SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ประเพณีของจีน : ความเชื่อและพิธีกรรมเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง)

                                                                    นางสาวคุณากร หนูนนท์ 5224610377
                                                                                     ั



          ประเทศจีนเป็ นประเทศที่มีประวัติศาสตร์และอารยธรรมยาวนานหลานพันปี จึงเป็ นธรรมดาที่เป็ น
แหล่งกําเนิดเทศกาลสําคัญมากมาย เทศกาลของชาวจีนที่เราคุ้นเคยกันดี ได้ แก่ เทศกาลตรุษจีน เทศกาล
ขนมจ้ าง เทศกาลเชงเม้ ง เทศกาลหยวนเซียว เทศกาลตวนอู่ เป็ นต้ น ซึ่งยังไม่ได้ รวมไปถึงเทศกาลของชน
เผ่าพื น เมืองอื่นที่ ก ระจายอยู่ทั่วประเทศจี น องค์ป ระกอบของเทศกาลสําคัญ ต่างๆของชาวจีน ก็ คงจะ
       ้
เช่นเดียวกับเทศกาลทัวไปของชนชาติภาษา คือประกอบไปด้ วย ตํานานเรื่องเล่า ความเป็ นมาของเทศกาล
                    ่
กิจกรรมพิเศษๆของคราวสมัยที่จดกิจกรรมและผู้คนที่ร่วมกิจกรรม เนื่องจากชาวจีนถือว่าเป็ นชนชาติกลุ่ม
                            ั
ใหญ่ มีกลุมคนที่นอกจากตังถิ่นฐานในประเทศมาตุภมิแล้ วยังกระจัดกระจายตังหลักแหล่งอยู่ทวโลก
          ่             ้                    ู                       ้              ั่

          ความเป็ นมา/ ความสาคัญของเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง)

          ในสมัยโบราณของจีนนัน จะมีก ารประกอบพิธีการเซ่น ไหว้ บรรพบุรุษ กันที่สสานรวมหรื อสุสาน
                             ้                                                 ุ
ประจําตระกูล เพื่อเป็ นการแสดงถึงเจตนารมณ์ และความกตัญํูต่อบรรพบุรุษ โดยมีอิทธิพลมาจากลัทธิ
ขงจื๊อ ที่เน้ นเรื่องความกตัญํูเป็ นสําคัญ

          ประเพณี ที่ สํ า คัญ มากที่ สุด ของของชาวจี น คื อ ไหว้ บ รรพบุรุ ษ ที่ สุส าน (ฮวงซุ้ ย หรื อ ฮวง
จุ้ย ) เทศกาล “ เชงเม้ ง ” เป็ นเทศกาลประจําปี ในการบูชาและแสดงความกตัญํูตอบรรพบุรุษที่ลวงลับไป
                                                                          ่             ่
แล้ วของชาวจีน ก่อนวันพิธีจะมีการทําความสะอาดหลุมฝั งศพของบรรพบุรุษ หลังจากนันในวันพิธีจะมี
                                                                             ้
การเซ่นไหว้ อาหารหวานคาว ที่หลุมฝั งศพ เพื่อเป็ นการ รําลึกถึงคุณงามความดีของบรรพบุรุษ และเป็ นการ
ส่งอาหารให้ ทกปี เพื่อมิให้ อดอยาก เมื่อไปอยู่อีกภพหนึ่ง คนจีนส่วนใหญ่ จะหยุดงานมาร่วมพิธีกัน พร้ อม
             ุ
หน้ าพร้ อมตา หรือถือว่าเป็ นวันพบญาติของคนจีนก็วาได้ 1
                                                 ่




1
    มอลเทจ คัลเชอร์ . ประตูส่ ูวัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ สุขภาพใจ บริ ษัท ตถาตา พับลิเคชั่น
จํากัด, 2551.
การบูชาบรรพบุรุษ (Ance stor Worship) และการไว้ ทุกข์ (Mourning) ถือเป็ นพิธีกรรมที่สําคัญ
ที่สดพิธีกรรมหนึ่งของชาวจีน และปฏิบัติกันแพร่หลายสืบมาหลายพันปี จวบจนทุกวันนี ้ แม้ ว่าการไว้ ทุกข์
    ุ
และการบูชาบรรพบุรุษจะเป็ นความเชื่ อดังเดิมของชาวจีน แต่ก็ ได้ รับการส่งเสริ มสนับสนุนจากปรัชญา
                                      ้
ขงจื ้อ เพราะขงจื ้อถือว่าเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามในการปลูกฝั งความกตัญํูกตเวทีแก่ชนรุ่น
หลัง เป็ นโอกาสที่พี่น้องลูก หลานจะมาพบปะกัน และประเพณี ก็เ ป็ นเครื่ องร้ อยรัดผู้คนในสังคมเข้ าไว้
ด้ วยกัน ขงจื ้อจึงมองเทศกาล “ เชงเม้ ง ” ในแง่ของจริยธรรมทางสังคม มากกว่าในแง่อภิปรัชญาเรื่ องชีวิ ต
หลังความตาย

          ซึ่งคํา ว่า ชิงหมิ ง (qing-ming, อัก ษรจี น ตัวเต็ม : 清明節, อัก ษรจี น ตัวย่ อ : 清明节, พิ น
อิน: Qīngmíngjié) หรือ เช็งเม้ ง, เชงเม้ ง (ตามสําเนียงแต้ จิ๋ว) “เช็ง” หมายถึง สะอาด บริ สทธิ์ และ “เม้ ง”
                                                                                           ุ
หมายถึง สว่าง รวมแล้ วหมายความถึง ช่วงเวลาแห่งความแจ่มใสรื่นรมย์2

ตานานการเกิดเชงเม้ ง

          ในยุคชุนชิว องค์ชายฉงเอ่อแห่งแคว้ นจิ ้นหนีภยออกนอกแคว้ น ไปมีชีวิตตกระกําลําบากนอกเมือง
                                                      ั
โดยมี เจี ้ยจื่อทุย ติดตามไปดูแลรับใช้

          เจี ้ยจื่อทุย เป็ นคนที่ มีจิตใจเมตตาถึงขนาดเชือดเนือที่ขาของตนเป็ นอาหารให้ องค์ชายเสวยเพื่อ
                                                              ้
ประทังชีวิต ภายหลังเมื่อองค์ชายฉงเอ่อเสด็จกลับเข้ าแคว้ นและได้ รับการสถาปนาขึ ้นเป็ นเจ้ าผู้ครองแคว้ น
นาม จินเหวินกง และได้ สถาปนาตอบแทนขุนนางทุกคนที่เคยให้ ความช่วยเหลือตน แต่ลืมเจียจื่อทุยไป
      ้                                                                         ้
นานวันเข้ าจึงมีคนเตือนถึงบุญคุณเจี ้ยจื่อทุย จิ ้นเหวินกงเพิ่งนึกขึ ้นไป จึงต้ องการตอบแทนบุญคุ ณเจียจื่อ
                                                                                                     ้
ทุย โดยจัดหาบ้ านให้ เขาและมารดาให้ เข้ ามาอยู่อย่างสุขสบายในเมือง แต่ทว่าเจี ้ยจื่อทุยปฏิเสธ




2
    วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . เทศกาลเช็งเม้ ง. (ระบบออนไลน์ ) แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/เทศ
กาลเช็งเม้ ง (23 เมษายน 2554 )
จิ ้นเหวินกงได้ คิดแผนเผาภูเขา โดยหวังว่าเจียจื่อทุยจะพามารดาออกมาจากบ้ าน แต่ผลสุดท้ าย
                                                     ้
กลับไม่เป็ นไปอย่างที่คิด สองแม่ลกกลับต้ องเสียชีวิตในกองเพลิง ดังนัน เพื่อเป็ นการรําลึกถึงเจี ้ยจื่อทุย จิน
                                 ู                                  ้                                       ้
เหวินกงจึงมีคําสังให้ วนนี ้ของทุกปี ห้ ามไม่ให้ มีการก่อไฟ และให้ รับประทานแต่อาหารสด ๆ และเย็น ๆ จน
                 ่ ั
กลายเป็ นที่มาของเทศกาลวันกินอาหารเย็น หรือ เทศกาลหันสือเจี๋ย (寒食节) ซึ่งเป็ นวันสุกดิบก่อน
วันเช็งเม้ ง 1 วัน3

         ดันนันคนโบราณจึงนิยมถือปฏิบติกิจกรรมตามประเพณีวนหันสือเจี๋ยต่อเนื่องไปจนถึงวันเช็งเม้ ง
              ้                     ั                   ั
นานวันเข้ าเทศกาลทังสองก็รวมเป็ นวันเช็งเม้ งวันเดียว การไหว้ เจียจื่อทุยจึงค่อย ๆ เปลี่ยนมาเป็ นการไป
                   ้                                             ้
เซ่นไหว้ บรรพบุรุษแทน

         จุดกาเนิดของเทศกาลเช็งเม้ ง

         วันเทศกาลและประเพณีตางๆของชาวจี นก็เหมือนกับเทศกาลของอีกหลายๆประเทศทั่วโลกที่ว่า
                             ่
เทศกาลส่วนใหญ่มกมีจดกําเนิดมาจากความเชื่อ, นิยายหรื อเรื่ องเล่าที่มีความสอดคล้ อง หรื อสัมพันธ์อยู่
               ั ุ
แทบจะทุกเทศกาลเลยทีเดียว ในตํานานเรื่องเล่าเหล่านันมักจะแฝงไปด้ วยความเชื่อและวัฒนธรรมต่างๆที่
                                                  ้
มีอยู่ในช่วงนัน ตังแต่โบราณกาลประเทศจีนจะมีปฏิทินที่นิยมใช้ กนมากอยู่ 2 ชนิด คือ
              ้ ้                                            ั

     1. ปฏิทนจันทรคติ ถือเอาการโคจรของดวงจันทร์เป็ นตัวกําหนด ปฏิทินจันทรคตินี ้เกิดขึ ้นพร้ อมๆกัน
            ิ
         กับการทําผลิตผลทางด้ านเกษตร ดังนันจึงเปรียบได้ วา ปฏิทินจันทรคติเป็ นปฏิทินเกษตร (หนงลี่)
                                           ้              ่
         ปฏิทินชนิดนีเ้ ริ่มใช้ ตงแต่สมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงปั จจุบน
                                 ั้                              ั

         ปฏิทินจัน ทรคตินี เ้ ป็ นปฏิทินที่เกิ ดจากการผสมผสานกันของปฏิทินจัน ทรคติและปฏิทิ นสุริยคติ
กล่าวคือ ถือเอาการหมุนรอบตัวเองของดวงจันทร์ 1 รอบเป็ น 1 เดือน และ1 ปี แบ่งออกเป็ น 12 เดือน ถ้ า
คิดเป็ นวันก็จะมี 365 วัน ในกรณีที่ปีไหนมีเดือนอธิกมาส ปี นันก็จะเพิ่มเป็ น 13 เดือน และมี 384 วัน ใน
                                                            ้
สมัยโบราณประเทศจีนแบ่งออกเป็ น 24 ฤดูกาล ฤดูกาลเหล่านี ้จะเกี่ยวข้ องกับการผลิตทางด้ านการเกษตร
โดยตรง ซึ่งประชาชนชาวจีนได้ ใช้ ปฏิทินนี ้มาหลายพันปี มาแล้ ว


3
    จิ รวรรณ จิ รัน ธร. เชงเม้ ง – ประเพณี ท่ ีลู ก หลานชาวจีนควรรู้ . (ระบบออนไลน์ ) แหล่งที่ ม า
http://www.jiewfudao.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839064&Ntype=20                          (    9
กรกฎาคม 2551)
2. ปฏิทนสุริยคติ ถือเอาการโคจรของดวงอาทิตย์เป็ นตัวกําหนด ซึ่งกําหนดเป็ น 4 ฤดู ใน 1 ปี จะแบ่ง
             ิ
         ออกเป็ น 12 เดือนเช่นเดียวกับปฏิทินจันทรคติ ในทุกๆ 4 ปี จะมีอธิกมาสเพิ่มขึ ้น 1 วันในเดือน
         กุมภาพันธ์ ซึ่งจะคิดเป็ นวันได้ 366 วัน การคํานวณเวลาชนิดนีใ้ นแต่ละปี จะมีความแตกต่างกัน
         ค่อนข้ างน้ อย ปฏิทินแบบนี ้ได้ รับความนิยมไปในประเทศต่างๆทัวโลก และในปั จจุบนประเทศจีนก็
                                                                     ่                ั
         ใช้ ปฏิทินชนิดนี ้

         ใน 24 ฤดูกาลของประเทศจีนนันจะถือเอา ฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ ร่วง และฤดูหนาวที่เกิดขึ ้น
                                   ้
ครบถ้ วนถือว่าเอาว่าเป็ นรอบระยะหนึ่ง วันต่างๆในปฏิทินสุริยคติของแต่ละปี จึงแน่นอน โดยพื ้นฐานแล้ วใน
แต่ละปี จะแตกต่างกันก็ไม่มากอย่างน้ อยที่สดก็เพียง 1 วันเท่านัน แต่ในปฏิทินจันทรคติวนของฤดูกาลนัน
                                          ุ                   ้                     ั           ้
กลับไม่คอยแน่นอน กล่าวคือ ระยะเวลาของแต่ละปี จะแตกต่างกันหลายๆวัน ซึ่ง 24 ฤดูกาลเหล่านีเ้ กิดขึ ้น
        ่
ในหมูชาวจีนในเขตตอนกลางและตอนปลายของลุมนํ ้าหวงเหอ หรือแม่นํ ้าเหลืองก่อนในช่วงแรกๆ จากนัน
     ่                                ่                                                  ้
จึงค่อยพัฒนาและขยายวงออกไปอย่างกว้ างขวางในที่ตางๆทัวประเทศ 4
                                               ่ ่

         จากข้ างต้ นจะพบว่าเทศกาลเช็งเม้ ง จะตรงกับวันที่ 4 ของเดือนเมษายนในปฏิทินจีน ซึ่งถือว่าเป็ น
เทศกาลแห่งความแจ่มใสและสว่าง มีการจัดฉลองในประเทศจีนมาหลายพันปี แล้ ว แม้ ว่าวันนี จะเป็ นวันที่
                                                                                   ้
แสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ไปแล้ ว แต่ก็ยังเป็ นวัน เกี่ยวกับชีวิตและครอบครัวด้ วย เช็ งเม้ ง
เริ่มต้ นขึ ้นในฤดูใบไม้ ผลิ ซึ่งเป็ นช่วงที่อากาศแจ่มใสและสว่าง (เป็ นที่มาสําหรับชื่อเทศกาลนี )้ เวลานีเ้ ป็ น
ช่วงที่มีผกหญ้ ากําลังขึ ้น และมีเทศกาลฉลองพระเจ้ าเสด็จกลับคืนชีวิต
          ั

         ดังนัน จุดกําเนิดของเทศกาลต่างๆก็เปรียบเสมือนความเชื่อที่มีความเชื่อผลต่อวิถีชีวิตของชาวจีน
              ้
เมื่อเป็ นเช่นนีแล้ วก็จ ะทําให้ เราได้ ทราบถึงแหล่งที่มา ความเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาของเทศกาลที่
                ้
สําคัญๆ สิ่งเหล่านี ้มีผลต่อความเข้ าใจอันดีของชนชาติไทยและชนชาติจีน เพราะวัฒนธรรมบางอย่างนันมี
                                                                                            ้
ส่วนคล้ ายคลึงกับชนชาติไทยเช่นนัน
                                ้




4
    วันทิพย์ สินสูงสุด. จีน เทศกาลและวันสาคัญ China Festivals. กรุงเทพฯ: สยามมิตรการพิมพ์, 2549.
พิธีกรรมเช็งเม้ ง




        การประกอบพิธีกรรมนี ้ ชาวจีนมีความเชื่อในเรื่อง พระภูมิเจ้ าที่ นรก สวรรค์ วิญญาณบรรพบุรุษ
ภูตผี วิญญาณเร่ร่อน การทํามาหากิน เคล็ด ชาติภพ เช่น ชาวจีนเชื่อว่าการนําสิ่งของไปเซ่นไหว้ ที่หลุมศพ
การพูนดินที่หลุม การโปรยกระดาษสีตาง ๆ เพราะเป็ นการแสดงออกถึงความกตัญํูร้ ูคณต่อบรรพบุรุษ ผู้
                                 ่                                          ุ
มีพระคุณ เป็ นการบอกเล่าแก่สงคมว่าตนยังคงระลึกถึงผู้มีพระคุณอยู่เสมอและการทํากงเต็ก ก็เนื่องจาก
                            ั
ชาวจีนเชื่อว่า คนที่ตายไปแล้ วไม่ได้ ไปไหน ยังคงดําเนินชีวิตอยู่ในอีกโลกหนึ่ง และอาจจะต้ องการความ
ช่วยเหลือจากมนุษย์เหมือนกับที่มนุษย์ต้องการความช่วยเหลือเช่นกัน

        อาหารที่ใช้ ในการประกอบพิธีมดงนี ้ คือ
                                    ี ั

            1. ไก่ต้ม ๑ ตัว

            2. หมูสามชัน ต้ ม ๑ ชิ ้น (โดยประมาณขนาด ๑/๒ ก.ก. ขึ ้นไป)
                       ้

            3. เส้ นบะหมี่สด

            4. ขนม ๓ อย่าง คือ เต่เหลี่ยว ข้ าวเหนียวกวน ขนมเต่า (ขนมกู้)

            5. ขนมถ้ วยฟู (ฮวดโก้ ย)

            6. สับปะรด ๒ ลูก (ใช้ ทงก้ านและหัวจุก)
                                   ั้

            7. นํ ้าชา

            8. ธูปเทียน, กระดาษเงิน, กระดาษทอง, ประทัด
การประกอบพิธีกรรม มีดงนี ้ คือ
                             ั

             1. นําอาหาร ขนม และผลไม้ ใส่ภาชนะเป็ น 2 ชุด (เล็ก- ใหญ่)

             2. ให้ นําไก่ต้ม, หมูต้มและเส้ นบะหมี่สดใส่ถาดเดียวกัน

             3. นําขนมแต่ละชนิดใส่จานแยกเป็ นแต่ละชนิด

             4. สับปะรดใส่จานละ 1 ลูก

             5. นํ ้าชาที่ละ 2 ถ้ วยชาเล็ก (ถ้ วยตะไล)

             6. อาหารชุดใหญ่ให้ วางไว้ หน้ าหลุมฝั งศพบรรพบุรุษ ชุดเล็กไว้ สําหรับเจ้ าที่

             7. จุดธูป-เทียนสําหรับบูชา (เทียน 2 เล่ม, ธูป 2 เล่ม ตังใช้ บชาบรรพบุรุษและเจ้ าที่)
                                                                    ้ ู

             8. เมื่อธูปหมดไปประมาณ 1/2 เล่ม ให้ เผากระดาษเงินให้ แก่บรรพบุรุษและเผากระดาษทอง
                  ที่เคารพแก่เจ้ าหน้ าที่

             9. ให้ เอากระดาษเงินวางบนหลุมฝั งศพของบรรพบุรุษ

             10. ให้ จดประทัดเป็ นอันเสร็จพิธีกรรม5
                      ุ




5
      นิ ท ร ร ศ ก า ร อ อ น ไ ล น์ .        เ ท ศ ก า ล เ ช็ ง เ ม็ ง .   ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/chengmeng/chengmeng.html (30                            มี . ค.
50)
ประเพณีปฏิบัติในวันเช็งเม้ ง




          1. การทาความสะอาด สุสาน (เซ้ าหมอ) ลงสีที่ปายชื่อให้ ดใหม่
                                                     ้          ู

          คนตายแล้ วลงสีเขียว หรือสีทองขลิบเขียว คนเป็ นลงสีแดง (ห้ ามถอนหญ้ า - อาจกระทบตําแหน่ง
ห้ าม เช่น ทิศอสูร ทิศแตกสลาย ทิศดาวเบญจภูติ) บ้ างก็ตกแต่งด้ วย กระดาษม้ วนสายรุ้ง (สุสานคนเป็ น -
แซกี - ใช้ สายรุ้ งสีแดง: สุสานคนตาย -ฮกกี - ใช้ ห ลากสีได้ ) ห้ ามปั กธง ลงบนหลังเต่า เท่ากับ ทิ่มแทง
หลุม และบางความเชื่อ ทําให้ หลังคาบ้ านของบรรพบุรุษรั่ว

          2. กราบไหว้ เจ้ าที่ เป็ นการให้ เกียรติ และขอบคุณที่ช่วยคุ้มครองดูแล

      1. เทียน 1 คู่ + ธูป 5 ดอก (อาจปั กลงบนฟั กได้ )

      2. ชา 5 ถ้ วย

      3. เหล้ า 5 ถ้ วย

      4. ของไหว้ ตาง ๆ เช่น ขนมอี๋ ผลไม้ 6
                  ่

      5. กระดาษเงิน กระดาษทอง




6
    ควรงดเนื ้อหมู - เพราะเคยมีปรากฏว่า เจ้ าที่เป็ นอิสลาม
3. กราบไหว้ ระลึกถึงพระคุณ ของพ่ อแม่ บรรพบุรุษ ตังเครื่องบูชาเซ่นไหว้ ดวงวิญญาณของ
                                                            ้
              ท่าน7

      1. ชา 3 ถ้ วย

      2. เหล้ า 3 ถ้ วย

      3. ของไหว้ ตาง ๆ เช่น ขนมอี๋ ผลไม้ 8
                  ่

      4. กระดาษเงิน กระดาษทอง ฯลฯ

      5. เทียน 1 คู่ + ธูป ตามจํานวนบรรพบุรุษ ท่านละ 1 ดอก

         ในการไหว้ ต้ องไหว้ เทพยาดาผืนดินก่อน เพราะถือว่าท่านเป็ นเทพเจ้ าที่ จากนันจึงไหว้ บรรพบุรุษ
                                                                                         ้
ต้ องไหว้ 3 รอบ ( เฉพาะบรรพบุรุษ ) รอจนไหว้ ครังที่ 3 แล้ ว จึงเผากระดาษเงินกระดาษทอง ส่วนธรรม
                                                     ้
เนียมการจุดประทัดเพื่อให้ เสียงดังช่วยขับไล่สิ่งไม่ดีและจะทําให้ ลกหลานยิ่งรํ่ารวยนัน ตามหลักวิชาฮวงจุ้ย
                                                                   ู                   ้
ถือว่า การจุดประทัดเป็ นการกระตุ้น ต้ องดูตําแหน่งที่ถูกต้ องจึงจะได้ โชคลาภ แต่หากผิดตําแหน่ง จะเกิด
ปั ญ หา ( ผู้ป ฏิบัติ ต้ องดูตํ าแหน่งจากวิช าดาว 9 ยุค และฤกษ์ ย าม ) ส่ว นธรรมเนี ย มโบราณของจี น
แผ่นดินใหญ่ ที่จะเอาหอยแครงลวกไปไหว้ ด้วย และจะช่วยกันกินหอยแครงตรงสุสาน และโปรยเปลือก
หอยที่เหลือไว้ บนเนินดิน มีความหมายถึง มีลกหลานมาก ถือว่าไม่ขดกับหลักวิชา สําหรับการขุดเอาดินมา
                                               ู                     ั
กลบบนหลังเต่า โดยเชื่ อว่า จะทํ า ให้ ก ารค้ า เพิ่ มพูน จะทํ าก็ ต่อเมื่อหลังเต่ามี รูแหว่งไป จึ งซ่อ มแซม
โดยเฉพาะการขุดดิน ถือเป็ นการกระทบธรณี และต้ องดูฤกษ์ 9




7
    ห้ ามวางของตรงแท่นหน้ า เจี๊ยะปี (ปายหิน ที่จารึกชื่อ บรรพบุรุษ) เพราะเป็ นที่เข้ าออกของ วิญญาณ
                                       ้
บรรพบุรุษ ไม่ใช่เก้ าอี ้นัง
                           ่
8
    ของไหว้ ตามความเชื่อประเพณีของแต่ละท้ องถิ่น ส่วนใหญ่เป็ น ขนมถ้ วยฟู - ฮวกก้ วย
9
    จุไรรัตน์ อารยะกิตติพงศ์. ครบเครื่องเรื่องจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน, 2543.
ดังนันการไปไหว้ บรรพบรุษ ครังแรกต้ องดูฤกษ์ ( ปี ต่อไปไม่ต้องดูฤกษ์ อีก ) โดยปกติแล้ วซินแสจะ
                ้                         ้
เป็ นผู้กําหนดฤกษ์ ให้ หากทิศด้ านหลังสุสาน เป็ นทิศห้ ามประจําปี ต้ องใช้ ฤกษ์ ปลอดภัยในการไหว้ และ
ไม่ได้ จํากัดว่าต้ องเป็ นช่วงเทศกาลเช็งเม้ งเท่านัน ซึ่งปั จจุบันมีปัญหาการจราจรคับคัง เพื่อหลีกหนีปัญหา
                                                   ้                                  ่
การจราจร สามารถไปไหว้ ในช่วงสารทตังโจ่ยแทนได้ นอกจากนี ้ในเทศกาลเช็งเม็งยังมีกิจกรรมปลูกต้ นไม้
มีกลอนโบราณจีนที่บรรยายทิวทัศน์วา ต้ นหลิวทัวเมืองออกใบสีเขียวอ่อนเหมือนหมอกสีเขียวเต็มท้ องฟา
                                        ่            ่                                                  ้
ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของช่วงเทศกาลเช็งเม็ง

         ค่ านิยมของชาวจีนในการปฏิบัตเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง)
                                     ิ

         วัฒนธรรมจีน โบราณส่วนใหญ่มาจากความเคยชินและชีวิตความเป็ นอยู่ จากการดํารงชีวิตใน
ครอบครัวของตน ยกตัวอย่างที่เห็นได้ ง่ายที่สดคือ ชาวจีนทุกครอบครัวมีการเซ่นไหว้ บรรพบุรุษ ไม่เพียงแต่
                                           ุ
วันตรุษหรือเทศกาลต่างๆที่เขาจะนําดอกไม้ เครื่ องหอมไปบูชา ปกติก็มีหิงบูชาเจ้ า มีปายวิญญาณบรรพ
                                                                    ้             ้
ชนไว้ บชา มีศาลบูชาบรรพชนและบุพการี ชาวต่างชาติไม่มีการบูชาเช่นนี ้ทังนี ้เพราะวัฒนธรรมจีนเน้ นหนัก
       ู                                                             ้
เรื่องความกตัญํูสืบทอดมาเป็ นความเคารพนับถือบรรพบุรุษ ในครอบครัวชาวจีน พ่อและพี่ชายมีสิทธิใน
การอบรมสังสอนลูกและน้ องอย่างเข้ มงวดกวดขันมากกว่าครอบครัวชาวต่างชาติ ทังนีมิได้ หมายความว่า
         ่                                                              ้ ้
ครอบครัวชาวจีนจะไม่รักบุตรหลานของตน แต่เป็ นเพราะวัฒนธรรมจีนสอนให้ ชาวจีนอบรมลูกหลานอย่าง
เข้ มงวดมาโดยตลอด

         ชาวจีนเชื่อว่าการที่ลกหลานจะเจริ ญรุ่งเรื องได้ ขึ ้นอยู่กับทําเล หรื อฮวงจุ้ยของบ้ านและตําแหน่ง
                              ู
ของหลุมศพ ชาวจีนไม่วาอดีตหรือปั จจุบนให้ ความสําคัญในเรื่องของความตายเท่ากับเรื่ องความเป็ น เขา
                    ่               ั
ให้ ความใส่ใจต่อเรื่องที่อยู่อาศัยโดยการปรึกษาผู้ที่มีความรู้ความชํานาญในเรื่ องของ ลมกับนํา (เฟิ ง-สุ่ย)
                                                                                           ้
พวกเขาจะพยายามไม่สร้ างหรือทําอะไรก็ตามที่เป็ นการแทรกแซงธรรมชาติและมีผลต่อฮวงจุ้ย ชาวจีนเชื่อ
ว่าคนเรานันสามารถอยู่ได้ เพราะธรรมชาติ ผู้เชี่ยวชาญในด้ านนี ้ซึ่งชาวจีนเรียกว่า ซินแสนี ้จะทําหน้ าที่เลือก
          ้
ดูสถานที่ที่เหมาะสมถูกโฉลกในการสร้ างบ้ าน หรือสร้ างหลุมฝั งศพ10




10
     ทานตะวัน. เทศกาลสาคัญของคนจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ C.A.D PUBLISHING, ม.ป.ป.
จะเห็นได้ วาเทศกาลเช็งเม้ งหรือเทศกาลชิงหมิง ที่เน้ นถึงความกตัญํูของชนชาวจีนนัน มีผ้ที่เห็นดี
                       ่                                                                   ้ ู
กับเทศกาลนี ้มากมายจนทําให้ สืบต่อกันมาได้ นบเป็ นพันๆปี จนปั จจุบน แม้ แต่คนจีนในประเทศไทยหรือคน
                                            ั                     ั
ไทยแท้ ยงพยายามสืบสานต่อวัฒนธรรมของเทศกาลนี ้ และความเชื่อในเรื่ องฮวงจุ้ย ก็เป็ นค่านิยมอย่าง
        ั
หนึ่งในเทศกาลเช็งเม้ งที่ทําให้ ผ้ คนเหล่านี ้หันมาปฏิบติ ตาม
                                   ู                   ั

            ความเชื่อของเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง) ในมิติต่างๆ

            ตามแนวความคิดเบืองต้ นของคนจีนสมัยโบราณ ซึ่งมีส่วนสร้ างสรรค์อารยธรรมแรกเริ่ มของจีน
                            ้
หลักความเชื่อของคนจีนในยุคแรกเริ่มของประวัติศาสตร์จีน ซึ่งได้ มีสวนแทรกเข้ ามาในลัทธิสําคัญๆ ของจีน
                                                                 ่
เช่น ลัทธิขงจื ้อ ลัทธิเต๋า เป็ นต้ น ในสมัยปั จจุบนคนจีนทั่วๆไปก็ยงยึดถือหลักความเชื่อเช่นนี ้อยู่
                                                   ั               ั

            หลัก ความเชื่อของคนจีน ในสมัยโบราณมีอยู่สามประการ ประการแรกก็คือการเคารพบูชา
บรรพบุรุษ การเคารพบูช าบรรพบุรุษเริ่ มต้ นแต่เมื่อใดนันไม่มีผ้ ใ ดทราบ เพราะแม้ แต่ประวัติศาสตร์ จี น
                                                      ้        ู
สมัยก่อนราชวงศ์โจว(Chou) ก็มีลกษณะเลือนรางเกี่ยวข้ องกับวีรบุรุษกึ่งเทพเจ้ าผู้ซึ่งได้ วางรากฐานอารย
                              ั
ธรรมจีนไว้ ให้ แก่ชาวจีนเป็ นครังแรก อย่างไรก็ตามการเคารพบูชาบรรพบุรุษเป็ นสิ่งที่ได้ ปฏิบัติกันมาตังแต่
                                ้                                                                   ้
สมัยแรกเริ่มนันแล้ ว เพราะปรากฏว่าคนจีนสมัยราชวงศ์ชาง (Shang) เคารพบูชาบรรพบุรุษของตน และ
              ้
กษัตริย์สมัยราชวงศ์โจวก็ปฏิบติเช่นเดียวกัน คนจีนเชื่อว่าวิญญาณของบรรพบุรุษของตนมีบทบาทสําคัญ
                            ั
ในการคุ้มครอง และอํานวยความผาสุกร่มเย็น ทังยังเชื่ออีกด้ วยว่า คนจีนต้ องจงรักภักดีและเคารพต่อผู้
                                          ้
อาวุธโสในครอบครัวเมื่อผู้อาวุธโสยังมีชีวิตอยู่ แม้ เมื่อผู้อาวุธโสถึงแก่กรรมไปแล้ วทั ศนะเช่นนีก็ยังคงรักษา
                                                                                               ้
ไว้ สืบไป

            ดังนันในความเชื่อประการแรกนีแสดงให้ เห็นทางด้ านสังคม กล่าวคือ การเคารพบูชาบรรพบุรุษ
                 ้                      ้
เป็ นการให้ ความสําคัญ กับความสัมพันธ์ ระหว่างกัน ในสังคมและความสัมพัน ธ์ ชิดใกล้ ระหว่างกัน ซึ่ง
เทศกาลนี ้จึงเป็ นสิ่งหนึ่งในการส่งเสริมการไปมาหาสูระหว่างกัน ทําให้ ความสัมพันธ์ระหว่างคนรัก และคน
                                                   ่
ในครอบครัวมีความแน่นแฟนกันยิ่งขึ ้น ดังประโยคที่ว่า “ทุกครังเมื่อใกล้ จะถึงเทศกาลใดๆ ลูกหลานที่อยู่
                      ้                                    ้
ห่างไกลสิ่งแรกที่พวกเขาตระหนักถึงก็คือคนที่รักในครอบครัว”

            ต่อจากการเคารพบูชาบรรพบุรุษ ซึ่งเป็ นความเชื่อประการแรกของคนจีนมีส่วนเชื่อมโยงกับ ความ
เชื่อประการที่สอง คือ การเชื่อถือวิญญาณ ตังแต่สมัยโบราณมา คนจีนมีความยึดมันในความเชื่อที่ว่า
                                          ้                               ่
วิญญาณมีอยู่ในทุกหนทุกแห่ง และวิญญาณมีอิทธิพลต่อทุกๆ สิ่ง คนจีนจึงต้ องรับใช้ รวมทังเอาใจด้ วยการ
                                                                                   ้
ทําพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณ และประกอบพิธี การต่างๆ เป็ นการแสดงความเคารพต่อวิญญาณ เพื่อให้
ได้ รั บ แต่สิ่ ง ที่ ดี แ ละได้ รั บ การคุ้ม ครอง ในสมัย ปั จ จุบั น การเคารพต่อ วิ ญ ญาณบรรพบุ รุ ษ ก็ ยั ง เป็ น
ส่วนประกอบที่สําคัญในระบบครอบครัวจีน โดยทัวๆ ไปคนจีนมักจุดธูปบูชาไว้ ที่ศาลเจ้ าเล็กๆ ตามสถานที่
                                          ่
ต่างๆ ทังนี ้ก็เพื่อแสดงความเคารพต่อดวงวิญญาณนันเอง
        ้                                      ่

          ความเชื่อประการที่สาม คือ ความเชื่อเรื่ องสวรรค์ สวรรค์ในความหมายของจีนแตกต่างกับ
สวรรค์ในความหมายของศาสนาอื่นๆ อาทิเช่น สวรรค์ของคริสต์ศาสนาที่พดถึงวิญญาณสูงสุดหรือพระเจ้ า
                                                               ู
ซึ่งคุ้มครองจักรวาล แต่สวรรค์ตามแนวความคิดของจีนนันหมายถึง ฟา หรื อเทียน คือเทพเจ้ าสูงสุดเหนือ
                                                  ้         ้
จักรวาลและมนุษย์ ชาวจีนเชื่อว่าในขันสุดท้ ายนันทุกสิ่งทังมวลของโลกแห่งวิญญาณและโลกแห่งมนุษย์มี
                                   ้          ้         ้
สวรรค์ควบคุมอยู่ พายุก็ดี นําท่วมก็ดี แผ่นดินไหวก็ดี และการเก็บเกี่ยวซึ่งไม่ได้ ผลดีก็ดี ล้ วนแล้ วแต่เป็ น
                            ้
สัญญาณแห่งความไม่พอใจของสวรรค์ ส่วนบรรลุความสําเร็จและความเจริ ญรุ่งเรื อง เป็ นสัญญาณแห่ง
การยอมรับและความพอใจของสวรรค์11

          จากความเชื่อเรื่ องวิญญาณและสวรรค์นี ้ แสดงให้ เ ห็นถึงทางด้ านวัฒนธรรมที่มีวิวัฒนาการมา
พร้ อมๆ กับประเทศจีน ในสมัยแห่งการทําสงครามต่อสู้กนระหว่างแคว้ นต่างๆ แนวความคิด จัดระเบียบให้
                                                  ั
เป็ นระบบที่เราได้ ทราบกันทุกวันนี ้ นักปราชญ์ ชาวจีนและศาสดาเป็ นจํานวนมากได้ พยายามที่จะแก้ ไข
ปั ญหาต่างๆ ของคนในสมัยนัน และด้ วยความพยายามนี ้เองยังผลให้ เกิดสํานักปรัชญาขึ ้นหลายสํานัก
                         ้

          ส่วนทางด้ านเศรษฐกิจ ในการที่จะจัดของไหว้ ในอดีตนันจะต้ องจัดของไหว้ ใ ห้ มีจํานวนชุดเท่ากับ
                                                            ้
จํานวนที่ ที่จะไปไหว้ ซึ่งจะเป็ นการฟุ่ มเฟื อย แต่ในปั จจุบนจึงมีการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับปั ญหาทาง
                                                            ั
เศรษฐกิจ โดยให้ เหมาะสมและต้ องให้ สอดคล้ องกับกับขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งอาจแก้ โดยทําอาหารไป
ไหว้ เพียงชุดเดียว แต่ไหว้ หลายที่หรือไหว้ รวมกันหลายครอบครัว เป็ นต้ น นอกจากนันในการฝั งศพ ในอดีต
                                                                                ้
นัน จะต้ อ งมี ก ารดูที่ ท างให้ ถูก ต้ อ งตามหลัก ฮวงจุ้ยคือ ด้ า นหน้ า ต้ องมีแ ม่นํ า ด้ านหลังต้ อ งมี ภูเ ขาซึ่ ง
  ้                                                                                     ้
วัตถุประสงค์ของการทําเช่นนี ้อาจจะเป็ นที่การที่บริ เวณตีนเขานันอาจจะปองกันนําท่วมได้ และด้ านหน้ า
                                                               ้      ้      ้

11
     สวรรค์ หรือฟา หรือเทียนนัน มีอํานาจปกครองหรื อควบคุมการสร้ างสรรค์สิ่งทังมวล เมื่อตระกูลโจวล้ ม
                 ้            ้                                              ้
ล้ างราชวงศ์ชางได้ ก็ได้ พยายามอ้ างสิทธิของตนและอธิบายให้ ชาวชางผู้พ่ายแพ้ ยอมรับอํานาจของตนด้ วย
การให้ เหตุผลว่าสวรรค์ได้ ทรงเลือกและมีเทวบัญชาให้ ตระกูลโจวเป็ นผู้ปกครองตราบเท่าที่ตระกูลนีปฏิบัติ
                                                                                             ้
หน้ าที่ทงทางด้ านศาสนาและการปกครองด้ วยสติปัญญา เมตตาธรรมและความยุติธรรม
         ั้
เป็ นแม่นํ ้านันอาจจะทําให้ การคมนาคมสะดวกไปมาง่าย แต่ในปั จจุบันนันการที่จะหาที่แบบนีไ้ ด้ เป็ นการ
               ้                                                   ้
ยากหรืออาจจะมีอยู่น้อยการที่จะแก้ ปัญหานี ้ได้ นนอาจจะฝั งหรือบรรจุกระดูกรวมกันโดยทําในสิ่ งที่เรียกว่า
                                                ั้
คอนโด ซึ่งจะใช้ เนื ้อที่ได้ อย่างคุ้มค่าซึ่งก็ยงถูกตามหลักฮวงจุ้ยเพียงแต่ฝังรวมกันให้ ประหยั ดเนือที่ ซึ่งการ
                                                ั                                                 ้
แก้ ปัญหาดังกล่าวนันก็หาใช่วาจะผิดหลักประเพณีไม่เพราะถ้ าพิจารณาในจุดประสงค์ของการกระทําเช่นนี ้
                   ้        ่
ก็ไม่ได้ ผิดจุดประสงค์ของการทําเทศกาลเช็งเม้ งเลยเพียงแต่ปรับให้ เหมาะสมกับยุคสมัยแต่วตถุประสงค์ยง
                                                                                      ั          ั
เหมือนเดิม

        กล่าวโดยสรุป การที่ชาวจีนบูชาเซ่นไหว้ บรรพบุรุษในเทศกาลเช็งเม้ ง ไม่เพียงแต่เป็ นการรํ าลึกถึง
บุคคลผู้ใกล้ ชิดที่ลวงลับไปแล้ วเท่านัน หากยังช่วยให้ คนที่ยงมีชีวิตอยู่มีที่พึ่งพิงทางจิตใจให้ กับตัวเองด้ วย
                    ่                 ้                     ั
เพราะในความคิดของชาวจีน ไม่ใช่ญาติมิตร ที่ยงมีชีวิตอยู่เท่านันที่เป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตของพวกเขา ญาติ
                                           ั                 ้
มิตรที่ลวงลับไปแล้ วก็เป็ นพลังสําคัญที่ให้ กําลังใจแก่คนที่มีชีวิตอยู่ เป็ นที่พึ่งทางจิตใจ และจะเป็ นกําลังใจ
        ่
ให้ พวกเขา ในยามเผชิญ กับอุปสรรคและความยากลําบาก การที่ ชาวจีนดันด้ นเดินทางกลับสู่บ้านเกิ ด
                                                                ้
ภูมิลําเนาเดิมเพื่อเซ่นไหว้ บรรพบุรุษในเทศกาลเช็งเม้ ง เหตุผลสําคัญประการหนึ่งก็เพื่อแสวงหา ความสงบ
สุขภายในตนเองด้ วย การทําความสะอาดสุสาน นอกจากทําให้ ทกคนรู้สกสบายอกสบายใจแล้ ว ชาวจีนยัง
                                                      ุ      ึ
ถือโอกาสวันหยุดหนึ่งวัน ในเทศกาลเช็งเม้ งนี ้ออกไปท่องเที่ยว ไปสัมผัสธรรมชาติในขณะที่ต้นไม้ ชนิดต่างๆ
เริ่ มผลิดอกออกใบ ดอกไม้ นานาพัน ธุ์บ านสะพรั่งในยามนี ้ ชาวจีน ขึ ้นชื่อในเรื่ องความขยัน ขัน แข็งและ
ประหยัดอดออม ปกติก็ หาเวลาออกไปท่องเที่ ยวนอกบ้ านไม่ค่อยได้ ทุกคนจึงมักจะถือโอกาสช่วงที่ทํ า
ความสะอาดสุสานออกไปกินลมชมทิวทัศน์ของฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูที่อากาศกําลังค่อยๆอบอุนขึ ้น พืชพันธุ์ตางๆ
                                                                            ่                ่
บนแผ่นดิน กําลังถูก ปลูกให้ ตื่น ขึ ้น คนจีน จึงเรี ยกกิ จกรรมในเทศกาลเช็งเม้ งว่า "เดิน เล่นในฤดูใบไม้ ผลิ "
รัฐบาลจีนกําหนดให้ วนเช็งเม้ งเป็ นวัน "เทศกาลทําความสะอาดสุสานของประชาชาติ " จัดให้ มีการทําพิธี
                    ั
เซ่นไหว้ บรรพบุรุษเพื่อให้ ประชาชนแสดงความรําลึกถึงญาติมิตรที่ล่วงลับไป พร้ อมกับให้ ประชาชนจีนทัง
                                                                                                 ้
ประเทศ ได้ หยุดงาน 1 วัน เพื่อให้ ครอบครัวสามารถจัดกิจกรรมออกไป ท่องเที่ยวตามชานเมือง เป็ นการ
สืบสานขนบประเพณีที่ดีงาม อย่างหนึ่งในวัฒนธรรมจีนต่อไป
เอกสารอ้ างอิง

ภาษาไทย

มอลเทจ คัลเชอร์ . ประตูส่ ูวัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ สุขภาพใจ บริษัท ตถาตา พับลิเคชัน
                                                                                             ่
        จํากัด, 2551.
นิตยา (พลพิพฒนพงศ์) ชวี. วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์, 2542.
            ั
จุไรรัตน์ อารยะกิตติพงศ์. ครบเครื่องเรื่องจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน, 2543.
ทานตะวัน. เทศกาลสาคัญของคนจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ C.A.D PUBLISHING, ม.ป.ป.
วันทิพย์ สินสูงสุด. จีน เทศกาลและวันสาคัญ China Festivals. กรุงเทพฯ: สยามมิตรการพิมพ์, 2549.


รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์
จิรวรรณ จิรันธร. เชงเม้ ง – ประเพณีท่ ีลูกหลานชาวจีนควรรู้ . (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา
        http://www.jiewfudao.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839064&Ntype=20
        (9 กรกฎาคม 2551)
นิทรรศการออนไลน์. เทศกาลเช็งเม็ง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา
        http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/chengmeng/chengmeng.html
        (30มี.ค.50)
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . เทศกาลเช็งเม้ ง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา
        http://th.wikipedia.org/wiki/เทศ กาลเช็งเม้ ง (23 เมษายน 2554 )

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Chuta Tharachai
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวBituey Boonkanan
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคMontra Songsee
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาluckkhana
 

What's hot (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาคโครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
โครงงานบอร์ดอาหารไทยสี่ภาค
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
 

Similar to ประเพณีของจีน

พระจันทร์
พระจันทร์พระจันทร์
พระจันทร์Sunflower_aiaui
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคWalk4Fun
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมYukari Samana
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
จักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีจักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีnsumato
 
ปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณUrassaya Thanarujeewong
 

Similar to ประเพณีของจีน (20)

ตรุษจีน
ตรุษจีนตรุษจีน
ตรุษจีน
 
พระจันทร์
พระจันทร์พระจันทร์
พระจันทร์
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาคโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Heat12
Heat12Heat12
Heat12
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
Saengdhamma Vol. 36 No. 430 February 2011
 
Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010
 
Heet+sib+song
Heet+sib+songHeet+sib+song
Heet+sib+song
 
จักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีจักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอที
 
Maesawing Product
Maesawing ProductMaesawing Product
Maesawing Product
 
ปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณปฏิทินยุคโบราณ
ปฏิทินยุคโบราณ
 

ประเพณีของจีน

  • 1. ประเพณีของจีน : ความเชื่อและพิธีกรรมเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง) นางสาวคุณากร หนูนนท์ 5224610377 ั ประเทศจีนเป็ นประเทศที่มีประวัติศาสตร์และอารยธรรมยาวนานหลานพันปี จึงเป็ นธรรมดาที่เป็ น แหล่งกําเนิดเทศกาลสําคัญมากมาย เทศกาลของชาวจีนที่เราคุ้นเคยกันดี ได้ แก่ เทศกาลตรุษจีน เทศกาล ขนมจ้ าง เทศกาลเชงเม้ ง เทศกาลหยวนเซียว เทศกาลตวนอู่ เป็ นต้ น ซึ่งยังไม่ได้ รวมไปถึงเทศกาลของชน เผ่าพื น เมืองอื่นที่ ก ระจายอยู่ทั่วประเทศจี น องค์ป ระกอบของเทศกาลสําคัญ ต่างๆของชาวจีน ก็ คงจะ ้ เช่นเดียวกับเทศกาลทัวไปของชนชาติภาษา คือประกอบไปด้ วย ตํานานเรื่องเล่า ความเป็ นมาของเทศกาล ่ กิจกรรมพิเศษๆของคราวสมัยที่จดกิจกรรมและผู้คนที่ร่วมกิจกรรม เนื่องจากชาวจีนถือว่าเป็ นชนชาติกลุ่ม ั ใหญ่ มีกลุมคนที่นอกจากตังถิ่นฐานในประเทศมาตุภมิแล้ วยังกระจัดกระจายตังหลักแหล่งอยู่ทวโลก ่ ้ ู ้ ั่ ความเป็ นมา/ ความสาคัญของเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง) ในสมัยโบราณของจีนนัน จะมีก ารประกอบพิธีการเซ่น ไหว้ บรรพบุรุษ กันที่สสานรวมหรื อสุสาน ้ ุ ประจําตระกูล เพื่อเป็ นการแสดงถึงเจตนารมณ์ และความกตัญํูต่อบรรพบุรุษ โดยมีอิทธิพลมาจากลัทธิ ขงจื๊อ ที่เน้ นเรื่องความกตัญํูเป็ นสําคัญ ประเพณี ที่ สํ า คัญ มากที่ สุด ของของชาวจี น คื อ ไหว้ บ รรพบุรุ ษ ที่ สุส าน (ฮวงซุ้ ย หรื อ ฮวง จุ้ย ) เทศกาล “ เชงเม้ ง ” เป็ นเทศกาลประจําปี ในการบูชาและแสดงความกตัญํูตอบรรพบุรุษที่ลวงลับไป ่ ่ แล้ วของชาวจีน ก่อนวันพิธีจะมีการทําความสะอาดหลุมฝั งศพของบรรพบุรุษ หลังจากนันในวันพิธีจะมี ้ การเซ่นไหว้ อาหารหวานคาว ที่หลุมฝั งศพ เพื่อเป็ นการ รําลึกถึงคุณงามความดีของบรรพบุรุษ และเป็ นการ ส่งอาหารให้ ทกปี เพื่อมิให้ อดอยาก เมื่อไปอยู่อีกภพหนึ่ง คนจีนส่วนใหญ่ จะหยุดงานมาร่วมพิธีกัน พร้ อม ุ หน้ าพร้ อมตา หรือถือว่าเป็ นวันพบญาติของคนจีนก็วาได้ 1 ่ 1 มอลเทจ คัลเชอร์ . ประตูส่ ูวัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ สุขภาพใจ บริ ษัท ตถาตา พับลิเคชั่น จํากัด, 2551.
  • 2. การบูชาบรรพบุรุษ (Ance stor Worship) และการไว้ ทุกข์ (Mourning) ถือเป็ นพิธีกรรมที่สําคัญ ที่สดพิธีกรรมหนึ่งของชาวจีน และปฏิบัติกันแพร่หลายสืบมาหลายพันปี จวบจนทุกวันนี ้ แม้ ว่าการไว้ ทุกข์ ุ และการบูชาบรรพบุรุษจะเป็ นความเชื่ อดังเดิมของชาวจีน แต่ก็ ได้ รับการส่งเสริ มสนับสนุนจากปรัชญา ้ ขงจื ้อ เพราะขงจื ้อถือว่าเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามในการปลูกฝั งความกตัญํูกตเวทีแก่ชนรุ่น หลัง เป็ นโอกาสที่พี่น้องลูก หลานจะมาพบปะกัน และประเพณี ก็เ ป็ นเครื่ องร้ อยรัดผู้คนในสังคมเข้ าไว้ ด้ วยกัน ขงจื ้อจึงมองเทศกาล “ เชงเม้ ง ” ในแง่ของจริยธรรมทางสังคม มากกว่าในแง่อภิปรัชญาเรื่ องชีวิ ต หลังความตาย ซึ่งคํา ว่า ชิงหมิ ง (qing-ming, อัก ษรจี น ตัวเต็ม : 清明節, อัก ษรจี น ตัวย่ อ : 清明节, พิ น อิน: Qīngmíngjié) หรือ เช็งเม้ ง, เชงเม้ ง (ตามสําเนียงแต้ จิ๋ว) “เช็ง” หมายถึง สะอาด บริ สทธิ์ และ “เม้ ง” ุ หมายถึง สว่าง รวมแล้ วหมายความถึง ช่วงเวลาแห่งความแจ่มใสรื่นรมย์2 ตานานการเกิดเชงเม้ ง ในยุคชุนชิว องค์ชายฉงเอ่อแห่งแคว้ นจิ ้นหนีภยออกนอกแคว้ น ไปมีชีวิตตกระกําลําบากนอกเมือง ั โดยมี เจี ้ยจื่อทุย ติดตามไปดูแลรับใช้ เจี ้ยจื่อทุย เป็ นคนที่ มีจิตใจเมตตาถึงขนาดเชือดเนือที่ขาของตนเป็ นอาหารให้ องค์ชายเสวยเพื่อ ้ ประทังชีวิต ภายหลังเมื่อองค์ชายฉงเอ่อเสด็จกลับเข้ าแคว้ นและได้ รับการสถาปนาขึ ้นเป็ นเจ้ าผู้ครองแคว้ น นาม จินเหวินกง และได้ สถาปนาตอบแทนขุนนางทุกคนที่เคยให้ ความช่วยเหลือตน แต่ลืมเจียจื่อทุยไป ้ ้ นานวันเข้ าจึงมีคนเตือนถึงบุญคุณเจี ้ยจื่อทุย จิ ้นเหวินกงเพิ่งนึกขึ ้นไป จึงต้ องการตอบแทนบุญคุ ณเจียจื่อ ้ ทุย โดยจัดหาบ้ านให้ เขาและมารดาให้ เข้ ามาอยู่อย่างสุขสบายในเมือง แต่ทว่าเจี ้ยจื่อทุยปฏิเสธ 2 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . เทศกาลเช็งเม้ ง. (ระบบออนไลน์ ) แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/เทศ กาลเช็งเม้ ง (23 เมษายน 2554 )
  • 3. จิ ้นเหวินกงได้ คิดแผนเผาภูเขา โดยหวังว่าเจียจื่อทุยจะพามารดาออกมาจากบ้ าน แต่ผลสุดท้ าย ้ กลับไม่เป็ นไปอย่างที่คิด สองแม่ลกกลับต้ องเสียชีวิตในกองเพลิง ดังนัน เพื่อเป็ นการรําลึกถึงเจี ้ยจื่อทุย จิน ู ้ ้ เหวินกงจึงมีคําสังให้ วนนี ้ของทุกปี ห้ ามไม่ให้ มีการก่อไฟ และให้ รับประทานแต่อาหารสด ๆ และเย็น ๆ จน ่ ั กลายเป็ นที่มาของเทศกาลวันกินอาหารเย็น หรือ เทศกาลหันสือเจี๋ย (寒食节) ซึ่งเป็ นวันสุกดิบก่อน วันเช็งเม้ ง 1 วัน3 ดันนันคนโบราณจึงนิยมถือปฏิบติกิจกรรมตามประเพณีวนหันสือเจี๋ยต่อเนื่องไปจนถึงวันเช็งเม้ ง ้ ั ั นานวันเข้ าเทศกาลทังสองก็รวมเป็ นวันเช็งเม้ งวันเดียว การไหว้ เจียจื่อทุยจึงค่อย ๆ เปลี่ยนมาเป็ นการไป ้ ้ เซ่นไหว้ บรรพบุรุษแทน จุดกาเนิดของเทศกาลเช็งเม้ ง วันเทศกาลและประเพณีตางๆของชาวจี นก็เหมือนกับเทศกาลของอีกหลายๆประเทศทั่วโลกที่ว่า ่ เทศกาลส่วนใหญ่มกมีจดกําเนิดมาจากความเชื่อ, นิยายหรื อเรื่ องเล่าที่มีความสอดคล้ อง หรื อสัมพันธ์อยู่ ั ุ แทบจะทุกเทศกาลเลยทีเดียว ในตํานานเรื่องเล่าเหล่านันมักจะแฝงไปด้ วยความเชื่อและวัฒนธรรมต่างๆที่ ้ มีอยู่ในช่วงนัน ตังแต่โบราณกาลประเทศจีนจะมีปฏิทินที่นิยมใช้ กนมากอยู่ 2 ชนิด คือ ้ ้ ั 1. ปฏิทนจันทรคติ ถือเอาการโคจรของดวงจันทร์เป็ นตัวกําหนด ปฏิทินจันทรคตินี ้เกิดขึ ้นพร้ อมๆกัน ิ กับการทําผลิตผลทางด้ านเกษตร ดังนันจึงเปรียบได้ วา ปฏิทินจันทรคติเป็ นปฏิทินเกษตร (หนงลี่) ้ ่ ปฏิทินชนิดนีเ้ ริ่มใช้ ตงแต่สมัยราชวงศ์เซี่ยจนถึงปั จจุบน ั้ ั ปฏิทินจัน ทรคตินี เ้ ป็ นปฏิทินที่เกิ ดจากการผสมผสานกันของปฏิทินจัน ทรคติและปฏิทิ นสุริยคติ กล่าวคือ ถือเอาการหมุนรอบตัวเองของดวงจันทร์ 1 รอบเป็ น 1 เดือน และ1 ปี แบ่งออกเป็ น 12 เดือน ถ้ า คิดเป็ นวันก็จะมี 365 วัน ในกรณีที่ปีไหนมีเดือนอธิกมาส ปี นันก็จะเพิ่มเป็ น 13 เดือน และมี 384 วัน ใน ้ สมัยโบราณประเทศจีนแบ่งออกเป็ น 24 ฤดูกาล ฤดูกาลเหล่านี ้จะเกี่ยวข้ องกับการผลิตทางด้ านการเกษตร โดยตรง ซึ่งประชาชนชาวจีนได้ ใช้ ปฏิทินนี ้มาหลายพันปี มาแล้ ว 3 จิ รวรรณ จิ รัน ธร. เชงเม้ ง – ประเพณี ท่ ีลู ก หลานชาวจีนควรรู้ . (ระบบออนไลน์ ) แหล่งที่ ม า http://www.jiewfudao.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839064&Ntype=20 ( 9 กรกฎาคม 2551)
  • 4. 2. ปฏิทนสุริยคติ ถือเอาการโคจรของดวงอาทิตย์เป็ นตัวกําหนด ซึ่งกําหนดเป็ น 4 ฤดู ใน 1 ปี จะแบ่ง ิ ออกเป็ น 12 เดือนเช่นเดียวกับปฏิทินจันทรคติ ในทุกๆ 4 ปี จะมีอธิกมาสเพิ่มขึ ้น 1 วันในเดือน กุมภาพันธ์ ซึ่งจะคิดเป็ นวันได้ 366 วัน การคํานวณเวลาชนิดนีใ้ นแต่ละปี จะมีความแตกต่างกัน ค่อนข้ างน้ อย ปฏิทินแบบนี ้ได้ รับความนิยมไปในประเทศต่างๆทัวโลก และในปั จจุบนประเทศจีนก็ ่ ั ใช้ ปฏิทินชนิดนี ้ ใน 24 ฤดูกาลของประเทศจีนนันจะถือเอา ฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ ร่วง และฤดูหนาวที่เกิดขึ ้น ้ ครบถ้ วนถือว่าเอาว่าเป็ นรอบระยะหนึ่ง วันต่างๆในปฏิทินสุริยคติของแต่ละปี จึงแน่นอน โดยพื ้นฐานแล้ วใน แต่ละปี จะแตกต่างกันก็ไม่มากอย่างน้ อยที่สดก็เพียง 1 วันเท่านัน แต่ในปฏิทินจันทรคติวนของฤดูกาลนัน ุ ้ ั ้ กลับไม่คอยแน่นอน กล่าวคือ ระยะเวลาของแต่ละปี จะแตกต่างกันหลายๆวัน ซึ่ง 24 ฤดูกาลเหล่านีเ้ กิดขึ ้น ่ ในหมูชาวจีนในเขตตอนกลางและตอนปลายของลุมนํ ้าหวงเหอ หรือแม่นํ ้าเหลืองก่อนในช่วงแรกๆ จากนัน ่ ่ ้ จึงค่อยพัฒนาและขยายวงออกไปอย่างกว้ างขวางในที่ตางๆทัวประเทศ 4 ่ ่ จากข้ างต้ นจะพบว่าเทศกาลเช็งเม้ ง จะตรงกับวันที่ 4 ของเดือนเมษายนในปฏิทินจีน ซึ่งถือว่าเป็ น เทศกาลแห่งความแจ่มใสและสว่าง มีการจัดฉลองในประเทศจีนมาหลายพันปี แล้ ว แม้ ว่าวันนี จะเป็ นวันที่ ้ แสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ไปแล้ ว แต่ก็ยังเป็ นวัน เกี่ยวกับชีวิตและครอบครัวด้ วย เช็ งเม้ ง เริ่มต้ นขึ ้นในฤดูใบไม้ ผลิ ซึ่งเป็ นช่วงที่อากาศแจ่มใสและสว่าง (เป็ นที่มาสําหรับชื่อเทศกาลนี )้ เวลานีเ้ ป็ น ช่วงที่มีผกหญ้ ากําลังขึ ้น และมีเทศกาลฉลองพระเจ้ าเสด็จกลับคืนชีวิต ั ดังนัน จุดกําเนิดของเทศกาลต่างๆก็เปรียบเสมือนความเชื่อที่มีความเชื่อผลต่อวิถีชีวิตของชาวจีน ้ เมื่อเป็ นเช่นนีแล้ วก็จ ะทําให้ เราได้ ทราบถึงแหล่งที่มา ความเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาของเทศกาลที่ ้ สําคัญๆ สิ่งเหล่านี ้มีผลต่อความเข้ าใจอันดีของชนชาติไทยและชนชาติจีน เพราะวัฒนธรรมบางอย่างนันมี ้ ส่วนคล้ ายคลึงกับชนชาติไทยเช่นนัน ้ 4 วันทิพย์ สินสูงสุด. จีน เทศกาลและวันสาคัญ China Festivals. กรุงเทพฯ: สยามมิตรการพิมพ์, 2549.
  • 5. พิธีกรรมเช็งเม้ ง การประกอบพิธีกรรมนี ้ ชาวจีนมีความเชื่อในเรื่อง พระภูมิเจ้ าที่ นรก สวรรค์ วิญญาณบรรพบุรุษ ภูตผี วิญญาณเร่ร่อน การทํามาหากิน เคล็ด ชาติภพ เช่น ชาวจีนเชื่อว่าการนําสิ่งของไปเซ่นไหว้ ที่หลุมศพ การพูนดินที่หลุม การโปรยกระดาษสีตาง ๆ เพราะเป็ นการแสดงออกถึงความกตัญํูร้ ูคณต่อบรรพบุรุษ ผู้ ่ ุ มีพระคุณ เป็ นการบอกเล่าแก่สงคมว่าตนยังคงระลึกถึงผู้มีพระคุณอยู่เสมอและการทํากงเต็ก ก็เนื่องจาก ั ชาวจีนเชื่อว่า คนที่ตายไปแล้ วไม่ได้ ไปไหน ยังคงดําเนินชีวิตอยู่ในอีกโลกหนึ่ง และอาจจะต้ องการความ ช่วยเหลือจากมนุษย์เหมือนกับที่มนุษย์ต้องการความช่วยเหลือเช่นกัน อาหารที่ใช้ ในการประกอบพิธีมดงนี ้ คือ ี ั 1. ไก่ต้ม ๑ ตัว 2. หมูสามชัน ต้ ม ๑ ชิ ้น (โดยประมาณขนาด ๑/๒ ก.ก. ขึ ้นไป) ้ 3. เส้ นบะหมี่สด 4. ขนม ๓ อย่าง คือ เต่เหลี่ยว ข้ าวเหนียวกวน ขนมเต่า (ขนมกู้) 5. ขนมถ้ วยฟู (ฮวดโก้ ย) 6. สับปะรด ๒ ลูก (ใช้ ทงก้ านและหัวจุก) ั้ 7. นํ ้าชา 8. ธูปเทียน, กระดาษเงิน, กระดาษทอง, ประทัด
  • 6. การประกอบพิธีกรรม มีดงนี ้ คือ ั 1. นําอาหาร ขนม และผลไม้ ใส่ภาชนะเป็ น 2 ชุด (เล็ก- ใหญ่) 2. ให้ นําไก่ต้ม, หมูต้มและเส้ นบะหมี่สดใส่ถาดเดียวกัน 3. นําขนมแต่ละชนิดใส่จานแยกเป็ นแต่ละชนิด 4. สับปะรดใส่จานละ 1 ลูก 5. นํ ้าชาที่ละ 2 ถ้ วยชาเล็ก (ถ้ วยตะไล) 6. อาหารชุดใหญ่ให้ วางไว้ หน้ าหลุมฝั งศพบรรพบุรุษ ชุดเล็กไว้ สําหรับเจ้ าที่ 7. จุดธูป-เทียนสําหรับบูชา (เทียน 2 เล่ม, ธูป 2 เล่ม ตังใช้ บชาบรรพบุรุษและเจ้ าที่) ้ ู 8. เมื่อธูปหมดไปประมาณ 1/2 เล่ม ให้ เผากระดาษเงินให้ แก่บรรพบุรุษและเผากระดาษทอง ที่เคารพแก่เจ้ าหน้ าที่ 9. ให้ เอากระดาษเงินวางบนหลุมฝั งศพของบรรพบุรุษ 10. ให้ จดประทัดเป็ นอันเสร็จพิธีกรรม5 ุ 5 นิ ท ร ร ศ ก า ร อ อ น ไ ล น์ . เ ท ศ ก า ล เ ช็ ง เ ม็ ง . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/chengmeng/chengmeng.html (30 มี . ค. 50)
  • 7. ประเพณีปฏิบัติในวันเช็งเม้ ง 1. การทาความสะอาด สุสาน (เซ้ าหมอ) ลงสีที่ปายชื่อให้ ดใหม่ ้ ู คนตายแล้ วลงสีเขียว หรือสีทองขลิบเขียว คนเป็ นลงสีแดง (ห้ ามถอนหญ้ า - อาจกระทบตําแหน่ง ห้ าม เช่น ทิศอสูร ทิศแตกสลาย ทิศดาวเบญจภูติ) บ้ างก็ตกแต่งด้ วย กระดาษม้ วนสายรุ้ง (สุสานคนเป็ น - แซกี - ใช้ สายรุ้ งสีแดง: สุสานคนตาย -ฮกกี - ใช้ ห ลากสีได้ ) ห้ ามปั กธง ลงบนหลังเต่า เท่ากับ ทิ่มแทง หลุม และบางความเชื่อ ทําให้ หลังคาบ้ านของบรรพบุรุษรั่ว 2. กราบไหว้ เจ้ าที่ เป็ นการให้ เกียรติ และขอบคุณที่ช่วยคุ้มครองดูแล 1. เทียน 1 คู่ + ธูป 5 ดอก (อาจปั กลงบนฟั กได้ ) 2. ชา 5 ถ้ วย 3. เหล้ า 5 ถ้ วย 4. ของไหว้ ตาง ๆ เช่น ขนมอี๋ ผลไม้ 6 ่ 5. กระดาษเงิน กระดาษทอง 6 ควรงดเนื ้อหมู - เพราะเคยมีปรากฏว่า เจ้ าที่เป็ นอิสลาม
  • 8. 3. กราบไหว้ ระลึกถึงพระคุณ ของพ่ อแม่ บรรพบุรุษ ตังเครื่องบูชาเซ่นไหว้ ดวงวิญญาณของ ้ ท่าน7 1. ชา 3 ถ้ วย 2. เหล้ า 3 ถ้ วย 3. ของไหว้ ตาง ๆ เช่น ขนมอี๋ ผลไม้ 8 ่ 4. กระดาษเงิน กระดาษทอง ฯลฯ 5. เทียน 1 คู่ + ธูป ตามจํานวนบรรพบุรุษ ท่านละ 1 ดอก ในการไหว้ ต้ องไหว้ เทพยาดาผืนดินก่อน เพราะถือว่าท่านเป็ นเทพเจ้ าที่ จากนันจึงไหว้ บรรพบุรุษ ้ ต้ องไหว้ 3 รอบ ( เฉพาะบรรพบุรุษ ) รอจนไหว้ ครังที่ 3 แล้ ว จึงเผากระดาษเงินกระดาษทอง ส่วนธรรม ้ เนียมการจุดประทัดเพื่อให้ เสียงดังช่วยขับไล่สิ่งไม่ดีและจะทําให้ ลกหลานยิ่งรํ่ารวยนัน ตามหลักวิชาฮวงจุ้ย ู ้ ถือว่า การจุดประทัดเป็ นการกระตุ้น ต้ องดูตําแหน่งที่ถูกต้ องจึงจะได้ โชคลาภ แต่หากผิดตําแหน่ง จะเกิด ปั ญ หา ( ผู้ป ฏิบัติ ต้ องดูตํ าแหน่งจากวิช าดาว 9 ยุค และฤกษ์ ย าม ) ส่ว นธรรมเนี ย มโบราณของจี น แผ่นดินใหญ่ ที่จะเอาหอยแครงลวกไปไหว้ ด้วย และจะช่วยกันกินหอยแครงตรงสุสาน และโปรยเปลือก หอยที่เหลือไว้ บนเนินดิน มีความหมายถึง มีลกหลานมาก ถือว่าไม่ขดกับหลักวิชา สําหรับการขุดเอาดินมา ู ั กลบบนหลังเต่า โดยเชื่ อว่า จะทํ า ให้ ก ารค้ า เพิ่ มพูน จะทํ าก็ ต่อเมื่อหลังเต่ามี รูแหว่งไป จึ งซ่อ มแซม โดยเฉพาะการขุดดิน ถือเป็ นการกระทบธรณี และต้ องดูฤกษ์ 9 7 ห้ ามวางของตรงแท่นหน้ า เจี๊ยะปี (ปายหิน ที่จารึกชื่อ บรรพบุรุษ) เพราะเป็ นที่เข้ าออกของ วิญญาณ ้ บรรพบุรุษ ไม่ใช่เก้ าอี ้นัง ่ 8 ของไหว้ ตามความเชื่อประเพณีของแต่ละท้ องถิ่น ส่วนใหญ่เป็ น ขนมถ้ วยฟู - ฮวกก้ วย 9 จุไรรัตน์ อารยะกิตติพงศ์. ครบเครื่องเรื่องจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน, 2543.
  • 9. ดังนันการไปไหว้ บรรพบรุษ ครังแรกต้ องดูฤกษ์ ( ปี ต่อไปไม่ต้องดูฤกษ์ อีก ) โดยปกติแล้ วซินแสจะ ้ ้ เป็ นผู้กําหนดฤกษ์ ให้ หากทิศด้ านหลังสุสาน เป็ นทิศห้ ามประจําปี ต้ องใช้ ฤกษ์ ปลอดภัยในการไหว้ และ ไม่ได้ จํากัดว่าต้ องเป็ นช่วงเทศกาลเช็งเม้ งเท่านัน ซึ่งปั จจุบันมีปัญหาการจราจรคับคัง เพื่อหลีกหนีปัญหา ้ ่ การจราจร สามารถไปไหว้ ในช่วงสารทตังโจ่ยแทนได้ นอกจากนี ้ในเทศกาลเช็งเม็งยังมีกิจกรรมปลูกต้ นไม้ มีกลอนโบราณจีนที่บรรยายทิวทัศน์วา ต้ นหลิวทัวเมืองออกใบสีเขียวอ่อนเหมือนหมอกสีเขียวเต็มท้ องฟา ่ ่ ้ ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของช่วงเทศกาลเช็งเม็ง ค่ านิยมของชาวจีนในการปฏิบัตเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง) ิ วัฒนธรรมจีน โบราณส่วนใหญ่มาจากความเคยชินและชีวิตความเป็ นอยู่ จากการดํารงชีวิตใน ครอบครัวของตน ยกตัวอย่างที่เห็นได้ ง่ายที่สดคือ ชาวจีนทุกครอบครัวมีการเซ่นไหว้ บรรพบุรุษ ไม่เพียงแต่ ุ วันตรุษหรือเทศกาลต่างๆที่เขาจะนําดอกไม้ เครื่ องหอมไปบูชา ปกติก็มีหิงบูชาเจ้ า มีปายวิญญาณบรรพ ้ ้ ชนไว้ บชา มีศาลบูชาบรรพชนและบุพการี ชาวต่างชาติไม่มีการบูชาเช่นนี ้ทังนี ้เพราะวัฒนธรรมจีนเน้ นหนัก ู ้ เรื่องความกตัญํูสืบทอดมาเป็ นความเคารพนับถือบรรพบุรุษ ในครอบครัวชาวจีน พ่อและพี่ชายมีสิทธิใน การอบรมสังสอนลูกและน้ องอย่างเข้ มงวดกวดขันมากกว่าครอบครัวชาวต่างชาติ ทังนีมิได้ หมายความว่า ่ ้ ้ ครอบครัวชาวจีนจะไม่รักบุตรหลานของตน แต่เป็ นเพราะวัฒนธรรมจีนสอนให้ ชาวจีนอบรมลูกหลานอย่าง เข้ มงวดมาโดยตลอด ชาวจีนเชื่อว่าการที่ลกหลานจะเจริ ญรุ่งเรื องได้ ขึ ้นอยู่กับทําเล หรื อฮวงจุ้ยของบ้ านและตําแหน่ง ู ของหลุมศพ ชาวจีนไม่วาอดีตหรือปั จจุบนให้ ความสําคัญในเรื่องของความตายเท่ากับเรื่ องความเป็ น เขา ่ ั ให้ ความใส่ใจต่อเรื่องที่อยู่อาศัยโดยการปรึกษาผู้ที่มีความรู้ความชํานาญในเรื่ องของ ลมกับนํา (เฟิ ง-สุ่ย) ้ พวกเขาจะพยายามไม่สร้ างหรือทําอะไรก็ตามที่เป็ นการแทรกแซงธรรมชาติและมีผลต่อฮวงจุ้ย ชาวจีนเชื่อ ว่าคนเรานันสามารถอยู่ได้ เพราะธรรมชาติ ผู้เชี่ยวชาญในด้ านนี ้ซึ่งชาวจีนเรียกว่า ซินแสนี ้จะทําหน้ าที่เลือก ้ ดูสถานที่ที่เหมาะสมถูกโฉลกในการสร้ างบ้ าน หรือสร้ างหลุมฝั งศพ10 10 ทานตะวัน. เทศกาลสาคัญของคนจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ C.A.D PUBLISHING, ม.ป.ป.
  • 10. จะเห็นได้ วาเทศกาลเช็งเม้ งหรือเทศกาลชิงหมิง ที่เน้ นถึงความกตัญํูของชนชาวจีนนัน มีผ้ที่เห็นดี ่ ้ ู กับเทศกาลนี ้มากมายจนทําให้ สืบต่อกันมาได้ นบเป็ นพันๆปี จนปั จจุบน แม้ แต่คนจีนในประเทศไทยหรือคน ั ั ไทยแท้ ยงพยายามสืบสานต่อวัฒนธรรมของเทศกาลนี ้ และความเชื่อในเรื่ องฮวงจุ้ย ก็เป็ นค่านิยมอย่าง ั หนึ่งในเทศกาลเช็งเม้ งที่ทําให้ ผ้ คนเหล่านี ้หันมาปฏิบติ ตาม ู ั ความเชื่อของเทศกาลเช็งเม้ ง (ชิงหมิง) ในมิติต่างๆ ตามแนวความคิดเบืองต้ นของคนจีนสมัยโบราณ ซึ่งมีส่วนสร้ างสรรค์อารยธรรมแรกเริ่ มของจีน ้ หลักความเชื่อของคนจีนในยุคแรกเริ่มของประวัติศาสตร์จีน ซึ่งได้ มีสวนแทรกเข้ ามาในลัทธิสําคัญๆ ของจีน ่ เช่น ลัทธิขงจื ้อ ลัทธิเต๋า เป็ นต้ น ในสมัยปั จจุบนคนจีนทั่วๆไปก็ยงยึดถือหลักความเชื่อเช่นนี ้อยู่ ั ั หลัก ความเชื่อของคนจีน ในสมัยโบราณมีอยู่สามประการ ประการแรกก็คือการเคารพบูชา บรรพบุรุษ การเคารพบูช าบรรพบุรุษเริ่ มต้ นแต่เมื่อใดนันไม่มีผ้ ใ ดทราบ เพราะแม้ แต่ประวัติศาสตร์ จี น ้ ู สมัยก่อนราชวงศ์โจว(Chou) ก็มีลกษณะเลือนรางเกี่ยวข้ องกับวีรบุรุษกึ่งเทพเจ้ าผู้ซึ่งได้ วางรากฐานอารย ั ธรรมจีนไว้ ให้ แก่ชาวจีนเป็ นครังแรก อย่างไรก็ตามการเคารพบูชาบรรพบุรุษเป็ นสิ่งที่ได้ ปฏิบัติกันมาตังแต่ ้ ้ สมัยแรกเริ่มนันแล้ ว เพราะปรากฏว่าคนจีนสมัยราชวงศ์ชาง (Shang) เคารพบูชาบรรพบุรุษของตน และ ้ กษัตริย์สมัยราชวงศ์โจวก็ปฏิบติเช่นเดียวกัน คนจีนเชื่อว่าวิญญาณของบรรพบุรุษของตนมีบทบาทสําคัญ ั ในการคุ้มครอง และอํานวยความผาสุกร่มเย็น ทังยังเชื่ออีกด้ วยว่า คนจีนต้ องจงรักภักดีและเคารพต่อผู้ ้ อาวุธโสในครอบครัวเมื่อผู้อาวุธโสยังมีชีวิตอยู่ แม้ เมื่อผู้อาวุธโสถึงแก่กรรมไปแล้ วทั ศนะเช่นนีก็ยังคงรักษา ้ ไว้ สืบไป ดังนันในความเชื่อประการแรกนีแสดงให้ เห็นทางด้ านสังคม กล่าวคือ การเคารพบูชาบรรพบุรุษ ้ ้ เป็ นการให้ ความสําคัญ กับความสัมพันธ์ ระหว่างกัน ในสังคมและความสัมพัน ธ์ ชิดใกล้ ระหว่างกัน ซึ่ง เทศกาลนี ้จึงเป็ นสิ่งหนึ่งในการส่งเสริมการไปมาหาสูระหว่างกัน ทําให้ ความสัมพันธ์ระหว่างคนรัก และคน ่ ในครอบครัวมีความแน่นแฟนกันยิ่งขึ ้น ดังประโยคที่ว่า “ทุกครังเมื่อใกล้ จะถึงเทศกาลใดๆ ลูกหลานที่อยู่ ้ ้ ห่างไกลสิ่งแรกที่พวกเขาตระหนักถึงก็คือคนที่รักในครอบครัว” ต่อจากการเคารพบูชาบรรพบุรุษ ซึ่งเป็ นความเชื่อประการแรกของคนจีนมีส่วนเชื่อมโยงกับ ความ เชื่อประการที่สอง คือ การเชื่อถือวิญญาณ ตังแต่สมัยโบราณมา คนจีนมีความยึดมันในความเชื่อที่ว่า ้ ่ วิญญาณมีอยู่ในทุกหนทุกแห่ง และวิญญาณมีอิทธิพลต่อทุกๆ สิ่ง คนจีนจึงต้ องรับใช้ รวมทังเอาใจด้ วยการ ้
  • 11. ทําพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณ และประกอบพิธี การต่างๆ เป็ นการแสดงความเคารพต่อวิญญาณ เพื่อให้ ได้ รั บ แต่สิ่ ง ที่ ดี แ ละได้ รั บ การคุ้ม ครอง ในสมัย ปั จ จุบั น การเคารพต่อ วิ ญ ญาณบรรพบุ รุ ษ ก็ ยั ง เป็ น ส่วนประกอบที่สําคัญในระบบครอบครัวจีน โดยทัวๆ ไปคนจีนมักจุดธูปบูชาไว้ ที่ศาลเจ้ าเล็กๆ ตามสถานที่ ่ ต่างๆ ทังนี ้ก็เพื่อแสดงความเคารพต่อดวงวิญญาณนันเอง ้ ่ ความเชื่อประการที่สาม คือ ความเชื่อเรื่ องสวรรค์ สวรรค์ในความหมายของจีนแตกต่างกับ สวรรค์ในความหมายของศาสนาอื่นๆ อาทิเช่น สวรรค์ของคริสต์ศาสนาที่พดถึงวิญญาณสูงสุดหรือพระเจ้ า ู ซึ่งคุ้มครองจักรวาล แต่สวรรค์ตามแนวความคิดของจีนนันหมายถึง ฟา หรื อเทียน คือเทพเจ้ าสูงสุดเหนือ ้ ้ จักรวาลและมนุษย์ ชาวจีนเชื่อว่าในขันสุดท้ ายนันทุกสิ่งทังมวลของโลกแห่งวิญญาณและโลกแห่งมนุษย์มี ้ ้ ้ สวรรค์ควบคุมอยู่ พายุก็ดี นําท่วมก็ดี แผ่นดินไหวก็ดี และการเก็บเกี่ยวซึ่งไม่ได้ ผลดีก็ดี ล้ วนแล้ วแต่เป็ น ้ สัญญาณแห่งความไม่พอใจของสวรรค์ ส่วนบรรลุความสําเร็จและความเจริ ญรุ่งเรื อง เป็ นสัญญาณแห่ง การยอมรับและความพอใจของสวรรค์11 จากความเชื่อเรื่ องวิญญาณและสวรรค์นี ้ แสดงให้ เ ห็นถึงทางด้ านวัฒนธรรมที่มีวิวัฒนาการมา พร้ อมๆ กับประเทศจีน ในสมัยแห่งการทําสงครามต่อสู้กนระหว่างแคว้ นต่างๆ แนวความคิด จัดระเบียบให้ ั เป็ นระบบที่เราได้ ทราบกันทุกวันนี ้ นักปราชญ์ ชาวจีนและศาสดาเป็ นจํานวนมากได้ พยายามที่จะแก้ ไข ปั ญหาต่างๆ ของคนในสมัยนัน และด้ วยความพยายามนี ้เองยังผลให้ เกิดสํานักปรัชญาขึ ้นหลายสํานัก ้ ส่วนทางด้ านเศรษฐกิจ ในการที่จะจัดของไหว้ ในอดีตนันจะต้ องจัดของไหว้ ใ ห้ มีจํานวนชุดเท่ากับ ้ จํานวนที่ ที่จะไปไหว้ ซึ่งจะเป็ นการฟุ่ มเฟื อย แต่ในปั จจุบนจึงมีการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับปั ญหาทาง ั เศรษฐกิจ โดยให้ เหมาะสมและต้ องให้ สอดคล้ องกับกับขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งอาจแก้ โดยทําอาหารไป ไหว้ เพียงชุดเดียว แต่ไหว้ หลายที่หรือไหว้ รวมกันหลายครอบครัว เป็ นต้ น นอกจากนันในการฝั งศพ ในอดีต ้ นัน จะต้ อ งมี ก ารดูที่ ท างให้ ถูก ต้ อ งตามหลัก ฮวงจุ้ยคือ ด้ า นหน้ า ต้ องมีแ ม่นํ า ด้ านหลังต้ อ งมี ภูเ ขาซึ่ ง ้ ้ วัตถุประสงค์ของการทําเช่นนี ้อาจจะเป็ นที่การที่บริ เวณตีนเขานันอาจจะปองกันนําท่วมได้ และด้ านหน้ า ้ ้ ้ 11 สวรรค์ หรือฟา หรือเทียนนัน มีอํานาจปกครองหรื อควบคุมการสร้ างสรรค์สิ่งทังมวล เมื่อตระกูลโจวล้ ม ้ ้ ้ ล้ างราชวงศ์ชางได้ ก็ได้ พยายามอ้ างสิทธิของตนและอธิบายให้ ชาวชางผู้พ่ายแพ้ ยอมรับอํานาจของตนด้ วย การให้ เหตุผลว่าสวรรค์ได้ ทรงเลือกและมีเทวบัญชาให้ ตระกูลโจวเป็ นผู้ปกครองตราบเท่าที่ตระกูลนีปฏิบัติ ้ หน้ าที่ทงทางด้ านศาสนาและการปกครองด้ วยสติปัญญา เมตตาธรรมและความยุติธรรม ั้
  • 12. เป็ นแม่นํ ้านันอาจจะทําให้ การคมนาคมสะดวกไปมาง่าย แต่ในปั จจุบันนันการที่จะหาที่แบบนีไ้ ด้ เป็ นการ ้ ้ ยากหรืออาจจะมีอยู่น้อยการที่จะแก้ ปัญหานี ้ได้ นนอาจจะฝั งหรือบรรจุกระดูกรวมกันโดยทําในสิ่ งที่เรียกว่า ั้ คอนโด ซึ่งจะใช้ เนื ้อที่ได้ อย่างคุ้มค่าซึ่งก็ยงถูกตามหลักฮวงจุ้ยเพียงแต่ฝังรวมกันให้ ประหยั ดเนือที่ ซึ่งการ ั ้ แก้ ปัญหาดังกล่าวนันก็หาใช่วาจะผิดหลักประเพณีไม่เพราะถ้ าพิจารณาในจุดประสงค์ของการกระทําเช่นนี ้ ้ ่ ก็ไม่ได้ ผิดจุดประสงค์ของการทําเทศกาลเช็งเม้ งเลยเพียงแต่ปรับให้ เหมาะสมกับยุคสมัยแต่วตถุประสงค์ยง ั ั เหมือนเดิม กล่าวโดยสรุป การที่ชาวจีนบูชาเซ่นไหว้ บรรพบุรุษในเทศกาลเช็งเม้ ง ไม่เพียงแต่เป็ นการรํ าลึกถึง บุคคลผู้ใกล้ ชิดที่ลวงลับไปแล้ วเท่านัน หากยังช่วยให้ คนที่ยงมีชีวิตอยู่มีที่พึ่งพิงทางจิตใจให้ กับตัวเองด้ วย ่ ้ ั เพราะในความคิดของชาวจีน ไม่ใช่ญาติมิตร ที่ยงมีชีวิตอยู่เท่านันที่เป็ นส่วนหนึ่งของชีวิตของพวกเขา ญาติ ั ้ มิตรที่ลวงลับไปแล้ วก็เป็ นพลังสําคัญที่ให้ กําลังใจแก่คนที่มีชีวิตอยู่ เป็ นที่พึ่งทางจิตใจ และจะเป็ นกําลังใจ ่ ให้ พวกเขา ในยามเผชิญ กับอุปสรรคและความยากลําบาก การที่ ชาวจีนดันด้ นเดินทางกลับสู่บ้านเกิ ด ้ ภูมิลําเนาเดิมเพื่อเซ่นไหว้ บรรพบุรุษในเทศกาลเช็งเม้ ง เหตุผลสําคัญประการหนึ่งก็เพื่อแสวงหา ความสงบ สุขภายในตนเองด้ วย การทําความสะอาดสุสาน นอกจากทําให้ ทกคนรู้สกสบายอกสบายใจแล้ ว ชาวจีนยัง ุ ึ ถือโอกาสวันหยุดหนึ่งวัน ในเทศกาลเช็งเม้ งนี ้ออกไปท่องเที่ยว ไปสัมผัสธรรมชาติในขณะที่ต้นไม้ ชนิดต่างๆ เริ่ มผลิดอกออกใบ ดอกไม้ นานาพัน ธุ์บ านสะพรั่งในยามนี ้ ชาวจีน ขึ ้นชื่อในเรื่ องความขยัน ขัน แข็งและ ประหยัดอดออม ปกติก็ หาเวลาออกไปท่องเที่ ยวนอกบ้ านไม่ค่อยได้ ทุกคนจึงมักจะถือโอกาสช่วงที่ทํ า ความสะอาดสุสานออกไปกินลมชมทิวทัศน์ของฤดูใบไม้ ผลิ ฤดูที่อากาศกําลังค่อยๆอบอุนขึ ้น พืชพันธุ์ตางๆ ่ ่ บนแผ่นดิน กําลังถูก ปลูกให้ ตื่น ขึ ้น คนจีน จึงเรี ยกกิ จกรรมในเทศกาลเช็งเม้ งว่า "เดิน เล่นในฤดูใบไม้ ผลิ " รัฐบาลจีนกําหนดให้ วนเช็งเม้ งเป็ นวัน "เทศกาลทําความสะอาดสุสานของประชาชาติ " จัดให้ มีการทําพิธี ั เซ่นไหว้ บรรพบุรุษเพื่อให้ ประชาชนแสดงความรําลึกถึงญาติมิตรที่ล่วงลับไป พร้ อมกับให้ ประชาชนจีนทัง ้ ประเทศ ได้ หยุดงาน 1 วัน เพื่อให้ ครอบครัวสามารถจัดกิจกรรมออกไป ท่องเที่ยวตามชานเมือง เป็ นการ สืบสานขนบประเพณีที่ดีงาม อย่างหนึ่งในวัฒนธรรมจีนต่อไป
  • 13. เอกสารอ้ างอิง ภาษาไทย มอลเทจ คัลเชอร์ . ประตูส่ ูวัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ สุขภาพใจ บริษัท ตถาตา พับลิเคชัน ่ จํากัด, 2551. นิตยา (พลพิพฒนพงศ์) ชวี. วัฒนธรรมจีน. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน์, 2542. ั จุไรรัตน์ อารยะกิตติพงศ์. ครบเครื่องเรื่องจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน, 2543. ทานตะวัน. เทศกาลสาคัญของคนจีน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ C.A.D PUBLISHING, ม.ป.ป. วันทิพย์ สินสูงสุด. จีน เทศกาลและวันสาคัญ China Festivals. กรุงเทพฯ: สยามมิตรการพิมพ์, 2549. รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์ จิรวรรณ จิรันธร. เชงเม้ ง – ประเพณีท่ ีลูกหลานชาวจีนควรรู้ . (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.jiewfudao.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=538839064&Ntype=20 (9 กรกฎาคม 2551) นิทรรศการออนไลน์. เทศกาลเช็งเม็ง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://download.clib.psu.ac.th/datawebclib/exhonline/chengmeng/chengmeng.html (30มี.ค.50) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี . เทศกาลเช็งเม้ ง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/เทศ กาลเช็งเม้ ง (23 เมษายน 2554 )