SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149

         ปฏิทนยุคโบราณ
             ิ

จากหลักฐานทางโบราณคดีทคนพบในปัจจุบน เชื่อกันว่าชนชาติแรกทีคดค้น ระบบการนับวันแบบปฏิทนนั้นคือ ชาวบาบิโลเนี ยน พวกเขา
                              ี่ ้             ั                        ่ิ                              ิ
กาหนดวัน เดือน ปี โดยสังเกตจากระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ ซึ่งก็คอการสังเกตข้างขึ้ นข้างแรมนั่นเอง โดยเมื่อเกิดข้างขึ้ นและข้างแรมครบ 1
                                                                      ื
รอบก็จะถือเป็ น 1 เดือน ปฏิทนแบบนี้ เ รี ยกว่าปฏิทนจันทรคติ และพวกเขายังกาหนดให้ 1 ปี น้ ันมี 12 เดือนอีกด้วย สาเหตุทชาวบาบิโลเนี ยน
                                 ิ                   ิ                                                                   ี่
กาหนดให้ 1 ปี มี 12 เดือน ก็เ พราะว่า เมื่อใดทีเ่ กิดข้างขึ้ นและข้างแรมครบ 12 รอบ ฤดูกาลก็จะเวียนกลับมาอีกครั้ง อาณาจักรข้างเคียงก็ได้
ยอมรับเอาปฏิทนของชาวบาบิโลเนี ยมาใช้ในอาณาจักรตนเอง เช่น ชาวอียิปต์โบราณ ชาวกรี ก และชาวเซเมติก เป็ นต้น เมื่อพัฒนาการทาง
                 ิ
เทคโนโลยีมีมากขึ้ น ชนชาติทนาเอาปฏิทนแบบบาบิโลเนี ยนไปใช้น้ ัน ก็ได้ทาการปรับปรุงและพัฒนาให้มีความเทียงตรงมากยิ่งขึ้ น โดยเฉพาะ
                                   ี่       ิ                                                                   ่
อย่างยิ่งชาวอียิปต์โบราณ ทีพฒนาแนวคิดเรื่ องปฏิทนได้อย่างรุ ดหน้ามากทีสุด แต่เ ดิมชาวโรมันกาหนดให้ 1 ปี มี 355 วัน (ตามระบบจันทรคติ )
                            ่ ั                        ิ                    ่
                                                                                                                   ่        ่
และทุก ๆ 4 ปี (ปี อธิกวาร ) ต้องเพิ่มวันเข้าไปอีก 22 วัน เพื่อให้ตรงกับฤดูกาล หรื อการคานวณแบบสุริยคติ ) จนกระทัง 46 ปี กอนคริ สต์ศกราช จู
                                                                                                                                      ั
เลียส ซีซาร์ แห่ งจักรวรรดิโรมัน ซึ่งได้เ ข้าครอบครองอียิปต์ ในรัชสมัยของพระนางคลีโอพัตรา ได้นาแนวคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ ชื่อ
                                                                ิ                  ิ                 ั
โซซิเ จเนส (Sosigenes) มาปรับปรุ งให้หนึ่ งปี มี 365 วัน ปฏิทนแบบนี้ เ รี ยกว่าปฏิทนจูเ ลียน ซึ่งใช้กนมายาวนานจนถึง ค.ศ. 1582 จึงมีการแก้ไข
อีกครั้งหนึ่ ง
         ปฏิทนยุคปัจจุบน
             ิ         ั

เนี่ องจากการทีตองเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทน 1 วัน ในทุกๆ 4 ปี ทาให้ในสมัยต่อๆ มาเกิดความสับสนในฤดูกาล กล่าวคือปี ปฏิทนสั้นกว่าปี ฤดูกาล
               ่ ้                       ิ                                                                                  ิ
                                   ่
ดังนั้นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติตางๆ จะมาถึงเร็วกว่าปี ปฏิทนมากขึ้ นทุกปี เช่นใน ค .ศ. 1582 วสันตวิษวต (วันทีกลางวันและกลางคืนยาว
                                                            ิ                                          ุั         ่
เท่ากัน) ตามปี ปฏิทนเดิมคือวันที่ 21 มีนาคม แต่ปรากฏการณ์น้ ี กลับเกิดขึ้ นจริ งในวันที่ 11 มีนาคมแทน เมื่อเป็ นเช่นนี้ ศาสนจักรจึงเข้ามามี
                   ิ
บทบาทในการแก้ไข พระสันตปาปา เกรกอรี่ ที่ 13 ได้ออกประกาศให้หกวันออกจากปี ปฏิทนเสีย 10 วัน มีผลทาให้ในปี ค.ศ. 1582 นั้นหลังวันที่
                                                                      ั                     ิ
4 ตุลาคม กลายเป็ นวันที่ 15 ตุลาคม แทนทีจะเป็ นวันที่ 5 ตุลาคม ในปี อธิกวารให้เ พิ่มวันเป็ นการชัวคราว 1 วันในปี ถดไปให้หกออก นอกจากนี้
                                           ่                                                      ่                 ั         ั
ยังกาหนดให้วนที่ 1 มกราคมของทุกปี เ ป็ นวันขึ้ นปี ใหม่ และให้เ รี ยกปฏิทนแบบใหม่น้ ี วา ปฏิทนเกรกอเรี ยน ประกาศนี้ มีผลทาให้ยุโรปซึ่งอยู่ใต้
                ั                                                          ิ              ่     ิ
การปกครองของศาสนจักร ต้องใช้ปฏิทนแบบเดียวกันตั้งแต่น้ ันเป็ นต้นมา
                                       ิ

         ชนิ ดของปฏิทน
                     ิ
ปฏิทนสุริยคติ
    ิ

ปฏิทนเกรกอเรี ยน ปฏิทนสุริยคติไทย ปฏิทนจูเ ลียน
    ิ                ิ                ิ                   ปฏิทนญะลาลีย(สุริยคติอหร่าน)
                                                              ิ       ์         ิ               ปฏิทนของสาธารณรัฐฝรั่งเศส
                                                                                                    ิ
ปฏิทนมายา (อเมริ กาใต้)
    ิ

ปฏิทนจันทรคติ
    ิ
ปฏิทนจันทรคติไทย(ปฏิทนจันทรคติราชการ , ปฏิทนจันทรคติปักขคณนา) ปฏิทนฮิจญ์เ ราะหฺ (อิสลาม) ปฏิทนยิว ปฏิทนจันทรคติจีน
    ิ                ิ                     ิ                      ิ                          ิ        ิ

                                                                                                                       ่
        ปฏิทินสุ ริยคติคือ ปฏิทนทีสอดคล้องกับฤดูกาล และเดคลิเ นชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปี โดยเฉลี่ยมีคา ใกล้เ คียงกับปี
                                 ิ ่
ฤดูกาล ปฏิทนเหล่านี้ มี 365 วัน ในหนึ่ งปี และเพิ่มวันหนึ่ งวันในปี อธิกสุรทิน ปฏิทนสุริยคติทแสดงดิถจนทร์ดวย เรี ยกว่า ปฏิทนสุริยจันทรคติ
           ิ                                                                       ิ         ี่     ีั    ้                ิ
        นอกเหนื อจากนี้ ยังมีปฏิทนทีไม่ใช่ปฏิทนสุรยคติ เช่น ปฏิทนฮิจญ์เ ราะหฺ อันเป็ น ปฏิทนจันทรคติของศาสนาอิสลาม, ปฏิทนที่
                                 ิ ่          ิ ิ               ิ                          ิ                            ิ
สอดคล้องกับคาบซินอดิกของดาวศุกร์ และปฏิทนทีสอดคล้องกับการขึ้ นของดาวฤกษ์ในท้องฟ้ า
                                           ิ ่
        ปฏิทินจันทรคติเป็ นคาใช้เ รี ยกรูปแบบการใช้ปฏิทนรูปแบบหนึ่ ง โดยใช้ดถของดวงจันทร์เ พื่อบอกข้างขึ้ นข้ างแรมบอกเดือน ซึ่งใน
                                                        ิ                   ิี
ปัจจุบนระบบปฏิทนทีใช้รูปแบบนี้ ได้เ ปลี่ยนมาใช้ในรู ปแบบปฏิทนสุริยจันทรคติแทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสาคัญ
      ั         ิ ่                                         ิ
ทางศาสนา หรื อเทศกาลฉลองตามประเพณีด้งเดิม เช่นในปฏิทนจีน ปฏิทนฮิบรู ปฏิทนฮินดู
                                          ั               ิ         ิ        ิ


                                                                                                                                            1
สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149

            ปฏิทนจันทรคติในหนึ่ งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ ง ซึ่งในหนึ่ งปี จะแบ่งเป็ น 12 เดือนซึ่ง
                ิ
มีท้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่าปฏิทนสุริยคติ 10 วันเศษ ซึ่งเมื่อถึงปี ทจานวนวันทีเ่ กินมาครบประมาณ 29.5 วันเศษ จะมีการเพิ่มเดือนเข้า
     ั                                       ิ                               ี่
มาอีกหนึ่ งเดือน ซึ่งทาให้ปีน้ ันมี 384 วัน ตัวอย่างเช่น ในปฏิทนจันทรคติไทย จะเรี ยกว่าอธิกมาส โดยจะเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกหนึ่ งเดือนซึ่ง
                                                               ิ
เรี ยกว่า เดือน ๘/๘ (หรื อ ๘-๘ หรื อ ๘๘ ก็เ ขียน) โดยในปี น้ ันจะมี 13 เดือน ในปี ที่ 3, 6, 9, 11, 14, 17 และ 19
            ในปี ทางจันทรคติ จะมี 12 เดือน ได้แก่ เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม เดือนสี่ เดือนห้า เดือนหก เดือนเจ็ด เดือนแปด เดือนเก้า เดือนสิบ
                                          ่
เดือนสิบเอ็ด เดือนสิบสอง โดยเดือนคูจะมี 30 วัน คือวันขึ้ น 1 ค่า ถึง วันขึ้ น 15 ค่า และวันแรม 1 ค่า ถึง วันแรม 15 ค่า ส่วนเดือนคีมี 29 วัน คือ
                                                                                                                                    ่
วันขึ้ น 1 ค่า ถึง วันขึ้ น 15 ค่า และวันแรม 1 ค่า ถึง วันแรม 14 ค่า นอกจากนี้ ยงมีบางปี ทมีวนแรม 15 ค่า เดือน 7 เรี ยกว่าอธิกวาร โดยจะมีในปี ที่
                                                                                ั         ี่ ั
                                                                 ่
6, 12, 17, 22, 28, 33 และ 38 ทั้งนี้ เพื่อให้เ ดือนแต่ละเดือนมีคาเฉลี่ยของวันในเดือน าใกล้ 29.530588 วันมากทีสุด
                                                                                      เข้                         ่

          ปฏิทินจันทรคติไทย

          คือ ปฏิทนทีนบตามคติการโคจรของดวงจันทร์ โดยหมายดูจากปรากฏการณ์ขางขึ้ นข้างแรม สาหรับปฏิทนจันทรคติ ของไทย จะมี
                  ิ ่ ั                                                 ้                        ิ
ด้วยกัน 2 แบบ ดังนี้
            ิ                        ิ                   ่ ั
        ปฏิทนจันทรคติราชการ หรื อปฏิทนหลวง เป็ นแบบทีใช้กนมาแต่ด้งเดิม อาศัยการกาหนดรู ปแบบปี ทางจันทรคติ อย่างไรก็ตาม
                                                                       ั
หลักการคานวณหารู ปแบบปี จนทรคติ ยังไม่มีการสรุ ปเป็ นสูตรทีตายตัวแน่ชด ใช้เ ป็ นปฏิทนจันทรคติราชการทัวไป ตลอดจน พระสงฆ์ไทย
                         ั                                 ่         ั              ิ                ่
คณะมหานิ กาย
          ปฏิทนจันทรคติปักขคณนา เป็ นแบบที่ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จกรี ได้ทรงประดิษฐ์ข้ ึ นมา
              ิ                                                              ั                         ั
ใหม่ มีสูตรคานวณทีแน่ ชด และมีความแม่นยาตามธรรมชาติกว่าแบบราชการอยู่มาก และให้ทรงนามาใช้ในพระสงฆ์ไทย คณะธรรมยุตนิกาย
                  ่ ั                                                                                                         ิ
          การนับช่วงเวลา

การนับช่วงเวลาในปฏิทนจันทรคติไทย เป็ นการนับโดยถือ เอาการเปลี่ยนแปลงของดวงจันทร์เ ป็ นหลัก ดังนี้
                    ิ
         คืนเดือนดับ จะสังเกตไม่เ ห็นดวงจันทร์

         คืนข้างขึ้ น จะสังเกตเห็นดวงจันทร์เ ป็ นรูปเสี้ยวนิ ดเกียวแล้วค่อยๆ โตขึ้ นในแต่ละวันจนเต็มดวง
         คืนเดือนเพ็ญ จะสังเกตเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง

                                          ่                                                  ็
          คืนข้างแรม จะสังเกตเห็นดวงจันทร์คอยๆ แหว่งเป็ นรูปเสี้ ยวเล็กลงๆ จนในทีสุดดวงจันทร์กมืดทั้งดวง
                                                                                 ่
          การอ่านวันตามแบบจันทรคติจะ อ่านเป็ นตัวเลขโดยเริ่ มทีวนอาทิตย์เ ป็ นหนึ่ ง และนับต่อไปตามลาดับจนถึงวันเสาร์นบเป็ นเจ็ด และมี
                                                               ่ั                                                     ั
                                                                                                    ๓
การกาหนดดิถีดวงจันทร์และตัวเลขเดือนกากับอย่างย่อ โดยใช้สญลักษณ์เ ป็ นตัวเลข ดังตัวอย่าง ๖ ๓ อ่านว่า วันศุกร์ ขึ้ น 3 ค่า เดือน 3
                                                        ั
                                                                                                    ฯ

            การนับวันทางจันทรคติ เริ่ มนับวันขึ้ น 1 ค่า จนถึงขึ้ น 15 ค่า แล้วจึ งขึ้ นวันแรม 1 ค่า ถึงวันแรม 14 ค่า ในเดือนคี่ และวันแรม 15 ค่า ใน
เดือนคู่ จึงทาให้เ ดือนคีมี 29 วัน เดือนคูมี 30 วัน การนับเดือนทางจันทรคติ เริ่ มต้นนับเดือนธันวาคมเป็ นเดือน 1 เรี ยกว่าเดือนอ้าย มกราคมเป็ น
                          ่               ่
เดือนที่ 2 เรี ยกว่า เดือนยี่ และนับเดือน 3 เดือน 4 ไปจนถึงเดือน 12 ยกเว้นเขตภาคเหนื อตอนบน หรื อดินแดนล้านนาเดิม ทีมีการนับเดือนเร็ว
                                                                                                                                  ่
กว่า 2 เดือน กล่าวคือ ในวันลอยกระทง ตรงกับเดือน 12 ใต้ และตรงกับเดือน 2 เหนื อ (12, 1, 2) ส่วนวันมาฆบูชา ตรงกับเดือน 3 ใต้ และ เดือน
5 เหนื อ
             การนับปี ทางจันทรคติ นับตามเวลาการโคจรของดวงจันทร์รอบ โลก 1 รอบ ใช้เ วลา 29 วันครึ่ งในเวลา 1 เดือน ถ้านับ 29 วัน เวลาจะ
               ่                                         ่                                            ั      ่                     ่
ขาดไป 12 ชัวโมง แต่ถานับ 30 วัน เวลาจะเกินไป 12 ชัวโมง จึงต้องนับ 59 วัน เป็ น 2 เดือน โดยให้นบเดือนคีมี 29 วัน และเดือนคูมี 30 วัน โดย
                          ้
เดือนคีเ่ ป็ นเดือนต้น เดือนคูเ่ ป็ นเดือนรองถัดไป สลับจนครบ 12 เดือน แล้วเริ่ มต้นใหม่ ถ้านับวันปี ทางจันทรคติจะมีเ พียง 354 วัน ซึ่งมีวนน้อย
                                                                                                                                         ั


                                                                                                                                                   2
สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149

กว่าปี ทางสุริยคติถง 11 วันต่อปี เมื่อรวม 3 ปี จะได้ 33 วัน ดังนั้นในทุกๆ 3 ปี ทางจันทรคติ จะมีเ ดือน 8 สองหน คือจะมี 13 เดือน เรี ยกปี น้ ันว่า
                   ึ
ปี อธิกมาส

            ความเข้ าใจผิดเกียวกับการอ่ านปฏิทินจันทรคติไทย
                             ่
        การสังเกตดวงจันทร์ เ พื่อใช้จดทาปฏิทน ใช้เ วลาเทียงคืน ใช้ดวงจันทร์เ สมือน ทีถอว่าโคจรรอบโลกด้วยอัตราเร็วคงที่ (ในทางปฏิบติ
                                     ั      ิ             ่                          ่ื                                          ั
ดวงจันทร์จริ ง อาจคลาดเคลื่อนไปจากดวงจันทร์เ สมือนได้ถง 0.65 วัน)
                                                        ึ

            จันทร์ดบ หรื อวันเดื อนดับ หมายถึงคืนทีดวงจันทร์เ ป็ นเสี้ยวเล็กทีสุด ในรอบเดือนนั้น ไม่จาเป็ นต้องเป็ นแรม 14- 15 ค่า อาจเป็ นขึ้ น 1
                   ั                               ่                          ่
ค่า ก็ได้
         จันทร์เ พ็ญ หรื อวันเดือนเพ็ญ หรื อวันเดือนเต็มดวง หมายถึง คืนทีดวงจันทร์สว่างเต็มดวงมากทีสุด ในรอบเดือนนั้น โดยหลักการแล้ว
                                                                          ่                           ่
จะไม่ใช่ท้ง ข้างขึ้ น หรื อข้างแรม เพราะเป็ นช่วงเวลาทีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง ระหว่างสองข้าง ถ้าเทียบกับภูเ ขา ก็คอยอดเขา ในปฏิทนไทย วัน
          ั                                             ่                                                       ื             ิ
เพ็ญไม่จาเป็ นต้องเป็ นขึ้ น15 ค่า อาจเป็ นแรม 1 ค่า ก็ได้ (ในทางทฤษฎีของดวงจันทร์เ สมือน มีโอกาสเกิดในวันแรม 1 ค่า ราว 27%)
            จันทร์ครึ่ งดวง ไม่จาเป็ นต้องเป็ นวันขึ้ น 8 ค่า หรื อแรม 8 ค่า ซึ่งเป็ นวันพระ อาจเป็ นวันขึ้ น 7 ค่า หรื อแรม 7 ค่า ก็ได้

          นอกจากความเข้าใจผิดในการอ่านปฏิทนไทยทีได้ยกตัวอย่างมาแล้ว ปฏิทนไทยมีความคลาดเคลื่อน 2 ส่วน คือ ส่วนการทดวัน (ทาง
                                               ิ      ่                      ิ
    ิ         ่ ึ
ปฏิทน) ซึ่งมีคาได้ถง 0.5วัน โดยเฉพาะในเดือน 6 ของปี อธิกวารเป็ นช่วงทีรอทดวัน กับส่วนความเป็ นวงรี ของ วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก
                                                                      ่
                        ่ ึ
(ทางดาราศาสตร์ ) ซึ่งมีคาได้ถง 0.65 วัน อีกส่วนหนึ่ ง

                      การสั งเกตดวงจันทร์ อ ย่างง่าย
            วันจันทร์เ พ็ญ

                                                                                           ่                          ่
วันจันทร์เ พ็ญอาจเป็ นวันขึ้ น 15 ค่า หรื อแรม 1 ค่าก็ได้ ผูที่เ คยสังเกตดวงจันทร์จะทราบดีวา เป็ นการยากมากทีจะบอกได้วา วันไหนเป็ นวันเพ็ญ
                                                            ้                                                ่
เพราะมักจะเห็นว่าเต็มดวงอยู่ 2 วัน บางท่านอาจเห็น 4 วัน ต้องใช้รูปถ่ายทีขยายแล้วนามาเทียบกัน การดูจนทร์เ พ็ญอย่างง่ายในเขตร้อน เช่น
                                                                              ่                           ั
ประเทศไทย ให้ดเู วลาทีดวงอาทิตย์ตกดังนี้
                        ่

1.ถ้าคืนนั้นเป็ นจันทร์เ พ็ญ จะเห็นดวงจันทร์กาลังขึ้ นพอดี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
2.ถ้าดวงจันทร์อยู่สูงเกิน 7 องศา แสดงว่ายังไม่ถงวันจันทร์เ พ็ญ ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าดวงจันทร์ดานล่างยังแหว่งอยู่ เป็ นข้างขึ้ น เช่น ขึ้ น14 ค่า
                                               ึ                                               ้
(หรื ออาจเป็ นขึ้ น 15 ค่าก็ได้ในบางเดือน)

3.ถ้าดวงอาทิตย์ลบขอบฟ้ าไปแล้วราว 1/2 ชัวโมง แต่ดวงจันทร์ยงไม่ข้ ึ นเลย และเมื่อดวงจันทร์ข้ ึ นแล้วให้สงเกตว่า ดวงจันทร์ดานบนจะแหว่ง
                ั                        ่                ั                                            ั                 ้
ไปเล็กน้อย กรณี น้ ี เ ป็ นแรม 1 - 2 ค่า

            วันจันทร์ดบอย่างง่าย
                      ั
วันจันทร์ดบอาจเป็ นวันแรม 14-15 ค่า หรื อขึ้ น 1 ค่าก็ได้ (มีโอกาส ราว 50%) การดูจนทร์เ พ็ญอย่างง่ายในเขตร้อน เช่นประเทศไทย ให้ดเู วลาที่
          ั                                                                       ั
ดวงอาทิตย์ตกดังนี้
1.ถ้าคืนนั้นดวงจันทร์ยงไม่ดบ จะไม่เ ห็นดวงจันทร์เ ลย เพราะดวงจันทร์ตกขอบฟ้ าไปก่อนดวงอาทิตย์ เช่น วันแรม 13-14-15 ค่า
                      ั    ั

                                                      ็
2.ถ้าคืนนั้นเป็ นคืนจันทร์ดบพอดี อาจไม่เ ห็นดวงจันทร์กได้ เพราะดวงจันทร์จะตกไล่เ ลี่ยกับดวงอาทิตย์ คือตกก่อนหรื อหลังดวงอาทิตย์ไม่เ กิน
                           ั
ครึ่ งชัวโมง เช่น แรม 14-15 ค่า ขึ้ น 1 ค่า
        ่



                                                                                                                                                   3
สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149

3. ถ้าคืนนั้นเป็ นคืนอมาวสี (จันทร์ดบ) คือ คืนถัดจากคืนจันทร์ดบ จะเห็นดวงจันทร์เ ป็ นเสี้ ยวบางๆ หงายท้อง และตกตาม หลังดวงอาทิตย์ไป
                                       ั                           ั
ราว 1/2 ชัวโมง เช่น ขึ้ น 2 ค่า อาจเป็ นขึ้ น 1 ค่าก็ได้ ในบางเดือน)
          ่

         วันจันทร์ครึ่ งดวง
รูปร่างดวงจันทร์ครึ่ งดวงสังเกตได้ไม่ยาก อย่างไรก็ตามหากต้องดูให้ละเอียดขึ้ น ให้สงเกตดังนี้
                                                                                  ั

1.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่ งดวงข้างขึ้ น ให้ดตอนทีดวงอาทิตย์ตก ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้ า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากเป็ นวันขึ้ น 8 ค่า แต่อาจ
                                           ู    ่
เป็ นขึ้ น 7 ค่าก็ได้

2.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่ งดวงข้างแรม ให้ดในตอนทีดวงอาทิตย์ข้ ึ น ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้ า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากตรงกับวันแรม 8 ค่า
                                         ู      ่
แต่อาจเป็ นแรม 7 ค่าก็ได้
          การดูจนทร์ ดบ/เพ็ญจากอุปราคา จันทรุปราคา จะเกิดในคืนจันทร์เ พ็ญเท่านั้น มักเป็ นวันขึ้ น 15 ค่าและมีโอกาสเกิดในวันขึ้ น 14 ค่าได้
                ั     ั
ด้วย แต่มีโอกาสน้อยมาก แต่บางครั้งอาจเป็ นแรม 1 ค่าก็ได้ โดยเฉพาะถ้าขึ้ นจันทรุปราคาในช่วงหัวค่า ส่วนสุริยุปราคา มักจะเกิดในวันจันทร์
ดับ แต่ในบางครั้งเกิดในวันถัดไปก็ได้ โดยเฉพาะหากเกิดช่วงเช้า วันเกิดสุริยุปราคามักตรงกับวันขึ้ น 1 ค่า หรื อวันแรมสุดท้ายของเดือน

         ปฏิทินดาว

        คาว่า "ดารา" คือเรื่ องเกี่ยวกับดวงดาว ดาราศาสตร์ เป็ นวิชาการทีวาด้วยเหตุอนเกิดจากดาว (Astrology ) ส่วนคาว่า "โหรา" เป็ นคา
                                                                        ่่         ั
                                                                   ่่
สันสกฤต ตรงกับภาษาละตินว่า Hora ซึ่งมีความหมายถึง เวลา วิชาทีวาด้วยการคานวณเวลา
                                                                    ่ ่
           ความเชื่อในเรื่ องโหราศาสตร์ หรื ออิทธิพลของดวงดาวทีมีตอมนุ ษย์โลกมีมานานแล้ว มีมาในทุกชาติทกภาษา เราจะเห็นได้ชดว่าสมัย
                                                                                                                 ุ                     ั
พุทธกาลก็มีการกล่าวถึง วันประสู ติ ตรัสรู ้ ปริ นิพพาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับดวงดาว หรื อแม้แต่วนมาฆะบูชา ก็เ ป็ นวันทีเ่ กี่ยวข้องกับดวงดาวทั้งสิ้น
                                                                                           ั
ในประเทศจี นมีการใช้ปฏิทนมานานกว่าสามพันปี มีการคานวณแนวทางเดินของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ทาให้ทราบวันทีจะเกิดสุริยุปราคา หรื อ
                              ิ                                                                                            ่
                 ่
จันทรุปราคาได้กอน และถูกต้ องแม่นยา และทีสาคัญคือทุกประเทศ ทุกชาติ มีตานานเกี่ยวกับจักรราศี และใช้จกรราศีเ หมือนกัน ด้วยการสังเกต
                                                 ่                                                             ั
และเฝ้ าติดตามดวงดาว โดยเฉพาะดาวเคราะห์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โดยผูสงเกตอยู่บนโลกทาให้มีการพัฒนาศาสตร์ทางคณิ ตศาสตร์ให้
                                                                           ้ั
ก้าวหน้าได้มาก สามารถคิดหลักการทาง ด้านตรี โกณมิติ โดยดูจากทรงกลมฟากฟ้ า ใช้ในเรื่ องการคานวณหาค่าตัวเลขธรรมชาติหลาย ๆ ตัว เช่น
พาย (π) ค่าซายน์ (sin) คอส (cos) แทน (tan) เป็ นต้น
         ตาแหน่ งของดาวเคราะห์และดวงดาวทั้งหลายรวมทั้งดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ปรากฏอยู่ในแผนทีดาวทีนกโหราศาสตร์คดคานวณ
                                                                                              ่ ่ ั             ิ
จากปฏิทนโหราศาสตร์ และนามาใส่ไว้
       ิ

         เช่น สุริยคติกาล วันที่ 16 เมษายน 2531 วันเสาร์ ขึ้ น 1 ค่า เดือน 6 ปี มะโรง จ.ศ. 1350
         หากเขียนแผนทีดาวในรูปแบบดาวทีใช้ในทางโหราศาสตร์จะได้รูปวงกลมทีแบ่งออกเป็ นส่วนรอบ ๆ 12 ส่วน และมีสี่เ หลี่ยมกลาง
                      ่               ่                                ่

         ตาแหน่ งดาวต่าง ๆ ปรากฏอยู่บนแผนภาพ โดยถือว่าโลกเป็ นจุดศูนย์กลาง หรื อทีเ่ รี ยกว่า Geocentric Measuement

         ตาแหน่ งของดาวจะโคจรเสมือนโคจรรอบโลก ทั้งนี้ เ พราะจุดสังเกตคือเราอยู่บนพื้นโลก ซึ่งคิดว่าคงที่ โดยดูการเคลื่อนไหว
                                                ่่ ่
เปลี่ยนแปลงของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ซึ่งเคลื่อนทีผานกลุมดาวจักรราศี
            ในระบบสุริยะจักรวาล มีดาวเคราะห์ทเี่ ห็นด้วยตาเปล่าชัดเจนห้าดวง ดังนั้นมนุ ษย์ต้งแต่สมัยโบราณได้เ ฝ้ าสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ
                                                                                            ั
ดาวเคราะห์ ซึ่งจะเห็นว่าทุกขณะทีสงเกต จะเห็นดาวเคราะห์อยู่ในกลุมดาวจักรราศี และเคลื่อนทีเ่ ปลี่ยนแปลงตาแหน่งไปตามแนวของจักรราศี
                                 ่ ั                                  ่
ส่วนใหญ่เ คลื่อนทีไปข้างหน้าคือ จากราศีเ มษ ก็ไป พฤษภ ไปราศี มิถน ... แต่บางขณะเวลาดาวเคราะห์กเ็ คลื่อนทีถอยหลัง การเคลื่อนทีถอยหลัง
                     ่                                              ุ                                      ่                       ่
นี้ เ กิดจากจุดสังเกตบนโลกทีมองไป ขณะทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์บางขณะ ทาให้มุมมองของโลกทีมองไปมีลกษณะสั มพัทธ์ททาให้ดาว
                            ่             ่                                                         ่        ั                ี่
เคราะห์เ คลื่อนถอยหลัง

                                                                                                                                             4
สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149




โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เ วลารอบละ 1 ปี ทาให้ตาแหน่งปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตาแหน่งของ
กลุมดาว บนท้องฟ้ าเปลี่ยนแปลงไป ดังภาพที่ 4 ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า“กลุมดาวคนคู่ ” (ราศีเ มถุน)
   ่                                                                     ุ                                        ่
และในเวลาหนึ่ งเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เ คลื่อนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป 30 องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์เ คลื่อนทีไปอยู่หน้า “กลุมดาวปู ”
                                                  ่                                                                 ่           ่
(ราศีกรกฏ) ซึ่งอยู่ถดไป 30° เช่นกัน เราเรี ยกกลุมดาว ซึ่งบอกตาแหน่ งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า “จักราศี ” (Zodiac) ผูคนในสมัยก่อนใช้กลุม
                     ั                          ่                                                                     ้                ่
                                                                                                                          ่
ดาวจักราศีเ ป็ นเสมือนปฏิทนในการกาหนดเวลาเป็ นเดือนและปี โดยการเปรี ยบเทียบตาแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตาแหน่งของกลุมดาวจักราศี
                          ิ
                                                                             ่                        ่
บนท้องฟ้ า โดยการถือเอาเส้นสุริ ยะวิถี เป็ นเส้นรอบวง 360° หารด้วยจานวนกลุมดาวประจาราศีท้ง 12 กลุม ซึ่งห่างกันกลุมละ 30°
                                                                                              ั                         ่

จากรูปภาพของระบบสุริยะจักรวาลทีแสดงทาให้เ ห็นว่าโลกมองเห็นดาวอังคารอยู่ในราศีมีน เห็นดาวศุกร์อยู่ในราศีพฤษภ เห็นดาวอาทิตย์อยู่
                                  ่
ในราศีกรกฎ เห็นดาวพุธอยู่ในราศีสิงห์ เห็นดาวพฤหัสอยู่ในราศีกนย์ และดาวเสาร์อยู่ในราศีพิจิก และถ้าดูดวงจันทร์ดวยก็ข้ ึ นอยู่กบวันข้างแรม
                                                              ั                                              ้              ั
ขณะนั้น การสังเกตในลักษณะทีโลกเป็ นจุดศูนย์กลางจึงเป็ นลักษณะทีคนโบราณเชื่อว่า รังสีของดาวเคราะห์ทแผ่ตรงมายังโลกจะมีอทธิพลต่อ
                               ่                                  ่                                   ี่                      ิ
ชีวตความเป็ นอยู่ ดังนั้นแผนภาพทางโหราศาสตร์ในเรื่ องดาว จึงเป็ นแผนภาพดาวเคราะห์บนฝากฟ้ าทีสงเกตเห็นได้จากพื้นโลก ทาให้เ รา
   ิ                                                                                          ่ ั
สามารถเห็นการโคจรของดาว บนแผนภาพนี้ และสามารถดูตาแหน่งของดาวเคราะห์บนฟากฟ้ าจริ งได้

          การดูดาวเคราะห์จากแผนทีดาว
                                 ่

                                    ื                ่                                           ่            ่
         ลักษณะของแผนทีดาวก็คอทรงกลมท้องฟ้ าทีแบ่งท้องฟ้ าเป็ น 12 ส่วน ตามจักรราศี การเคลื่อนทีของดาวเคราะห์ตาง ๆ ทีคานวณได้
                              ่                                                                                      ่
จะเคลื่อนทีในตาแหน่ งบนท้องฟ้ าโดยดูจาดจุดสังเกตบนโลก ทิศทางการโคจรของดาวเคราะห์จะเดินหน้าไปตามทิศทวนเข็มนาฬิกา ดาวบาง
           ่
                                                       ้                       ่               ่
ดวงจะโคจรได้เ ร็ว (เช่น ดวงจันทร์ ) บางดวงจะโคจรได้ชา เช่นดาวพฤหัสจะเคลื่อนทีได้ประมาณ 1 ราศีตอปี สาหรับดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่
เดือนละ 1 ช่อง หรื อในปี หนึ่ งก็ครบหนึ่ งรอบ ตาแหน่งของดวงอาทิตย์จะอยู่ในราศีตามเดือน

ตัวอย่างเช่น วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ขึ้ น 12 ค่า เดือน 4 ปี เ ถาะ
          วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ดวงอาทิตย์ (1) ยังคงอยู่ราศีกมภ์ ดวงจันทร์ข้ ึ น 12 ค่า หากพิจารณาดูวา ถ้าขึ้ น 15 ค่า หมายถึงอยู่ทามุมกับดวง
                                                            ุ                                       ่
อาทิตย์ 180 องศา ดังนั้นขึ้ น 12 ค่า จึงทามุมประมาณ 144 องศา หนึ่ งช่องประมาณ 30 องศา ดังนั้นพระจันทร์ (2) จึงอยู่แถวช่วงราศีกรกฎ ใน
ภาพแผนทีดาวนี้ จะเห็นดาวพุธ (4) อยู่คดวงอาทิตย์ ในราศีกมภ์ ส่วนดาวศุกร์ (6) และดาวพฤหัส (5) ทามุมประมาณ 30 องศา ดังนั้นขณะพระ
           ่                             ู่                   ุ
อาทิตย์ตกดิน จะเห็นดาวพฤหัสและดาวศุกร์อยู่ใกล้กน ในมุมประมาณ 30-40 องศา ส่วนดาวเสาร์ (7) อยู่ราศีเ มษ หรื อในตอนพระอาทิตย์ลบ
                                                    ั                                                                                        ั
ขอบฟ้ าจะเห็นดาวเสาร์ทามุมบนท้องฟ้ าทางทิศตะวันตกประมาณ 60 องศา ดาวทีเ่ ห็นด้วยตาเปล่าอีกดวงคือดาวอังคาร (3) อยู่ราศีตลจะขึ้ นทาง    ุ
ขอบฟ้ าทิศตะวันออกตอนหลังจากพระอาทิตย์ ตกดับแล้วประมาณ 4 ชัวโมง หรื อประมาณ 22:00 โดยประมาณ โดยประมาณ การคิดคานวณวิถี
                                                                      ่
การโคจรจริ งจะทาให้ทราบเวลาทีแท้จริ งได้
                                   ่



                                                                                                                                             5

More Related Content

Viewers also liked

Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammas
Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammasMūžizglītības programmas comenius apkašprogrammas
Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammasEva Vovka
 
Jingle bells power point
Jingle bells power pointJingle bells power point
Jingle bells power pointMartis Flower
 
Špoģi-Syke
Špoģi-Syke  Špoģi-Syke
Špoģi-Syke Eva Vovka
 
Luminare, inc
Luminare, incLuminare, inc
Luminare, incpatri2593
 
Chachies del boske nuboso
Chachies del boske nubosoChachies del boske nuboso
Chachies del boske nubosokuckling2010
 
Kade karu ott 2
Kade karu ott 2Kade karu ott 2
Kade karu ott 2max97
 
Another world (1)- Laura
Another world (1)- Laura Another world (1)- Laura
Another world (1)- Laura Eva Vovka
 
Selected Projects
Selected ProjectsSelected Projects
Selected Projectsdanhogan14
 
Industrial employment standing_orders_act_1946
Industrial employment standing_orders_act_1946Industrial employment standing_orders_act_1946
Industrial employment standing_orders_act_1946Ravi Jaiswal
 
Geol3 field assignment
Geol3 field assignmentGeol3 field assignment
Geol3 field assignmentLauraLopez2112
 
Another world (2)- Aļona
Another world (2)-  AļonaAnother world (2)-  Aļona
Another world (2)- AļonaEva Vovka
 
Antivirusbok eva eileen margit
Antivirusbok eva eileen margitAntivirusbok eva eileen margit
Antivirusbok eva eileen margitEvaUnn39
 

Viewers also liked (20)

Idiom 1
Idiom  1Idiom  1
Idiom 1
 
Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammas
Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammasMūžizglītības programmas comenius apkašprogrammas
Mūžizglītības programmas comenius apkašprogrammas
 
Jingle bells power point
Jingle bells power pointJingle bells power point
Jingle bells power point
 
Dövrlər
DövrlərDövrlər
Dövrlər
 
LETRA I
LETRA ILETRA I
LETRA I
 
Špoģi-Syke
Špoģi-Syke  Špoģi-Syke
Špoģi-Syke
 
Luminare, inc
Luminare, incLuminare, inc
Luminare, inc
 
Komonvelt portoriko
Komonvelt portorikoKomonvelt portoriko
Komonvelt portoriko
 
LETRA A
LETRA ALETRA A
LETRA A
 
Chachies del boske nuboso
Chachies del boske nubosoChachies del boske nuboso
Chachies del boske nuboso
 
Kade karu ott 2
Kade karu ott 2Kade karu ott 2
Kade karu ott 2
 
Seo para Wordpress
Seo para WordpressSeo para Wordpress
Seo para Wordpress
 
Another world (1)- Laura
Another world (1)- Laura Another world (1)- Laura
Another world (1)- Laura
 
Osnove windows-a
Osnove windows-aOsnove windows-a
Osnove windows-a
 
Selected Projects
Selected ProjectsSelected Projects
Selected Projects
 
Fstpt 15-solo-english
Fstpt 15-solo-englishFstpt 15-solo-english
Fstpt 15-solo-english
 
Industrial employment standing_orders_act_1946
Industrial employment standing_orders_act_1946Industrial employment standing_orders_act_1946
Industrial employment standing_orders_act_1946
 
Geol3 field assignment
Geol3 field assignmentGeol3 field assignment
Geol3 field assignment
 
Another world (2)- Aļona
Another world (2)-  AļonaAnother world (2)-  Aļona
Another world (2)- Aļona
 
Antivirusbok eva eileen margit
Antivirusbok eva eileen margitAntivirusbok eva eileen margit
Antivirusbok eva eileen margit
 

Similar to ปฏิทินยุคโบราณ

พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxSunnyStrong
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณThe Vatican
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptxพื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptxSunnyStrong
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์Anchalee Dhammakhun
 

Similar to ปฏิทินยุคโบราณ (20)

พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
 
ปฏิทินจันทรคติ ประจำปี ๒๕๕๖ : มอบเป็นธรรมทาน
ปฏิทินจันทรคติ ประจำปี ๒๕๕๖ : มอบเป็นธรรมทานปฏิทินจันทรคติ ประจำปี ๒๕๕๖ : มอบเป็นธรรมทาน
ปฏิทินจันทรคติ ประจำปี ๒๕๕๖ : มอบเป็นธรรมทาน
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณพิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
พิธีกรรมในพิธีบูชาขอบพระคุณ
 
Astroplan15
Astroplan15Astroplan15
Astroplan15
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptxพื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
ประวัติย่อของคณิตศาสตร์
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 

ปฏิทินยุคโบราณ

  • 1. สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149 ปฏิทนยุคโบราณ ิ จากหลักฐานทางโบราณคดีทคนพบในปัจจุบน เชื่อกันว่าชนชาติแรกทีคดค้น ระบบการนับวันแบบปฏิทนนั้นคือ ชาวบาบิโลเนี ยน พวกเขา ี่ ้ ั ่ิ ิ กาหนดวัน เดือน ปี โดยสังเกตจากระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ ซึ่งก็คอการสังเกตข้างขึ้ นข้างแรมนั่นเอง โดยเมื่อเกิดข้างขึ้ นและข้างแรมครบ 1 ื รอบก็จะถือเป็ น 1 เดือน ปฏิทนแบบนี้ เ รี ยกว่าปฏิทนจันทรคติ และพวกเขายังกาหนดให้ 1 ปี น้ ันมี 12 เดือนอีกด้วย สาเหตุทชาวบาบิโลเนี ยน ิ ิ ี่ กาหนดให้ 1 ปี มี 12 เดือน ก็เ พราะว่า เมื่อใดทีเ่ กิดข้างขึ้ นและข้างแรมครบ 12 รอบ ฤดูกาลก็จะเวียนกลับมาอีกครั้ง อาณาจักรข้างเคียงก็ได้ ยอมรับเอาปฏิทนของชาวบาบิโลเนี ยมาใช้ในอาณาจักรตนเอง เช่น ชาวอียิปต์โบราณ ชาวกรี ก และชาวเซเมติก เป็ นต้น เมื่อพัฒนาการทาง ิ เทคโนโลยีมีมากขึ้ น ชนชาติทนาเอาปฏิทนแบบบาบิโลเนี ยนไปใช้น้ ัน ก็ได้ทาการปรับปรุงและพัฒนาให้มีความเทียงตรงมากยิ่งขึ้ น โดยเฉพาะ ี่ ิ ่ อย่างยิ่งชาวอียิปต์โบราณ ทีพฒนาแนวคิดเรื่ องปฏิทนได้อย่างรุ ดหน้ามากทีสุด แต่เ ดิมชาวโรมันกาหนดให้ 1 ปี มี 355 วัน (ตามระบบจันทรคติ ) ่ ั ิ ่ ่ ่ และทุก ๆ 4 ปี (ปี อธิกวาร ) ต้องเพิ่มวันเข้าไปอีก 22 วัน เพื่อให้ตรงกับฤดูกาล หรื อการคานวณแบบสุริยคติ ) จนกระทัง 46 ปี กอนคริ สต์ศกราช จู ั เลียส ซีซาร์ แห่ งจักรวรรดิโรมัน ซึ่งได้เ ข้าครอบครองอียิปต์ ในรัชสมัยของพระนางคลีโอพัตรา ได้นาแนวคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ ชื่อ ิ ิ ั โซซิเ จเนส (Sosigenes) มาปรับปรุ งให้หนึ่ งปี มี 365 วัน ปฏิทนแบบนี้ เ รี ยกว่าปฏิทนจูเ ลียน ซึ่งใช้กนมายาวนานจนถึง ค.ศ. 1582 จึงมีการแก้ไข อีกครั้งหนึ่ ง ปฏิทนยุคปัจจุบน ิ ั เนี่ องจากการทีตองเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทน 1 วัน ในทุกๆ 4 ปี ทาให้ในสมัยต่อๆ มาเกิดความสับสนในฤดูกาล กล่าวคือปี ปฏิทนสั้นกว่าปี ฤดูกาล ่ ้ ิ ิ ่ ดังนั้นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติตางๆ จะมาถึงเร็วกว่าปี ปฏิทนมากขึ้ นทุกปี เช่นใน ค .ศ. 1582 วสันตวิษวต (วันทีกลางวันและกลางคืนยาว ิ ุั ่ เท่ากัน) ตามปี ปฏิทนเดิมคือวันที่ 21 มีนาคม แต่ปรากฏการณ์น้ ี กลับเกิดขึ้ นจริ งในวันที่ 11 มีนาคมแทน เมื่อเป็ นเช่นนี้ ศาสนจักรจึงเข้ามามี ิ บทบาทในการแก้ไข พระสันตปาปา เกรกอรี่ ที่ 13 ได้ออกประกาศให้หกวันออกจากปี ปฏิทนเสีย 10 วัน มีผลทาให้ในปี ค.ศ. 1582 นั้นหลังวันที่ ั ิ 4 ตุลาคม กลายเป็ นวันที่ 15 ตุลาคม แทนทีจะเป็ นวันที่ 5 ตุลาคม ในปี อธิกวารให้เ พิ่มวันเป็ นการชัวคราว 1 วันในปี ถดไปให้หกออก นอกจากนี้ ่ ่ ั ั ยังกาหนดให้วนที่ 1 มกราคมของทุกปี เ ป็ นวันขึ้ นปี ใหม่ และให้เ รี ยกปฏิทนแบบใหม่น้ ี วา ปฏิทนเกรกอเรี ยน ประกาศนี้ มีผลทาให้ยุโรปซึ่งอยู่ใต้ ั ิ ่ ิ การปกครองของศาสนจักร ต้องใช้ปฏิทนแบบเดียวกันตั้งแต่น้ ันเป็ นต้นมา ิ ชนิ ดของปฏิทน ิ ปฏิทนสุริยคติ ิ ปฏิทนเกรกอเรี ยน ปฏิทนสุริยคติไทย ปฏิทนจูเ ลียน ิ ิ ิ ปฏิทนญะลาลีย(สุริยคติอหร่าน) ิ ์ ิ ปฏิทนของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ิ ปฏิทนมายา (อเมริ กาใต้) ิ ปฏิทนจันทรคติ ิ ปฏิทนจันทรคติไทย(ปฏิทนจันทรคติราชการ , ปฏิทนจันทรคติปักขคณนา) ปฏิทนฮิจญ์เ ราะหฺ (อิสลาม) ปฏิทนยิว ปฏิทนจันทรคติจีน ิ ิ ิ ิ ิ ิ ่ ปฏิทินสุ ริยคติคือ ปฏิทนทีสอดคล้องกับฤดูกาล และเดคลิเ นชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปี โดยเฉลี่ยมีคา ใกล้เ คียงกับปี ิ ่ ฤดูกาล ปฏิทนเหล่านี้ มี 365 วัน ในหนึ่ งปี และเพิ่มวันหนึ่ งวันในปี อธิกสุรทิน ปฏิทนสุริยคติทแสดงดิถจนทร์ดวย เรี ยกว่า ปฏิทนสุริยจันทรคติ ิ ิ ี่ ีั ้ ิ นอกเหนื อจากนี้ ยังมีปฏิทนทีไม่ใช่ปฏิทนสุรยคติ เช่น ปฏิทนฮิจญ์เ ราะหฺ อันเป็ น ปฏิทนจันทรคติของศาสนาอิสลาม, ปฏิทนที่ ิ ่ ิ ิ ิ ิ ิ สอดคล้องกับคาบซินอดิกของดาวศุกร์ และปฏิทนทีสอดคล้องกับการขึ้ นของดาวฤกษ์ในท้องฟ้ า ิ ่ ปฏิทินจันทรคติเป็ นคาใช้เ รี ยกรูปแบบการใช้ปฏิทนรูปแบบหนึ่ ง โดยใช้ดถของดวงจันทร์เ พื่อบอกข้างขึ้ นข้ างแรมบอกเดือน ซึ่งใน ิ ิี ปัจจุบนระบบปฏิทนทีใช้รูปแบบนี้ ได้เ ปลี่ยนมาใช้ในรู ปแบบปฏิทนสุริยจันทรคติแทนที่ โดยส่วนของจันทรคติใช้งานเฉพาะอ้างอิงวันสาคัญ ั ิ ่ ิ ทางศาสนา หรื อเทศกาลฉลองตามประเพณีด้งเดิม เช่นในปฏิทนจีน ปฏิทนฮิบรู ปฏิทนฮินดู ั ิ ิ ิ 1
  • 2. สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149 ปฏิทนจันทรคติในหนึ่ งเดือนจะนับตามการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ซึ่งประมาณ 29 วันครึ่ ง ซึ่งในหนึ่ งปี จะแบ่งเป็ น 12 เดือนซึ่ง ิ มีท้งหมด 354 วัน โดยวันจะน้อยกว่าปฏิทนสุริยคติ 10 วันเศษ ซึ่งเมื่อถึงปี ทจานวนวันทีเ่ กินมาครบประมาณ 29.5 วันเศษ จะมีการเพิ่มเดือนเข้า ั ิ ี่ มาอีกหนึ่ งเดือน ซึ่งทาให้ปีน้ ันมี 384 วัน ตัวอย่างเช่น ในปฏิทนจันทรคติไทย จะเรี ยกว่าอธิกมาส โดยจะเพิ่มเดือน ๘ เข้ามาอีกหนึ่ งเดือนซึ่ง ิ เรี ยกว่า เดือน ๘/๘ (หรื อ ๘-๘ หรื อ ๘๘ ก็เ ขียน) โดยในปี น้ ันจะมี 13 เดือน ในปี ที่ 3, 6, 9, 11, 14, 17 และ 19 ในปี ทางจันทรคติ จะมี 12 เดือน ได้แก่ เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม เดือนสี่ เดือนห้า เดือนหก เดือนเจ็ด เดือนแปด เดือนเก้า เดือนสิบ ่ เดือนสิบเอ็ด เดือนสิบสอง โดยเดือนคูจะมี 30 วัน คือวันขึ้ น 1 ค่า ถึง วันขึ้ น 15 ค่า และวันแรม 1 ค่า ถึง วันแรม 15 ค่า ส่วนเดือนคีมี 29 วัน คือ ่ วันขึ้ น 1 ค่า ถึง วันขึ้ น 15 ค่า และวันแรม 1 ค่า ถึง วันแรม 14 ค่า นอกจากนี้ ยงมีบางปี ทมีวนแรม 15 ค่า เดือน 7 เรี ยกว่าอธิกวาร โดยจะมีในปี ที่ ั ี่ ั ่ 6, 12, 17, 22, 28, 33 และ 38 ทั้งนี้ เพื่อให้เ ดือนแต่ละเดือนมีคาเฉลี่ยของวันในเดือน าใกล้ 29.530588 วันมากทีสุด เข้ ่ ปฏิทินจันทรคติไทย คือ ปฏิทนทีนบตามคติการโคจรของดวงจันทร์ โดยหมายดูจากปรากฏการณ์ขางขึ้ นข้างแรม สาหรับปฏิทนจันทรคติ ของไทย จะมี ิ ่ ั ้ ิ ด้วยกัน 2 แบบ ดังนี้ ิ ิ ่ ั ปฏิทนจันทรคติราชการ หรื อปฏิทนหลวง เป็ นแบบทีใช้กนมาแต่ด้งเดิม อาศัยการกาหนดรู ปแบบปี ทางจันทรคติ อย่างไรก็ตาม ั หลักการคานวณหารู ปแบบปี จนทรคติ ยังไม่มีการสรุ ปเป็ นสูตรทีตายตัวแน่ชด ใช้เ ป็ นปฏิทนจันทรคติราชการทัวไป ตลอดจน พระสงฆ์ไทย ั ่ ั ิ ่ คณะมหานิ กาย ปฏิทนจันทรคติปักขคณนา เป็ นแบบที่ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จกรี ได้ทรงประดิษฐ์ข้ ึ นมา ิ ั ั ใหม่ มีสูตรคานวณทีแน่ ชด และมีความแม่นยาตามธรรมชาติกว่าแบบราชการอยู่มาก และให้ทรงนามาใช้ในพระสงฆ์ไทย คณะธรรมยุตนิกาย ่ ั ิ การนับช่วงเวลา การนับช่วงเวลาในปฏิทนจันทรคติไทย เป็ นการนับโดยถือ เอาการเปลี่ยนแปลงของดวงจันทร์เ ป็ นหลัก ดังนี้ ิ  คืนเดือนดับ จะสังเกตไม่เ ห็นดวงจันทร์  คืนข้างขึ้ น จะสังเกตเห็นดวงจันทร์เ ป็ นรูปเสี้ยวนิ ดเกียวแล้วค่อยๆ โตขึ้ นในแต่ละวันจนเต็มดวง  คืนเดือนเพ็ญ จะสังเกตเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง  ่ ็ คืนข้างแรม จะสังเกตเห็นดวงจันทร์คอยๆ แหว่งเป็ นรูปเสี้ ยวเล็กลงๆ จนในทีสุดดวงจันทร์กมืดทั้งดวง ่ การอ่านวันตามแบบจันทรคติจะ อ่านเป็ นตัวเลขโดยเริ่ มทีวนอาทิตย์เ ป็ นหนึ่ ง และนับต่อไปตามลาดับจนถึงวันเสาร์นบเป็ นเจ็ด และมี ่ั ั ๓ การกาหนดดิถีดวงจันทร์และตัวเลขเดือนกากับอย่างย่อ โดยใช้สญลักษณ์เ ป็ นตัวเลข ดังตัวอย่าง ๖ ๓ อ่านว่า วันศุกร์ ขึ้ น 3 ค่า เดือน 3 ั ฯ การนับวันทางจันทรคติ เริ่ มนับวันขึ้ น 1 ค่า จนถึงขึ้ น 15 ค่า แล้วจึ งขึ้ นวันแรม 1 ค่า ถึงวันแรม 14 ค่า ในเดือนคี่ และวันแรม 15 ค่า ใน เดือนคู่ จึงทาให้เ ดือนคีมี 29 วัน เดือนคูมี 30 วัน การนับเดือนทางจันทรคติ เริ่ มต้นนับเดือนธันวาคมเป็ นเดือน 1 เรี ยกว่าเดือนอ้าย มกราคมเป็ น ่ ่ เดือนที่ 2 เรี ยกว่า เดือนยี่ และนับเดือน 3 เดือน 4 ไปจนถึงเดือน 12 ยกเว้นเขตภาคเหนื อตอนบน หรื อดินแดนล้านนาเดิม ทีมีการนับเดือนเร็ว ่ กว่า 2 เดือน กล่าวคือ ในวันลอยกระทง ตรงกับเดือน 12 ใต้ และตรงกับเดือน 2 เหนื อ (12, 1, 2) ส่วนวันมาฆบูชา ตรงกับเดือน 3 ใต้ และ เดือน 5 เหนื อ การนับปี ทางจันทรคติ นับตามเวลาการโคจรของดวงจันทร์รอบ โลก 1 รอบ ใช้เ วลา 29 วันครึ่ งในเวลา 1 เดือน ถ้านับ 29 วัน เวลาจะ ่ ่ ั ่ ่ ขาดไป 12 ชัวโมง แต่ถานับ 30 วัน เวลาจะเกินไป 12 ชัวโมง จึงต้องนับ 59 วัน เป็ น 2 เดือน โดยให้นบเดือนคีมี 29 วัน และเดือนคูมี 30 วัน โดย ้ เดือนคีเ่ ป็ นเดือนต้น เดือนคูเ่ ป็ นเดือนรองถัดไป สลับจนครบ 12 เดือน แล้วเริ่ มต้นใหม่ ถ้านับวันปี ทางจันทรคติจะมีเ พียง 354 วัน ซึ่งมีวนน้อย ั 2
  • 3. สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149 กว่าปี ทางสุริยคติถง 11 วันต่อปี เมื่อรวม 3 ปี จะได้ 33 วัน ดังนั้นในทุกๆ 3 ปี ทางจันทรคติ จะมีเ ดือน 8 สองหน คือจะมี 13 เดือน เรี ยกปี น้ ันว่า ึ ปี อธิกมาส ความเข้ าใจผิดเกียวกับการอ่ านปฏิทินจันทรคติไทย ่ การสังเกตดวงจันทร์ เ พื่อใช้จดทาปฏิทน ใช้เ วลาเทียงคืน ใช้ดวงจันทร์เ สมือน ทีถอว่าโคจรรอบโลกด้วยอัตราเร็วคงที่ (ในทางปฏิบติ ั ิ ่ ่ื ั ดวงจันทร์จริ ง อาจคลาดเคลื่อนไปจากดวงจันทร์เ สมือนได้ถง 0.65 วัน) ึ จันทร์ดบ หรื อวันเดื อนดับ หมายถึงคืนทีดวงจันทร์เ ป็ นเสี้ยวเล็กทีสุด ในรอบเดือนนั้น ไม่จาเป็ นต้องเป็ นแรม 14- 15 ค่า อาจเป็ นขึ้ น 1 ั ่ ่ ค่า ก็ได้ จันทร์เ พ็ญ หรื อวันเดือนเพ็ญ หรื อวันเดือนเต็มดวง หมายถึง คืนทีดวงจันทร์สว่างเต็มดวงมากทีสุด ในรอบเดือนนั้น โดยหลักการแล้ว ่ ่ จะไม่ใช่ท้ง ข้างขึ้ น หรื อข้างแรม เพราะเป็ นช่วงเวลาทีดวงจันทร์อยู่ตรงกลาง ระหว่างสองข้าง ถ้าเทียบกับภูเ ขา ก็คอยอดเขา ในปฏิทนไทย วัน ั ่ ื ิ เพ็ญไม่จาเป็ นต้องเป็ นขึ้ น15 ค่า อาจเป็ นแรม 1 ค่า ก็ได้ (ในทางทฤษฎีของดวงจันทร์เ สมือน มีโอกาสเกิดในวันแรม 1 ค่า ราว 27%) จันทร์ครึ่ งดวง ไม่จาเป็ นต้องเป็ นวันขึ้ น 8 ค่า หรื อแรม 8 ค่า ซึ่งเป็ นวันพระ อาจเป็ นวันขึ้ น 7 ค่า หรื อแรม 7 ค่า ก็ได้ นอกจากความเข้าใจผิดในการอ่านปฏิทนไทยทีได้ยกตัวอย่างมาแล้ว ปฏิทนไทยมีความคลาดเคลื่อน 2 ส่วน คือ ส่วนการทดวัน (ทาง ิ ่ ิ ิ ่ ึ ปฏิทน) ซึ่งมีคาได้ถง 0.5วัน โดยเฉพาะในเดือน 6 ของปี อธิกวารเป็ นช่วงทีรอทดวัน กับส่วนความเป็ นวงรี ของ วงโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ่ ่ ึ (ทางดาราศาสตร์ ) ซึ่งมีคาได้ถง 0.65 วัน อีกส่วนหนึ่ ง การสั งเกตดวงจันทร์ อ ย่างง่าย วันจันทร์เ พ็ญ ่ ่ วันจันทร์เ พ็ญอาจเป็ นวันขึ้ น 15 ค่า หรื อแรม 1 ค่าก็ได้ ผูที่เ คยสังเกตดวงจันทร์จะทราบดีวา เป็ นการยากมากทีจะบอกได้วา วันไหนเป็ นวันเพ็ญ ้ ่ เพราะมักจะเห็นว่าเต็มดวงอยู่ 2 วัน บางท่านอาจเห็น 4 วัน ต้องใช้รูปถ่ายทีขยายแล้วนามาเทียบกัน การดูจนทร์เ พ็ญอย่างง่ายในเขตร้อน เช่น ่ ั ประเทศไทย ให้ดเู วลาทีดวงอาทิตย์ตกดังนี้ ่ 1.ถ้าคืนนั้นเป็ นจันทร์เ พ็ญ จะเห็นดวงจันทร์กาลังขึ้ นพอดี อยู่ฝั่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ 2.ถ้าดวงจันทร์อยู่สูงเกิน 7 องศา แสดงว่ายังไม่ถงวันจันทร์เ พ็ญ ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าดวงจันทร์ดานล่างยังแหว่งอยู่ เป็ นข้างขึ้ น เช่น ขึ้ น14 ค่า ึ ้ (หรื ออาจเป็ นขึ้ น 15 ค่าก็ได้ในบางเดือน) 3.ถ้าดวงอาทิตย์ลบขอบฟ้ าไปแล้วราว 1/2 ชัวโมง แต่ดวงจันทร์ยงไม่ข้ ึ นเลย และเมื่อดวงจันทร์ข้ ึ นแล้วให้สงเกตว่า ดวงจันทร์ดานบนจะแหว่ง ั ่ ั ั ้ ไปเล็กน้อย กรณี น้ ี เ ป็ นแรม 1 - 2 ค่า วันจันทร์ดบอย่างง่าย ั วันจันทร์ดบอาจเป็ นวันแรม 14-15 ค่า หรื อขึ้ น 1 ค่าก็ได้ (มีโอกาส ราว 50%) การดูจนทร์เ พ็ญอย่างง่ายในเขตร้อน เช่นประเทศไทย ให้ดเู วลาที่ ั ั ดวงอาทิตย์ตกดังนี้ 1.ถ้าคืนนั้นดวงจันทร์ยงไม่ดบ จะไม่เ ห็นดวงจันทร์เ ลย เพราะดวงจันทร์ตกขอบฟ้ าไปก่อนดวงอาทิตย์ เช่น วันแรม 13-14-15 ค่า ั ั ็ 2.ถ้าคืนนั้นเป็ นคืนจันทร์ดบพอดี อาจไม่เ ห็นดวงจันทร์กได้ เพราะดวงจันทร์จะตกไล่เ ลี่ยกับดวงอาทิตย์ คือตกก่อนหรื อหลังดวงอาทิตย์ไม่เ กิน ั ครึ่ งชัวโมง เช่น แรม 14-15 ค่า ขึ้ น 1 ค่า ่ 3
  • 4. สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149 3. ถ้าคืนนั้นเป็ นคืนอมาวสี (จันทร์ดบ) คือ คืนถัดจากคืนจันทร์ดบ จะเห็นดวงจันทร์เ ป็ นเสี้ ยวบางๆ หงายท้อง และตกตาม หลังดวงอาทิตย์ไป ั ั ราว 1/2 ชัวโมง เช่น ขึ้ น 2 ค่า อาจเป็ นขึ้ น 1 ค่าก็ได้ ในบางเดือน) ่ วันจันทร์ครึ่ งดวง รูปร่างดวงจันทร์ครึ่ งดวงสังเกตได้ไม่ยาก อย่างไรก็ตามหากต้องดูให้ละเอียดขึ้ น ให้สงเกตดังนี้ ั 1.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่ งดวงข้างขึ้ น ให้ดตอนทีดวงอาทิตย์ตก ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้ า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากเป็ นวันขึ้ น 8 ค่า แต่อาจ ู ่ เป็ นขึ้ น 7 ค่าก็ได้ 2.การสังเกตดวงจันทร์ครึ่ งดวงข้างแรม ให้ดในตอนทีดวงอาทิตย์ข้ ึ น ดวงจันทร์จะอยู่กลางฟ้ า (ทางทิศใต้) พอดี ส่วนมากตรงกับวันแรม 8 ค่า ู ่ แต่อาจเป็ นแรม 7 ค่าก็ได้ การดูจนทร์ ดบ/เพ็ญจากอุปราคา จันทรุปราคา จะเกิดในคืนจันทร์เ พ็ญเท่านั้น มักเป็ นวันขึ้ น 15 ค่าและมีโอกาสเกิดในวันขึ้ น 14 ค่าได้ ั ั ด้วย แต่มีโอกาสน้อยมาก แต่บางครั้งอาจเป็ นแรม 1 ค่าก็ได้ โดยเฉพาะถ้าขึ้ นจันทรุปราคาในช่วงหัวค่า ส่วนสุริยุปราคา มักจะเกิดในวันจันทร์ ดับ แต่ในบางครั้งเกิดในวันถัดไปก็ได้ โดยเฉพาะหากเกิดช่วงเช้า วันเกิดสุริยุปราคามักตรงกับวันขึ้ น 1 ค่า หรื อวันแรมสุดท้ายของเดือน ปฏิทินดาว คาว่า "ดารา" คือเรื่ องเกี่ยวกับดวงดาว ดาราศาสตร์ เป็ นวิชาการทีวาด้วยเหตุอนเกิดจากดาว (Astrology ) ส่วนคาว่า "โหรา" เป็ นคา ่่ ั ่่ สันสกฤต ตรงกับภาษาละตินว่า Hora ซึ่งมีความหมายถึง เวลา วิชาทีวาด้วยการคานวณเวลา ่ ่ ความเชื่อในเรื่ องโหราศาสตร์ หรื ออิทธิพลของดวงดาวทีมีตอมนุ ษย์โลกมีมานานแล้ว มีมาในทุกชาติทกภาษา เราจะเห็นได้ชดว่าสมัย ุ ั พุทธกาลก็มีการกล่าวถึง วันประสู ติ ตรัสรู ้ ปริ นิพพาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับดวงดาว หรื อแม้แต่วนมาฆะบูชา ก็เ ป็ นวันทีเ่ กี่ยวข้องกับดวงดาวทั้งสิ้น ั ในประเทศจี นมีการใช้ปฏิทนมานานกว่าสามพันปี มีการคานวณแนวทางเดินของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ทาให้ทราบวันทีจะเกิดสุริยุปราคา หรื อ ิ ่ ่ จันทรุปราคาได้กอน และถูกต้ องแม่นยา และทีสาคัญคือทุกประเทศ ทุกชาติ มีตานานเกี่ยวกับจักรราศี และใช้จกรราศีเ หมือนกัน ด้วยการสังเกต ่ ั และเฝ้ าติดตามดวงดาว โดยเฉพาะดาวเคราะห์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โดยผูสงเกตอยู่บนโลกทาให้มีการพัฒนาศาสตร์ทางคณิ ตศาสตร์ให้ ้ั ก้าวหน้าได้มาก สามารถคิดหลักการทาง ด้านตรี โกณมิติ โดยดูจากทรงกลมฟากฟ้ า ใช้ในเรื่ องการคานวณหาค่าตัวเลขธรรมชาติหลาย ๆ ตัว เช่น พาย (π) ค่าซายน์ (sin) คอส (cos) แทน (tan) เป็ นต้น ตาแหน่ งของดาวเคราะห์และดวงดาวทั้งหลายรวมทั้งดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ปรากฏอยู่ในแผนทีดาวทีนกโหราศาสตร์คดคานวณ ่ ่ ั ิ จากปฏิทนโหราศาสตร์ และนามาใส่ไว้ ิ เช่น สุริยคติกาล วันที่ 16 เมษายน 2531 วันเสาร์ ขึ้ น 1 ค่า เดือน 6 ปี มะโรง จ.ศ. 1350 หากเขียนแผนทีดาวในรูปแบบดาวทีใช้ในทางโหราศาสตร์จะได้รูปวงกลมทีแบ่งออกเป็ นส่วนรอบ ๆ 12 ส่วน และมีสี่เ หลี่ยมกลาง ่ ่ ่ ตาแหน่ งดาวต่าง ๆ ปรากฏอยู่บนแผนภาพ โดยถือว่าโลกเป็ นจุดศูนย์กลาง หรื อทีเ่ รี ยกว่า Geocentric Measuement ตาแหน่ งของดาวจะโคจรเสมือนโคจรรอบโลก ทั้งนี้ เ พราะจุดสังเกตคือเราอยู่บนพื้นโลก ซึ่งคิดว่าคงที่ โดยดูการเคลื่อนไหว ่่ ่ เปลี่ยนแปลงของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ซึ่งเคลื่อนทีผานกลุมดาวจักรราศี ในระบบสุริยะจักรวาล มีดาวเคราะห์ทเี่ ห็นด้วยตาเปล่าชัดเจนห้าดวง ดังนั้นมนุ ษย์ต้งแต่สมัยโบราณได้เ ฝ้ าสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ ั ดาวเคราะห์ ซึ่งจะเห็นว่าทุกขณะทีสงเกต จะเห็นดาวเคราะห์อยู่ในกลุมดาวจักรราศี และเคลื่อนทีเ่ ปลี่ยนแปลงตาแหน่งไปตามแนวของจักรราศี ่ ั ่ ส่วนใหญ่เ คลื่อนทีไปข้างหน้าคือ จากราศีเ มษ ก็ไป พฤษภ ไปราศี มิถน ... แต่บางขณะเวลาดาวเคราะห์กเ็ คลื่อนทีถอยหลัง การเคลื่อนทีถอยหลัง ่ ุ ่ ่ นี้ เ กิดจากจุดสังเกตบนโลกทีมองไป ขณะทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์บางขณะ ทาให้มุมมองของโลกทีมองไปมีลกษณะสั มพัทธ์ททาให้ดาว ่ ่ ่ ั ี่ เคราะห์เ คลื่อนถอยหลัง 4
  • 5. สรุปบทที่ 4 #206100-2/2554: 541810149 โลกหมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยใช้เ วลารอบละ 1 ปี ทาให้ตาแหน่งปรากฏของดวงอาทิตย์ เทียบกับตาแหน่งของ กลุมดาว บนท้องฟ้ าเปลี่ยนแปลงไป ดังภาพที่ 4 ยกตัวอย่าง เช่น ในเดือนมิถนายน เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่หน้า“กลุมดาวคนคู่ ” (ราศีเ มถุน) ่ ุ ่ และในเวลาหนึ่ งเดือนต่อมา ดวงอาทิตย์เ คลื่อนทีในทิศทวนเข็มนาฬิกาไป 30 องศา เราก็จะมองเห็นดวงอาทิตย์เ คลื่อนทีไปอยู่หน้า “กลุมดาวปู ” ่ ่ ่ (ราศีกรกฏ) ซึ่งอยู่ถดไป 30° เช่นกัน เราเรี ยกกลุมดาว ซึ่งบอกตาแหน่ งดวงอาทิตย์ ในแต่ละเดือนว่า “จักราศี ” (Zodiac) ผูคนในสมัยก่อนใช้กลุม ั ่ ้ ่ ่ ดาวจักราศีเ ป็ นเสมือนปฏิทนในการกาหนดเวลาเป็ นเดือนและปี โดยการเปรี ยบเทียบตาแหน่งของดวงอาทิตย์ กับตาแหน่งของกลุมดาวจักราศี ิ ่ ่ บนท้องฟ้ า โดยการถือเอาเส้นสุริ ยะวิถี เป็ นเส้นรอบวง 360° หารด้วยจานวนกลุมดาวประจาราศีท้ง 12 กลุม ซึ่งห่างกันกลุมละ 30° ั ่ จากรูปภาพของระบบสุริยะจักรวาลทีแสดงทาให้เ ห็นว่าโลกมองเห็นดาวอังคารอยู่ในราศีมีน เห็นดาวศุกร์อยู่ในราศีพฤษภ เห็นดาวอาทิตย์อยู่ ่ ในราศีกรกฎ เห็นดาวพุธอยู่ในราศีสิงห์ เห็นดาวพฤหัสอยู่ในราศีกนย์ และดาวเสาร์อยู่ในราศีพิจิก และถ้าดูดวงจันทร์ดวยก็ข้ ึ นอยู่กบวันข้างแรม ั ้ ั ขณะนั้น การสังเกตในลักษณะทีโลกเป็ นจุดศูนย์กลางจึงเป็ นลักษณะทีคนโบราณเชื่อว่า รังสีของดาวเคราะห์ทแผ่ตรงมายังโลกจะมีอทธิพลต่อ ่ ่ ี่ ิ ชีวตความเป็ นอยู่ ดังนั้นแผนภาพทางโหราศาสตร์ในเรื่ องดาว จึงเป็ นแผนภาพดาวเคราะห์บนฝากฟ้ าทีสงเกตเห็นได้จากพื้นโลก ทาให้เ รา ิ ่ ั สามารถเห็นการโคจรของดาว บนแผนภาพนี้ และสามารถดูตาแหน่งของดาวเคราะห์บนฟากฟ้ าจริ งได้ การดูดาวเคราะห์จากแผนทีดาว ่ ื ่ ่ ่ ลักษณะของแผนทีดาวก็คอทรงกลมท้องฟ้ าทีแบ่งท้องฟ้ าเป็ น 12 ส่วน ตามจักรราศี การเคลื่อนทีของดาวเคราะห์ตาง ๆ ทีคานวณได้ ่ ่ จะเคลื่อนทีในตาแหน่ งบนท้องฟ้ าโดยดูจาดจุดสังเกตบนโลก ทิศทางการโคจรของดาวเคราะห์จะเดินหน้าไปตามทิศทวนเข็มนาฬิกา ดาวบาง ่ ้ ่ ่ ดวงจะโคจรได้เ ร็ว (เช่น ดวงจันทร์ ) บางดวงจะโคจรได้ชา เช่นดาวพฤหัสจะเคลื่อนทีได้ประมาณ 1 ราศีตอปี สาหรับดวงอาทิตย์จะเคลื่อนที่ เดือนละ 1 ช่อง หรื อในปี หนึ่ งก็ครบหนึ่ งรอบ ตาแหน่งของดวงอาทิตย์จะอยู่ในราศีตามเดือน ตัวอย่างเช่น วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ขึ้ น 12 ค่า เดือน 4 ปี เ ถาะ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ดวงอาทิตย์ (1) ยังคงอยู่ราศีกมภ์ ดวงจันทร์ข้ ึ น 12 ค่า หากพิจารณาดูวา ถ้าขึ้ น 15 ค่า หมายถึงอยู่ทามุมกับดวง ุ ่ อาทิตย์ 180 องศา ดังนั้นขึ้ น 12 ค่า จึงทามุมประมาณ 144 องศา หนึ่ งช่องประมาณ 30 องศา ดังนั้นพระจันทร์ (2) จึงอยู่แถวช่วงราศีกรกฎ ใน ภาพแผนทีดาวนี้ จะเห็นดาวพุธ (4) อยู่คดวงอาทิตย์ ในราศีกมภ์ ส่วนดาวศุกร์ (6) และดาวพฤหัส (5) ทามุมประมาณ 30 องศา ดังนั้นขณะพระ ่ ู่ ุ อาทิตย์ตกดิน จะเห็นดาวพฤหัสและดาวศุกร์อยู่ใกล้กน ในมุมประมาณ 30-40 องศา ส่วนดาวเสาร์ (7) อยู่ราศีเ มษ หรื อในตอนพระอาทิตย์ลบ ั ั ขอบฟ้ าจะเห็นดาวเสาร์ทามุมบนท้องฟ้ าทางทิศตะวันตกประมาณ 60 องศา ดาวทีเ่ ห็นด้วยตาเปล่าอีกดวงคือดาวอังคาร (3) อยู่ราศีตลจะขึ้ นทาง ุ ขอบฟ้ าทิศตะวันออกตอนหลังจากพระอาทิตย์ ตกดับแล้วประมาณ 4 ชัวโมง หรื อประมาณ 22:00 โดยประมาณ โดยประมาณ การคิดคานวณวิถี ่ การโคจรจริ งจะทาให้ทราบเวลาทีแท้จริ งได้ ่ 5