู่ ไม่มีหนวด ส่วนหัว-อกเชื่อมรวมกันกัน มีอยู่ทังบนบก และ ในนาเค็ม ได้แก่ แมงมุม แมงป่อง เห็บ บึง แมงมุม บึง แมงป่อง
  • 75. 3. class Merostoma เป็นพวกดารงชีวิตเป็นอิสระ บริเวณแหล่งนาตืน ในนากร่อยและนาเค็ม จะฝังตัวอยู่ในดินเลนหรือทราย ส่วนหัว-อกติดกัน มีกระดองโค้งเป็นแผ่นแข็งคลุมตัว มีส่วนคล้ายหางที่สวนท้ายของลาตัว มีขาเดือน 5 คู่ ไม่มีหนวด ปลายขาเดินคู่สุดท้าย ่ มีลักษณะเป็นแผ่นแบนซ้อนกันใช้ขุดทายเวลาจะฝังตัวในทราย ได้แก่ แมงดาทะเล ซึ่งมี 2 ชนิดในไทยคือ - แมงดาทะเลหางเหลี่ยม(แมงดาจาน) - แมงดาทะเลหางกลม (แมงดาถ้วย) แมงดาทะเล แมงดาทะเล
  • 76. 4. class Insecta เป็นสัตว์ที่มีมากที่สดในโลก ร่างกายแบ่งเป็น 3 ส่วน หัว อก ท้อง มีขา 3 คู่ ส่วนอก ุ มีหนวด 1 คู่ (มีปีกหรือไม่มีก็ได้) แมงปอ มด ผีเสือ ตักแตน
  • 77. 5. class Chilopoda มีส่วนหัวและลาตัวแบนยาวเป็นปล้องๆละ 15 – 18 ปล้อง แต่ละปล้องมีขา 1 คู่ (ยกเว่นปล้องสุดท้าย) มีหนวดยาวต่อเป็นข้อๆ 1 คู่ มีต่อมพิษ ได้แก่ พวกตะขาบ ตะเข็บ ตะขาบ ตะขาบ
  • 78. 6. class Diplopoda มีลาตัวกลมยาว แต่ละปล้องมีขาสันๆ 2 คู่ เคลื่อนที่ช้ากว่าตะขาบ มีหนวดสัน 1 คู่ เพศแยก ไม่มีต่อมพิษ ได้แก่ กิงกือ กิงกือ
  • 79. กลุ่มดิวเทอโรสโทเมียร์ Phylum Echinodermata ได้แก่ ดาวทะเล อีแปะทะเล (เหรียญทะเล) ปลองทะเล หอยเม่น (เม่นทะเล) ขนนกทะเล พลับพลึงทะเล ลักษณะสาคัญ 1. มีเนือเยื่อ 3 ชัน 2. ผิวลาตัวมีลักษณะเป็นหนามขรุขระ 3. มีสมมาตร 2 แบบ คือ ขณะเป็นเอมบริโอมีลักษณะบางใส ว่ายนาอย่างอิสระ มีสมมาตรแบบครึ่งซีก แต่เมื่อเป็น ตัวเต็มวัยไม่มีส่วนหัว ส่วนท้าย จะมีสมมาตรแบบรัศมี 4. มีระบบหมุนเวียนนาใช้ในการเคลื่อนที่ 5. มีช่องว่างในลาตัวที่แท้จริง เม่นทะเล 6. มีระบบทางเดินอาหารที่สมบูรณ์ 7. เพศแยก ปลิงทะเล ดาวทะเล
  • 80. Phylum Chordata เป็นสัตว์ที่มีโครงร่างเป็นแกนของร่างกาย ได้แก่ เพรียงหัวหอม แอมพิออกซัส ปลาปากกลม ปลากระดูก อ่อน ปลากระดูกแข็ง สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา สัตว์เลือยคลาน สัตว์ปีกและสัตว์เลียงลูกด้วยนานม ลักษณะสาคัญ 1. มีโนโตคอร์ดเป็นแกนของร่างกาย 2. มีช่องว่างที่แท้จริง 3. สมมาตรแบบครึ่งซีก 4. มีระบบหมุนเวียนเลือด 5. มีท่อประสาทกลวงที่ด้านหลัง 6. มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย 7. หาง พบได้ส่วนมากในไฟลัมนี สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาที่ไม่มีกระดูกสันหลัง
  • 81. 1. Urochordata ได้แก่ เพรียงหัวหอม เพรียงสาย เป็นสัตว์นาเค็ม ลาตัวใส มีเปลือกหุ้มอยู่ภายนอกประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส อาจลอยนาได้หรือว่ายนาได้ ช่องว่าง ในลาตัวไม่ชัดเจน มีโนโตคอร์ดเฉพาะที่เป็นตัวอ่อนเท่านัน เพรียงหัวหอม เพรียงหัวหอม 2. Cephalochordata ได้แก่ แอมพิออกซัส เป็นสัตว์ทะเลเล็กๆ ลักษณะตัวยาว หัวท้ายแหลมคล้าย ปลา มีโนโตคอร์ดยาวตลอดตัวและมีไขสันหลังตลอดชีวิต แอมฟิออกซัส แอมฟิออกซัส
  • 82. สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาที่มีกระดูกสันหลัง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร 1. ปลาปากกลม (class Cyclostomata ) ลาตัวยาวคล้ายปลาไหล ปากกลม ขอบบนของปากและปลายลินมี ฟันเล็กๆแหลมคมมากมาย ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีขากรรไกรไม่มีครีบคู่ (เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังประเภทเดียวที่ ยังมีโนโตคอร์ดเหลืออยุ่ขณะเป็นตัวเต็มวัย) ปลาปากกลม ปลาปากกลม
  • 83. สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร 2. ปลากระดูกอ่อน (class Chondricthyes) มีกระดูกอ่อน มีทังครีบคู่และครีบเดี่ยว ปากมักอยู่ลายสุดของ ร่างกาย มีเกล็ดเล็กคล้ายฟัน ผสมพันธุ์กันภายในร่างกาย ออกลูกเป็นตัว ได้แก่ ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลา กระต่าย ปลาฉนาก ปลาโรนัน ปลาฉลาม ปลากะเบน ปลาฉนาก
  • 84. 3. ปลากระดูกแข็ง(class Osteicthyes) มีช่องเหงือก มีแก้มปิดช่องเหงือก มีกระดูกแข็ง มีครีบเดียว ครีบ คู่ มีเกล็ดเรียงคล้ายกระเบือมุงหลังคา ผสมพันธุ์ภายนอกร่างกายเช่น ปลาดุก ปลาหมอ ปลาสวย ม้านา ปลาดุก ปลาทอง ม้า 4. สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา(class Amphibia) ผิวหนังเปียกชืน ไม่มีเกล็ด แต่มีต่อมเมือก มี 4 ขา เป็นสัตว์เลือกเย็น หายใจด้วยปอดหรือผิวหนัง ตัวอย่างเช่น จิงจกนา(ซาลามานเดอร์) กบ งูดิน เขียด อึ่งอ่าง อึงอ่าง คางคก ซาลามานเดอร์
  • 85. 5. สัตว์เลือยคลาน (class Reptilia) ผิวหนังแห้ง มีเกล็ดปกคลุมท่าวไป มีขา 2 คู่ (ยกเว้นงู) ผสมพันธุกันภายในร่างกาย ออกลูกเป็นไข่ ตัวอย่างเช่น งู ตะพาบ กิงก่า เต่า ตะกวด ์ เต่า งู จิงเหลน 6. นก(class Aves) ร่างกายปกคลุมด้วยขนที่เรียกว่าขนนก(feather) เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขา 2 คู่ (ขาหน้า เปลี่ยนไปเป็นปีก) ขาหลังมี 4 นิว หายใจด้วยปอด ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ตัวอย่างเช่น นก เป็ด ไก่ ห่าน หงส์ ห่าน นกแพนกวิน นกเอียง
  • 86. . สัตว์เลียงลูกด้วยนานม(class Mammalia) เป็นสัตว์เลือดอุ่น ตัวเมียมีต่อมนานม ไว้เลียงลูกอ่อน ร่างกายมีขน (hair) ปกคลุม มีขา 2 คู่ (นิวข้างละ 5 นิว) ลูกอ่อนเจริญภายในตัวแม่ ไข่มีขนาดเล็ก ไม่มีเปลือกหุ้ม มีสายสะดือกับ รกติดต่อกับผนังมดลูก เพื่อรับอากาศและอาหารจากแม่ ตัวอย่างเช่น จิงโจ้ ตุ่นปากเป็ด ตัวกินมด ค้างคาว สุนัข แมว ปลาโลมา ปลาวาฬ ปัจจุบันแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆดังนี 7.1 กลุ่มมอโนทรีม(Monotremes) เช่น ตุ่นปากเป็ด และตัวกินมดมีหนาม เป็นสัตว์เลียงลูกด้วยนานมที่มี ลักษณะโบราณ ตัวออกลูกเป็นไข่ แต่มีขนและต่อมนานม ตัวอ่อนฝักออกจากไข่แล้วจะเลียนานมบริเวณหน้า ท้องของแม่กิน ตุ่นปากเป็ด ตัวกินมดมีหนาม
  • 87. 7.2 กลุ่มมาร์ซูเพียล(Marsupials) เช่น โอพอสซัม จิงโจ้และโคอาลา สัตว์กลุ่มนีจะตังท้องในระยะเวลาที่สัน มาก ทาให้ลูกอ่อนที่คลอดออกมามีขนาดเล็กและจะคลานเข้าไปในถุงหน้าท้องของแม่ซึ่งภายในจะมีต่อมนานมที่มี หัวนมสาหรับเลียงลูกอ่อน ลูกจะอยู่ในถุงหน้าท้องจนกว่าจะเจริญเติบโตเต็มที่จึงจะออกจากถุงหน้าท้องของแม่ โคอาลา โอพอสซัม จิงโจ้
  • 89. The End. จัดทาโดย นางสาวณัชนันท์ จินาติ เลขที่ 1 นางสาวเจนจิรา ปันวารี เลขที่ 21 นางสาวศิริพรรณ วงค์ฐาน เลขที่ 23 ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 5/6