SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
รายงาน
                   โครงงานเทคโนโลยี “เกาอี้หวงหาม”




                              จัดทําโดย
                 นาย นภัสดล พลแดง                  เลขที่ 5
                  นาย วงศธร ปาลี                  เลขที่ 18
                 นายสุชาติ องคมิ้น               เลขที่ 32
                  นาย บวรศิรวานิช
                            ิ                     เลขที่ 39

                              หอง ม.6/14



                                   เสนอ
                          ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ




รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 33202
                        ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
                  โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม
ก
                                                คํานำ


      โครงงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง 33202) จัดทาขึ้นเพื่อตองการ
 ศึกษาและพัฒนาความรูทางดานทักษะความคิดสรางสรรค และสามารถนาไปตอยอดและใชประโยชนได
จริง โดยมีคุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ เปนผูใหคาแนะนาในการทาสิ่งประดิษฐตางๆ ตั้งแตแรกเริ่มจนถึงการ
 ออกแบบและเขียนรายงาน โดยทาใหรูขั้นตอนวิธีการทา ในการหาสิ่งประดิษฐ อยางถูกตองและถูกวิธี ทา
ใหการทางานในแตละขั้นตอนตองมีการวางแผนรวมกันในกลุม เพื่อคิดอยางเปนเหตุเปนผลกันและไดมีการ
            วิเคราะหถึงปญหา อุปสรรคในการทางาน ทาใหสามารถคิด วิเคราะหหาทางออกได
       โครงงานเลมนี้ไดจัดทาขึ้นเพื่อประกอบกับชิ้นงานประดิษฐ ซึ่งมีทั้งขั้นตอนการทาและวิธีการทา
อยางละเอียด ผลงาน เกาอี้หวงหาม เปนความคิดที่คิดขึ้นวา ในโลกปจจุบันไมวาจะเปศไหนก็ตามก็ลวนแตมี
ขโมยและโจรเยอะมาก ทางผูจัดทาไดรวมกันคิดและวิเคราะหแลววา เกาอี้ หวงหาม สามารถเปนไดทั้งที่นั่ง
   และสามารถปองกันของหายได สามารถใชไดในทุกๆที่ โดยเฉพาะบริเวณในหองเรียนตามโรงเรียนหรือ
มหาวิทยาลัยตาง หรือแมแตไปเที่ยวในที่ตางๆ หรืออาจจะใชภายในบาน ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่ง เพราะเกาอี้
หวงหามตัวนี้สามารถใชประโยชนไดอยางมากในการชวยปองกันไมใหของที่อยูในกระเปาหาย และเกาอี้ตัว
นี้มีขนาดใหญปานกลาง และสามารถนาไปใชไดอยางสะดวก และยังสามารถนาไปตอยอดเพิ่มเติมไดอาจจะ
               ปรับขนาดใหเล็กลงหรือใหญขึ้น ตามความชอบและประโยชนดานการใชสอย
        โครงงานเทคโนโลยี “เกาอี้หวงหาม”เลมนี้คงมีประโยชนไมมาก็นอยสาหรับผูที่ตองการศึกษา
    หากมีขอผิดพลาดประการใด ทางผูจัดทาตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย และจะนาไปแกไขปรับปรุงในการ
                                         ทางานครั้งตอไปใหดีขึ้น


                                                                                                  คณะผูจัดทํา
ข
                                                   สารบัญ

เรื่อง                                                      หนา
คํานํา                                                       ก
สารบัญ                                                       ข
บทที่ 1 บทนา                                                  1
บทที่ 2 การรวบรวมขอมูล                                       3
บทที่ 3 การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน              7
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน                                       9
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ                       17
บรรณานุกรม                                                   20
แบบประเมินชิ้นงาน                                            21
บทที่ 1


                                                                      บทนำ

                                                   ชื่อโครงงานเทคโนโลยี“เกาอี้หวงหาม”
                                                          ชื่อผูทําโครงงานเทคโนโลยี
                                                             1. นาย นภัสดล พลแดง
                                                                2. นาย วงศธร ปาลี
                                                              3.นายสุชาติ องคมิ้น
                                                               4.นาย บวร ศิริวานิช
                                              ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปจจุบัน สิ่งของเครื่องใชมากมายไดถูกมนุษยพยายามคิดคน และประดิษฐขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการ
ของมนุษย โดยดูเหมือนวาความตองการนั้นไมสามารถจากัดได เมื่อมีสิ่งหนึ่งแลวก็อยากไดที่ดีกวา สวยกวากันทั้งนั้น ซึ่ง
มันก็ถือเปนเรื่องธรรมชาติของมนุษยในยุคนี้ไปเสียแลว จากความตองการที่ไมมีขีดจากัดนี้ การสรางสิ่งประดิษฐที่มี
ประโยชนใชสอยอยางหลากหลาย แถมยังตองมีรูปลักษณที่สวยงาม นาใช จึงเปนสิ่งสาคัญที่จะชักนา หรือหันเหความ
สนใจจากผูบริโภค หรือบุคคลทั่วไป


แตถึงอยางไรนั้น สิ่งประดิษฐ หรือของใชที่ถูกนาเสนอออกมาในยุคปจจุบัน สวนมากจะเปนการตอบสนองความ
ตองการของกลุมคนกลุมใหญ หรือองคกรใหญๆ ที่มีงบประมาณสูง แตสาหรับสิ่งของ เครื่องใชที่สามารถตอบสนองความ
ตองการของบุคคลทั่วไป ในการดาเนินชีวิตประจาวันดูเหมือนจะไมคอยไดรับความสนใจจากนักประดิษฐหรือผูคิดคนมาก
นัก ทาใหคนทั่วไปมีความสะดวกสบายแตก็ไมเต็มที่มากนัก ทางผูจัดทาไดเล็งเห็นถึงความสาคัญของการตอบสนองความ
ตองการของคนในการใชชีวิตประจาวัน มีความสนใจและฉุกคิดถึงอุปกรณหรือสิ่งของที่คนธรรมดา สามัญสามารถใชได
และใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด


จากการตองการคิดคนสิ่งของที่จะทาประโยชนแกคนทั่วไปได ผูจัดทาไดสังเกตเห็นปญหาของคนที่นั่งในที่
สาธารณะสถานที่ตางคือการถูกขโมยกระเปา ทรัพยสิน ของมีคา และปญหาตางๆ อีกมากมายผูจัดทาจึงไดคิดหาอุปกรณที่
ชวยใหคนพวกนั้นหมดปญหาที่มีอยูไปได และไดสรุปวาจะเกาอี้หวงหาม ซึ่งเกาอี้ที่คิดขึ้นนี้จะชวยในเรื่องของการเก็บ
กระเปา ถุง อุปกรณที่คลายกระเปา ซึ่งก็คือตรงตัวของเกาอี้จะมีชองสาหรับใสสายของกระเปา หูหิ้ว ที่สาคัญจะตองสะดวก
ตอการใชงานอีกดวย


เกาอี้หวงหามจึงถือเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจสาหรับผูที่ตามหาสิ่งของเครื่องใชที่มีคุณภาพ และประโยชน
ใชสอยมากมายเชนนี้ บวกกับรูปลักษณที่สวยงามแลวนั้นหากใครมีไวในครอบครองก็คงจะเปนที่นายินดี และนาอิจฉา
2
จุดมุงหมาย
เกาอี้หวงหามสิ่งอานวยความสะดวกแกคนทุกวัย โดยเฉพาะวัยเด็ก วัยรุน หรือ วัยทางานเนื่องจากมีรูปลักษณที่
ทันสมัย สีสันสดใส และมีความแปลกใหม สามารถใชสิ่งประดิษฐนใน หลายสถานที่และใชไดสะดวก เชน นั่งเลนใน
                                                                  ี้
รานอาหาร ไปเที่ยวสวนสาธารณะ เปนตน เกาอี้ตัวนี้ยัง ชวยแกปญหาสาหรับผูที่ไมชอบถือของพะรุงพะรัง หรือมีนิสัยขี้ลืม
ซึ่งสามารถเปนที่แขวนกระเปา เปนสิ่งที่ชวยเตือนสติ และยังชวยไมใหถูกขโมยทรัพยสินหรือแมกระทั่งสิ่งของสาคัญที่
ตองการเก็บไวกับตัว ซึ่งจะชวยแกปญหาไดอยูในระดับดีเลยทีเดียว


นิยามศัพทเฉพาะ (Definition)
anti theft chair (เกาอี้ปองกันขโมย)


ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน
2.ชิ้นงานที่สรางขึ้นสามารถใชงานไดจริง
3.เกิดทักษะในการออกแบบผลิตภัณฑรวมทั้งการทางานเปนหมูคณะ
4.รูและเขาใจเรื่องการสรางงานที่มีประสิทธิภาพและเกิดผลประโยชนสูงสุด
5.ชวยปองกันของหายหรือกระเปาหายได
3


                                                                    บทที่ 2
                                                               การรวบรวมขอมูล


การจัดทาโครงงาน “เกาอี้หวงหาม” รายวิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยี ผูจัดทาไดศึกษาและรวบรวมขอมูล
จาก เอกสาร และขอมูลจากอินเทอรเน็ต ที่เกี่ยวของประกอบดวย


1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นที่ 4(ม.4-6)
สาระการออกแบบและเทคโนโลยี
2. ความรูเกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี
3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ ประเภท เกาอี้
4. ความรูเกี่ยวกับ วัสดุอุปกรณที่จะใชทาเฟอรนิเจอร
5. ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ( เชน ขอมูลจากการสัมภาษณ ฯลฯ)
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นที่ 4(ม.4-6)
ประกอบดวย มาตรฐานการเรียน รู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูดังนี(กรมวิชาการ,2551)
                                                                ้
1.1 มาตรฐานการเรียนรู มีดังนี้
ง 2. 1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ ตามกระบวนการ
เทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมใน
การจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
1.2 ตัวชี้วัดมีดังนี้
ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ
ง 2.1.2 วิเคราะหระบบเทคโนโลยี
ง 2.1.3 การสรางชิ้นงาน หรือถายทอดความคิด ของวิธีการเปนแบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใชซอฟทแวร
ชวย ในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน
ง 2.1.5 วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจาวัน อยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม และ
มีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด
1.3 สาระการเรียนรู มีดังนี้



1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร
1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบดวย ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ
(Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง ตอเทคโนโลยี (Consideration)
1.3.3 การวิเคราะหระบบเทคโนโลยีทาใหทราบเกี่ยวกับปจจัยในดานตางๆ ที่มีผลตอการ
แกปญหาหรือสนอง ความตองการ
4


1.3.4 การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทาใหผูเรียน
ทางานอยางเปนระบบ สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย


1.3.5 การใชซอฟทแวรชวยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน มีประโยชนในการชวย
รางภาพ ทาภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช ตองคานึงถึง หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน


1.3.7 หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน เปนการวิเคราะหจุดมุงหมายของ การออกแบบประกอบดวย ชิ้นงานนี้ใชทา
อะไร ทาไมถึงตองมีชิ้นงานนี้ ใครเปนผูใช ใชที่ไหน เมื่อไรจึงใช วิธีการ ที่ทาใหชิ้นงานนี้ทางานไดตามวัตถุประสงค


1.3.8 ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน ประกอบดวยภาพดานหนา
ดานขาง ดานบน แสดงขนาดและหนวยวัด เพื่อนาไปสรางชิ้นงาน
1.3.9 ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลองในการคิด
ความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ
1.3.10 ความคิดแปลกใหมที่ได ตองไมละเมิดความคิดผูอื่น
1.3.11 ความคิดแปลกใหมเปนการสรางนวัตกรรมที่อาจนาไปสูการจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร
การวิเคราะหผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสม
1.3..12 การเลือกใชสิ่งของเครื่องใช างสรางสรรค โดยการเลือกสิ่งของ ที่เปนมิตรกับชีวิตอยเครื่องใช
สังคม สิ่งแวดลอม
1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเปน ดการเทคโนโลยี ยั่งยืนแบบหนึ่งการจัที
2. ความรูเกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี(Technology Project Work)
โครงงานเทคโนโลยี จัดเปนโครงงานที่เกี่ยวกับการนาความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางหรือประดิษฐ
เครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณหรือวิธีการเพื่อใชแกปญหาหรือสนองความตองการซึ่งอาจเปนการสรางหรือประดิษฐของใหม
ๆ ปรับปรุงหรือพัฒนาของเดิมที่มีอยูแลวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการสรางแบบจาลองเพื่ออธิบาย
วิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการหรือแนวความคิดตาง ๆ โครงงานเทคโนโลยีจึงมีสวนคลายกับโครงงานประเภท
สิ่งประดิษฐ แตโครงงานเทคโนโลยีมีความแตกตางจากโครงงานประเภทสิงประดิษฐที่ไมมีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา
                                                                          ่



ในการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีไดใชกระบวนการเทคโนโลยีของ สถาบัน
สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดปญหาหรือความตองการ (Identification the problem , need or preference)
2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information)
                                ี
3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution)
4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
5. ทดสอบ (Testing to see if it works)
6. การปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)
5

7. ประเมินผล (Assessment)
1.กาหนดปญหาหรือความตองการ (Identification the problem , need or preference)
เมื่อมนุษยเกิดปญหาหรือความตองการ ขั้นแรกคือ การทาความเขาใจปญหานั้น ๆ อยางละเอียด หรือกาหนด
ขอบเขตการแกปญหา ระบุความตองการใหชัดเจนวาตองการอะไร โดยเขียนเปนขอความสั้น ๆ ใหไดใจความชัดเจน
2. รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information)
เมื่อกาหนดปญหาหรือความตองการแลว ขั้นตอนตอไป คือ เก็บรวบรวมขอมูลและความรูทุกดานที่
เกี่ยวของกับปญหาหรือความตองการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสาหรับแกปญหา หรือสนองความตองการที่กาหนดไว ทาได
                                                                        
หลายวิธี เชน ขอมูลเหลานี้จะนาไปสูการไดวิธีการแกปญหา หรือสนองความตองการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เปน ขั้นตอน
ที่สาคัญมาก ซึ่งจะเปนชองทางที่สามารถใสเนื้อหาที่เราตองการใหนักเรียนไดเรียนรู และถือวาเปนชองทางของการบูรณา
การไดดีที่สุด
3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution)
ในขั้นนี้ เปนการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสาหรับแกปญหา โดยนาขอมูล และความรูที่รวบรวมได มา
ประกอบกันจนไดขอสรุปวา จะเลือกวิธีการแกปญหาหรือวิธีการสนองความตองการเปนแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึด
แนวที่วา เมื่อเลือกแลวจะทาใหสิ่งนั้นดีขึ้น
(Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัดขึ้น ( Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหลานี้ จะตองสอดคลองกับ
ทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู
4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
ขั้นตอนนี้ตองการใหนักเรียนรูจักคิดออกแบบ ซึ่งไมจาเปนตองเปนสิ่งของเครื่องใชเสมอไป อาจเปน วิธีการก็ได
และการออกแบบไมจาเปนตองเขียนแบบเสมอไป อาจเปนแคลาดับความคิด หรือจินตนาการใหเปนขั้นตอนซึ่งรวม
ปฏิบัติการลงไปดวย นั่นคือเมื่อออกแบบแลวตองลงมือทา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ ออกแบบไว
5. ทดสอบ (Testing to see if it works)
เปนการนาสิ่งประดิษฐหรือวิธีการนั้นทดลองใชเพื่อทดสอบวาใชงานหรือทางานได หรือไมมีขอบกพรองอยางไร
ถายังไมไดก็ไปสูขั้นตอนตอไป คือ ปรับปรุง แกไข
6. การปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)
หลังจากการทดสอบผลแลวพบวา สิ่งประดิษฐที่สรางขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไมทางานมีขอบกพรอง ก็ทาการ
ปรับปรุงแกไข โดยอาจเลือกวิธีการใหมก็ไดคือยอนไปขั้นตอนที่ 3
7. ประเมินผล (Assessment)
หลังจากปรับปรุงแกไขจนใชงานไดดีตามวิธีการที่ออกแบบแลว ก็นามาประเมินผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้
บางกิจกรรมอาจไมครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบางก็ไดแตเมื่อนาไปใช แลว นักเรียนรูจักที่
จะทางานเปนขั้นตอน เปนระบบ ยอนกลับมาดู หรือแกไขไดตามขั้นตอนที่ทาไปได
6


3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ ประเภท เกาอี้
3.1หนาที่ใชสอย
3.2 ความปลอดภัย
ฯลฯ
5. ความรูเกี่ยวกับ การเลือกใชวัสดุที่จะใชในการทาเฟอรนิเจอร ฯลฯ
6. ความรูเกี่ยวกับ อุปสรรคในการใชไมประเภทตางๆในการนามาทาเฟอรนเิ จอร ฯลฯ
7.ความรูเกี่ยวกับ วิธีปองกันอุปสรรคในการเลือกใชไมนามาทาเฟอรนิเจอร ฯลฯ
8. ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ( เชน ขอมูลจากการสัมภาษณ ฯลฯ)
จากการสัมภาษณ - (ระบุชื่อ ที่อยู ฯลฯ) ไดขอมูลดังนี้
ถาม -
ตอบ -
9.งานวิจัย หรือรายงานโครงงานเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ(ถามี)
7
                                                                  บทที่ 3
                                               การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน


ในการจัดทาโครงงาน เกาอี้หวงหาม ผูจัดทาไดมีกรอบแนวคิดหรือขั้นตอนในการดาเนินงานดังนี้
3.1 กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน เกาอี้หวงหาม
(อาจนาเสนอเปน Flowchart ใหดูตัวอยาง และปรับใช โดยเฉพาะขันตอนการลงมือปฏิบัติ ใหนักเรียน
                                                            ้
เพิ่มกระบวนการทางานโดยใช PDCA )



   Plan (วางแผน)
        -วางแผนการดาเนินงาน ครอบคลุมถึงการ
       กาหนดหัวขอที่ตองการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง                                           Do (ปฏิบัติตามแผน)

         -การแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน                                                 -การดาเนินการตามแผน
     ไดแกการกาหนดเปาหมาย หรือวัตถุประสงคของ                                                 -วิธีการดาเนินการ
       การดาเนินงาน การจัดอันดับความสาคัญของ
                                                                                                 -ผลของการดาเนินการ
                        เปาหมาย

           -กาหนดการดาเนินงาน
            -กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน
         -กาหนดผูรับผิดชอบหรือผูดาเนินการและ
              กาหนดงบประมาณที่จะใช


   Act (ปรับปรุงแกไข)
         - นาผลการประเมินมาวิเคราะห                                       Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน)
      วามีขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร                                           -การประเมินการดาเนินการ
     ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยูแลวใหดี
                  ยิ่งขึ้นไปอีก                                                    -การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน
                                                                               -การประเมินผลของการดาเนินงานตามแผน
          -สังเคราะหรูปแบบ การ                                                              ที่ไดตั้งไว
    ดาเนินการใหมที่เหมาะสม สาหรับการ
           ดาเนินการ ในปตอไป
8
   3.2 การนาความรูจากสาระตาง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงาน




        สาระคณิตศาสตร                                                                      สาระศิลปะ
         เรื่อง เรขาคณิต                                                               เรื่อง ภาพสเกตซ
   รูปทรงของชิ้นงานที่นามา                                                         ใชในการออกแบบชิ้นงาน
เขียนเปนแบบงานในงานเขียน                                                       จากความคิดหรือจินตนาการของ
 แบบเทคนิคลวนแลวแตมีการ                                                  ผูออกแบบ เพื่อนาไปใชเขียนแบบที่มี
 นาเอารูปทรงเรขาคณิตมาใช                                                              รายละเอียดตาง ๆ
  และนามาประยุกตเพื่อเขียน                                                       สมบูรณตามมาตรฐานตอไป
    เปนรูปทรงของแบบงาน
 ดังนั้น ผูที่จะทาการเขียนแบบ
  งานจึงจาเปนที่จะตองเรียนรู
และฝกหัดการเขียนรูปทรงทาง
 เรขาคณิตพรอมทั้งการนาเอา
รูปทรงตาง ๆ ทางเรขาคณิตมา
 ประยุกตใชในการเขียนแบบ
                 งาน

                                                            โครงงาน
                                                          เกาอี้หวงหาม
                                                 …………………………
                                                         ……………
                                                               …


                                                   สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                                         เรื่อง การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
                                  การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ถือวาเปนขั้นตอนที่
                                    สาคัญมากเนื่องจากขั้นตอนนี้เปนการเขียนภาพราง 3 มิติ
                                              เพื่อที่จะนาไปสรางเปนชิ้นงานจริงตอไป
9
                                                                 บทที่ 4
                                                             ผลการปฏิบัติงาน


ในการดาเนินงานโครงงาน “เกาอี้หวงหาม” ผูจัดทาไดดาเนินการตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ
สสวท.ดังนี้
ขั้นที่ 1 การกาหนดปญหาและความตองการ (Identification the problem , need or preference)
เวลาที่เราหรือนักเรียน นักศึกษาหรือผูที่กาลังศึกษาการเรียนนั้น ตองเอากระเปาวางไวที่พื้นไมก็พิง
ขางขาเกาอี้ แลวเหมาะกับชวงยุคปจจุบันที่ขโมยและโจร มิจฉาชีพเยอะมากขึ้นในสังคมทุกๆวัน เพื่อปองกัน
การขโมย กันของและทรัพยสินหาย จึงไดคิดเกาอี้หวงหามตัวนี้ขึ้นมาเพื่อนามาประยุกตใชในสังคมปจจุบัน
          ขั้นที2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information)
ตองมีเทคนิคในการเพิ่มพื้นที่ใหดูกวางขึ้นกวาเดิม อาจทาไดโดยการ จัดสรรพื้นที่การใชสอยที่ดี
จัดสรรพื้นที่ใชสอย การตกแตงใหดูเรียบโลง โปรงสบาย ฉากหรือมานที่เลื่อนเปดปดได เพื่อใหสามารถ
ปรับเปลี่ยนพื้นที่ใชสอยไดตามความเหมาะสม นอกจากจะเปนฉากรับภาพที่ดีแลว ยังชวยสรางมิติในเชิงลึก
ใหกับหอง ทาใหหองดูเหมือนมีพื้นที่กวางขึ้น แตสิ่งที่ตองตระหนักมากที่สุดคือการเลือกใชเฟอรนิเจอรให
เหมาะสม ควรเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking) แทนการใช
เฟอรนิเจอรหลายชิ้นนั้น ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยประหยัดพื้นที่ใชสอยทาใหสามารถใชประโยชน จาก
พื้นที่ที่มีอยูไดคุมคามากยิ่งขึ้น และหากเปนเฟอรนิเจอรที่สามารถเก็บแบบซอนชิ้นเล็กในชิ้นใหญ ได จะ
สามารถชวยประหยัดพื้นที่ไดมากยิ่งขึ้น


ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution)
เลือกวิธีการเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking) แทนการใช
เฟอรนิเจอรหลายชิ้นนั้น ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยประหยัดพื้นที่ใชสอยทาใหสามารถใชประโยชน
10
ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)

Plan (วางแผน) โดยการวาดภาพรางดวยมือ และในคอมพิวเตอร
11

Do (ปฏิบัติตามแผน) โดยการใชกระดาษไทยรัฐทาเปนโมเดลขนาดเล็ก




                             ขั้นตอนที่ 1 วัดขนาดใหไดตามที่ตองการ
12




ขั้นตอนที่ 2 ตัดกระดาษตามที่วัดไว
13


ขั้นตอนที่ 3 นาสวนที่ตัดกันแลวมาประกบกันแลวทารูปทรงของเกาอี้
14
ขั้นตอนที่ 4 ประกอบตามแบบที่ไดเขียนไวในตอนแรก
15
ขั้นตอนที่ 6. การปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)
16
ขั้นตอนที่ 7. ประเมินผล (Assessment)
หลังจากการที่ไดแกไขผลงานแลว ผลปรากฏวาชิ้นงานโมเดลเกาอี้ที่ทาออกมาแข็งแรงและคง
รูปรางเหมือนเดิม ไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาออกแบบใชงานไดจริง และมันงายที่จะนามาเปน
ตัวอยางในการสรางผลิตภัณฑ และสามารถนามาสรางใชไดจริงในชีวิตประจาวันของเรา เราสามารถที่จะ
เลือกปรับขนาดของผลิตภัณฑไดตามความตองการของเราเองได โดยเราไดเลือกใชวัสดุอุปกรณที่เหมาะสม
กับผลิตภัณฑที่เราตองการจะผลิตขึ้นมา ซึ่งเราสามารถที่จะเลือกปรับขนาดของผลิตภัณฑตามความตองการ
ใชงานของเราเองได
จากปญหาที่ผูจัดทาไดพบนั้น ในตอนแรกทางผูจัดทาไดทาโมเดลเปนกระดาษ ทาใหไมสามารถ
กะระยะแลวคานวณความกวางความยาวหรือความสมจริงไดเทากับขนาดของเกาอี้ทั่วไป อีกทั้งยังมีขนาด
เล็ก และยังไมมีความแข็งแรงพอ ทาใหเห็นภาพที่ตองการจะสื่อออกมามีความไมชัดเจน จากคาแนะนาของ
คุณครู ทาใหทางผูจัดทามีความคิดที่จะแกไขชิ้นงานวา เราควรจะเลือกใชไมที่มีความแข็งแรงทนทาน และ
สามารถรับนาหนักของคนไดดีในการทาเกาอี้หวงหามออกมาในรูปแบบของจริง ทาใหการแกไขชิ้นงานนี้มี
ขนาดที่ใหญขึ้น ทาใหความหมายที่ตองการจะสื่อมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
17
                                                            บทที่ 5
                                         สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

    กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน “เกาอี้หวงหาม”
    1. วางแผน (Plan)

       - วางแผนการดาเนินงาน ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวขอที่ตองการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

       - การแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ไดแกการกาหนดเปาหมาย หรือวัตถุประสงคของการ

ดาเนินงาน การจัดอันดับความสาคัญของ เปาหมาย

       - กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน
       - กาหนดผูรับผิดชอบหรือผูดาเนินการและกาหนดงบประมาณที่จะใช

         2. ปฏิบัติตามแผน ( DO )
       - การดาเนินการตามแผน

       - วิธีการดาเนินการ

       - ผลของการดาเนินการ

         3. ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check)
       -การประเมินการดาเนินการ
       -การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน

       -การประเมินผลของการดาเนินงานตามแผนที่ไดตั้งไว

         4. ปรับปรุงแกไข (Act)
       - นาผลการประเมินมาวิเคราะหวามีขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่ง
       ที่ดีอยูแลวใหดียิ่งขึ้นไปอีก

       - สังเคราะหรูปแบบ การดาเนินการใหมที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปตอไป
18
การนาความรูจากสาระตาง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงาน
1. สาระคณิตศาสตร เรื่อง เรขาคณิต
ในงานเขียนแบบเทคนิคลวนแลวแตมีการนาเอารูปทรงเรขาคณิตมาใชและนามาประยุกตเพื่อเขียนเปนรูปทรงของแบบงาน


2. สาระศิลปะ เรื่อง ภาพสเกตซ , ภาพ 3 มิติ
นาไปใชเขียนแบบที่มีรายละเอียดตาง ๆสมบูรณตามมาตรฐาน
3. สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร
เปนขั้นตอนที่สาคัญมากเนื่องจากขั้นตอนนี้เปนการเขียนภาพราง 3 มิติ เพื่อที่จะ
นาไปสรางเปนชิ้นงานจริงตอไป




ผลการปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 1 การกาหนดปญหาและความตองการ (Identification the problem , need or preference)
ผูคนที่พักอาศัยอยูที่บานหลังเล็กหรือวาคอนโดมิเนียมมักจะประสบกับปญหาพื้นที่ใชสอยที่มีอยูอยางจากัด
ขั้นที2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information)
จัดสรรพื้นที่การใชสอยที่ดจัดสรรพื้นที่ใชสอย การตกแตงให ดูเรียบโลง โปรงสบาย ฉากหรือี
มานที่เลื่อนเปดปดได เพื่อใหสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่ใชสอยไดตามความเหมาะสม ทาให
หองดูเหมือนมีพื้นที่กวางขึ้น
ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution)
วิธีการเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking)
ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
Plan (วางแผน) โดยการวาดภาพรางดวยมือ และในคอมพิวเตอร
Do (ปฏิบัติตามแผน) โดยการใชกระดาษไทยรัฐทาเปนโมเดลขนาดเล็ก
19
4. อภิปรายผล ใหนาเสนอ วานักเรียนไดรับความรูอะไรเพิ่มเติม และเกิดองคความรูใหมอะไรบาง
ขอเสนอแนะ ใหนาเสนอ เปนขอ ๆ วามีขอเสนอแนะอะไรบางจากการทาโครงงาน และจะนาเสนอใหผูอื่นดาเนินการตอ
ยอดโครงงานของตนเองอยาง
a. ความรูที่ไดรับเพิ่มเติม
ไดรูเกี่ยวกับวิธีการเลือกใชวัสดุอุปกรณใหเหมาะสมกับชิ้นงาน
ไดรูเกี่ยวกับวิธีการทาชิ้นงานใหแข็งแรง ทนตอสิ่งเราตางๆ
ไดรูเกี่ยวกับวิธีการแกปญหาในการเลือกใชวัสดุในการทาชิ้นงาน
b. เกิดองคความรูใหมๆ
เกิดทักษะการเขียน และ ออกแบบชิ้นงานเพื่อใหไดผลงานที่เปนที่นาพอใจและสามารถนามาใช
ประโยชนไดจริง
เกิดทักษะการคิดวิเคราะหและการวางแผนอยางเปนระบบเพื่อใหงานบรรลุเปาหมายและนาไปสู
ความสาเร็จ



4.3 ขอเสนอแนะ
1. ควรใหความสาคัญถึงเรื่องการเลือกวัตถุดิบที่เหมาะสมแกการนามาสรางงานเพื่อใหมีคุณภาพงานที่ดีและมี
ประสิทธิภาพในการใชงานไดจริงในชีวิตประจาวัน
2.ควรคิดและออกแบบผลิตภัณฑที่เปนไปได สรางไดงาย ใชงานไดจริง เปนประโยชนตอการใชสอยตอไป
3.โครงงาน “เกาอี้หวงหาม” สามารถนาไปปรับรูปแบบโครงสรางผลิตภัณฑใหเปนโตะ หรือเกาอี้ที่มีความ
สะดวกสบายก็ไดตามแตความคิดสรางสรรค
4.ควรจัดการวางแผนการการทางานกอนตั้งแตเริ่มทาโครงงาน เพราะจะชวยใหการทางานเปนไปตาม ขั้นตอน
อยางเหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือวาการออกแบบ คือ การวาง แผนการทางานที่ดี
5.สมาชิกในกลุมควรใหความรวมมือกันในการสรางงาน เพื่อจะไดรวมกันแกไขจุดที่บกพรอง อภิปรายและ
สรุปผลออกมาไดอยางดีเยี่ยม
20


                                                         บรรณานุกรม




Art & Design. 30 สิ่งประดิษฐไอเดียเจง[ออนไลน].เขาถึงไดจาก http://www.poppaganda.net/art-design/1546/ (วันที่
คนขอมูล : 12 กุมภาพันธ 2556)



การเขียนภาพสามมิต.ิ [ออนไลน].เขาถึงไดจาก https://sites.google.com/site/kheiynbaebthekhnikhbeuxngtn/kar-kheiyn-
phaph-3-miti (วันที่คนขอมูล : 12 กุมภาพันธ 2556)
21
                                       แบบประเมินชิ้นงาน


        o         ผูเรียนประเมิน
        o        ครูผูสอนประเมิน


รายการประเมิน                       คะแนนการประเมิน
                                         123               4   5
ความคิดสรางสรรค                         /
  ความนาสนใจ                             /
 คุณภาพของงาน                             /

ประโยชนใชสอย                                             /
เทคนิคการนาเสนอ                                       /
รวมคะแนน


                                                                   ลงชื่อ สุชาติ องคมิ้น
                                                                   (นายสุชาติ องคมิ้น)
                                                                         ผูประเมิน

More Related Content

What's hot

โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพnang_phy29
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2ทับทิม เจริญตา
 
Present gifted kr2556
Present gifted kr2556Present gifted kr2556
Present gifted kr2556satapisat
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้Oat saruntorn O
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Nutchuda Somphun
 
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดOrasa Deethung
 

What's hot (20)

โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
Backward design
Backward designBackward design
Backward design
 
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ7.หลักสูตรการงานอาชีพ
7.หลักสูตรการงานอาชีพ
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
Present gifted kr2556
Present gifted kr2556Present gifted kr2556
Present gifted kr2556
 
A
AA
A
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้
ชุดกิจกรรมฝึกทักษะงานช่างไม้
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
K 13 16
K 13 16K 13 16
K 13 16
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

Viewers also liked

Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектов
Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектовЭкосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектов
Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектовEvernote
 
Hujan asam
Hujan asamHujan asam
Hujan asamAzizaty
 
Hujan asam
Hujan asamHujan asam
Hujan asamAzizaty
 
Bahasa indonesia pp
Bahasa indonesia ppBahasa indonesia pp
Bahasa indonesia ppAzizaty
 
Power to the People: Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScript
Power to the People:  Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScriptPower to the People:  Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScript
Power to the People: Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScriptPeterBrunone
 

Viewers also liked (6)

Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектов
Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектовЭкосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектов
Экосистема Evernote и каналы продвижения партнерских проектов
 
Hujan asam
Hujan asamHujan asam
Hujan asam
 
Hujan asam
Hujan asamHujan asam
Hujan asam
 
Bahasa indonesia pp
Bahasa indonesia ppBahasa indonesia pp
Bahasa indonesia pp
 
Panela
PanelaPanela
Panela
 
Power to the People: Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScript
Power to the People:  Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScriptPower to the People:  Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScript
Power to the People: Manipulating SharePoint with Client-Side JavaScript
 

Similar to รายงาน

ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบPum Pep
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานNuTty Quiz
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_Plai_fah
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lynnie1177
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...heemaa
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมChanakarn Phophot
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSoldic Kalayanee
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมMintra Pudprom
 

Similar to รายงาน (20)

เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
Piano
PianoPiano
Piano
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 

รายงาน

  • 1. รายงาน โครงงานเทคโนโลยี “เกาอี้หวงหาม” จัดทําโดย นาย นภัสดล พลแดง เลขที่ 5 นาย วงศธร ปาลี เลขที่ 18 นายสุชาติ องคมิ้น เลขที่ 32 นาย บวรศิรวานิช ิ เลขที่ 39 หอง ม.6/14 เสนอ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการเรียนรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง 33202 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม
  • 2. คํานำ โครงงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง 33202) จัดทาขึ้นเพื่อตองการ ศึกษาและพัฒนาความรูทางดานทักษะความคิดสรางสรรค และสามารถนาไปตอยอดและใชประโยชนได จริง โดยมีคุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ เปนผูใหคาแนะนาในการทาสิ่งประดิษฐตางๆ ตั้งแตแรกเริ่มจนถึงการ ออกแบบและเขียนรายงาน โดยทาใหรูขั้นตอนวิธีการทา ในการหาสิ่งประดิษฐ อยางถูกตองและถูกวิธี ทา ใหการทางานในแตละขั้นตอนตองมีการวางแผนรวมกันในกลุม เพื่อคิดอยางเปนเหตุเปนผลกันและไดมีการ วิเคราะหถึงปญหา อุปสรรคในการทางาน ทาใหสามารถคิด วิเคราะหหาทางออกได โครงงานเลมนี้ไดจัดทาขึ้นเพื่อประกอบกับชิ้นงานประดิษฐ ซึ่งมีทั้งขั้นตอนการทาและวิธีการทา อยางละเอียด ผลงาน เกาอี้หวงหาม เปนความคิดที่คิดขึ้นวา ในโลกปจจุบันไมวาจะเปศไหนก็ตามก็ลวนแตมี ขโมยและโจรเยอะมาก ทางผูจัดทาไดรวมกันคิดและวิเคราะหแลววา เกาอี้ หวงหาม สามารถเปนไดทั้งที่นั่ง และสามารถปองกันของหายได สามารถใชไดในทุกๆที่ โดยเฉพาะบริเวณในหองเรียนตามโรงเรียนหรือ มหาวิทยาลัยตาง หรือแมแตไปเที่ยวในที่ตางๆ หรืออาจจะใชภายในบาน ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่ง เพราะเกาอี้ หวงหามตัวนี้สามารถใชประโยชนไดอยางมากในการชวยปองกันไมใหของที่อยูในกระเปาหาย และเกาอี้ตัว นี้มีขนาดใหญปานกลาง และสามารถนาไปใชไดอยางสะดวก และยังสามารถนาไปตอยอดเพิ่มเติมไดอาจจะ ปรับขนาดใหเล็กลงหรือใหญขึ้น ตามความชอบและประโยชนดานการใชสอย โครงงานเทคโนโลยี “เกาอี้หวงหาม”เลมนี้คงมีประโยชนไมมาก็นอยสาหรับผูที่ตองการศึกษา หากมีขอผิดพลาดประการใด ทางผูจัดทาตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย และจะนาไปแกไขปรับปรุงในการ ทางานครั้งตอไปใหดีขึ้น คณะผูจัดทํา
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา คํานํา ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 การรวบรวมขอมูล 3 บทที่ 3 การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน 7 บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน 9 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 20 แบบประเมินชิ้นงาน 21
  • 4. บทที่ 1 บทนำ ชื่อโครงงานเทคโนโลยี“เกาอี้หวงหาม” ชื่อผูทําโครงงานเทคโนโลยี 1. นาย นภัสดล พลแดง 2. นาย วงศธร ปาลี 3.นายสุชาติ องคมิ้น 4.นาย บวร ศิริวานิช ชื่อครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปจจุบัน สิ่งของเครื่องใชมากมายไดถูกมนุษยพยายามคิดคน และประดิษฐขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการ ของมนุษย โดยดูเหมือนวาความตองการนั้นไมสามารถจากัดได เมื่อมีสิ่งหนึ่งแลวก็อยากไดที่ดีกวา สวยกวากันทั้งนั้น ซึ่ง มันก็ถือเปนเรื่องธรรมชาติของมนุษยในยุคนี้ไปเสียแลว จากความตองการที่ไมมีขีดจากัดนี้ การสรางสิ่งประดิษฐที่มี ประโยชนใชสอยอยางหลากหลาย แถมยังตองมีรูปลักษณที่สวยงาม นาใช จึงเปนสิ่งสาคัญที่จะชักนา หรือหันเหความ สนใจจากผูบริโภค หรือบุคคลทั่วไป แตถึงอยางไรนั้น สิ่งประดิษฐ หรือของใชที่ถูกนาเสนอออกมาในยุคปจจุบัน สวนมากจะเปนการตอบสนองความ ตองการของกลุมคนกลุมใหญ หรือองคกรใหญๆ ที่มีงบประมาณสูง แตสาหรับสิ่งของ เครื่องใชที่สามารถตอบสนองความ ตองการของบุคคลทั่วไป ในการดาเนินชีวิตประจาวันดูเหมือนจะไมคอยไดรับความสนใจจากนักประดิษฐหรือผูคิดคนมาก นัก ทาใหคนทั่วไปมีความสะดวกสบายแตก็ไมเต็มที่มากนัก ทางผูจัดทาไดเล็งเห็นถึงความสาคัญของการตอบสนองความ ตองการของคนในการใชชีวิตประจาวัน มีความสนใจและฉุกคิดถึงอุปกรณหรือสิ่งของที่คนธรรมดา สามัญสามารถใชได และใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด จากการตองการคิดคนสิ่งของที่จะทาประโยชนแกคนทั่วไปได ผูจัดทาไดสังเกตเห็นปญหาของคนที่นั่งในที่ สาธารณะสถานที่ตางคือการถูกขโมยกระเปา ทรัพยสิน ของมีคา และปญหาตางๆ อีกมากมายผูจัดทาจึงไดคิดหาอุปกรณที่ ชวยใหคนพวกนั้นหมดปญหาที่มีอยูไปได และไดสรุปวาจะเกาอี้หวงหาม ซึ่งเกาอี้ที่คิดขึ้นนี้จะชวยในเรื่องของการเก็บ กระเปา ถุง อุปกรณที่คลายกระเปา ซึ่งก็คือตรงตัวของเกาอี้จะมีชองสาหรับใสสายของกระเปา หูหิ้ว ที่สาคัญจะตองสะดวก ตอการใชงานอีกดวย เกาอี้หวงหามจึงถือเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจสาหรับผูที่ตามหาสิ่งของเครื่องใชที่มีคุณภาพ และประโยชน ใชสอยมากมายเชนนี้ บวกกับรูปลักษณที่สวยงามแลวนั้นหากใครมีไวในครอบครองก็คงจะเปนที่นายินดี และนาอิจฉา
  • 5. 2 จุดมุงหมาย เกาอี้หวงหามสิ่งอานวยความสะดวกแกคนทุกวัย โดยเฉพาะวัยเด็ก วัยรุน หรือ วัยทางานเนื่องจากมีรูปลักษณที่ ทันสมัย สีสันสดใส และมีความแปลกใหม สามารถใชสิ่งประดิษฐนใน หลายสถานที่และใชไดสะดวก เชน นั่งเลนใน ี้ รานอาหาร ไปเที่ยวสวนสาธารณะ เปนตน เกาอี้ตัวนี้ยัง ชวยแกปญหาสาหรับผูที่ไมชอบถือของพะรุงพะรัง หรือมีนิสัยขี้ลืม ซึ่งสามารถเปนที่แขวนกระเปา เปนสิ่งที่ชวยเตือนสติ และยังชวยไมใหถูกขโมยทรัพยสินหรือแมกระทั่งสิ่งของสาคัญที่ ตองการเก็บไวกับตัว ซึ่งจะชวยแกปญหาไดอยูในระดับดีเลยทีเดียว นิยามศัพทเฉพาะ (Definition) anti theft chair (เกาอี้ปองกันขโมย) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน 2.ชิ้นงานที่สรางขึ้นสามารถใชงานไดจริง 3.เกิดทักษะในการออกแบบผลิตภัณฑรวมทั้งการทางานเปนหมูคณะ 4.รูและเขาใจเรื่องการสรางงานที่มีประสิทธิภาพและเกิดผลประโยชนสูงสุด 5.ชวยปองกันของหายหรือกระเปาหายได
  • 6. 3 บทที่ 2 การรวบรวมขอมูล การจัดทาโครงงาน “เกาอี้หวงหาม” รายวิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยี ผูจัดทาไดศึกษาและรวบรวมขอมูล จาก เอกสาร และขอมูลจากอินเทอรเน็ต ที่เกี่ยวของประกอบดวย 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นที่ 4(ม.4-6) สาระการออกแบบและเทคโนโลยี 2. ความรูเกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี 3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ ประเภท เกาอี้ 4. ความรูเกี่ยวกับ วัสดุอุปกรณที่จะใชทาเฟอรนิเจอร 5. ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ( เชน ขอมูลจากการสัมภาษณ ฯลฯ) 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชวงชั้นที่ 4(ม.4-6) ประกอบดวย มาตรฐานการเรียน รู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูดังนี(กรมวิชาการ,2551) ้ 1.1 มาตรฐานการเรียนรู มีดังนี้ ง 2. 1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ ตามกระบวนการ เทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมใน การจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน 1.2 ตัวชี้วัดมีดังนี้ ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ ง 2.1.2 วิเคราะหระบบเทคโนโลยี ง 2.1.3 การสรางชิ้นงาน หรือถายทอดความคิด ของวิธีการเปนแบบจาลองความคิดและการรายงานผลโดยใชซอฟทแวร ชวย ในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน ง 2.1.5 วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจาวัน อยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม และ มีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด 1.3 สาระการเรียนรู มีดังนี้ 1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร 1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบดวย ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง ตอเทคโนโลยี (Consideration) 1.3.3 การวิเคราะหระบบเทคโนโลยีทาใหทราบเกี่ยวกับปจจัยในดานตางๆ ที่มีผลตอการ แกปญหาหรือสนอง ความตองการ
  • 7. 4 1.3.4 การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทาใหผูเรียน ทางานอยางเปนระบบ สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย 1.3.5 การใชซอฟทแวรชวยในการออกแบบหรือนาเสนอผลงาน มีประโยชนในการชวย รางภาพ ทาภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ 1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช ตองคานึงถึง หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน 1.3.7 หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน เปนการวิเคราะหจุดมุงหมายของ การออกแบบประกอบดวย ชิ้นงานนี้ใชทา อะไร ทาไมถึงตองมีชิ้นงานนี้ ใครเปนผูใช ใชที่ไหน เมื่อไรจึงใช วิธีการ ที่ทาใหชิ้นงานนี้ทางานไดตามวัตถุประสงค 1.3.8 ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน ประกอบดวยภาพดานหนา ดานขาง ดานบน แสดงขนาดและหนวยวัด เพื่อนาไปสรางชิ้นงาน 1.3.9 ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลองในการคิด ความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ 1.3.10 ความคิดแปลกใหมที่ได ตองไมละเมิดความคิดผูอื่น 1.3.11 ความคิดแปลกใหมเปนการสรางนวัตกรรมที่อาจนาไปสูการจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร การวิเคราะหผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 1.3..12 การเลือกใชสิ่งของเครื่องใช างสรางสรรค โดยการเลือกสิ่งของ ที่เปนมิตรกับชีวิตอยเครื่องใช สังคม สิ่งแวดลอม 1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเปน ดการเทคโนโลยี ยั่งยืนแบบหนึ่งการจัที 2. ความรูเกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี(Technology Project Work) โครงงานเทคโนโลยี จัดเปนโครงงานที่เกี่ยวกับการนาความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางหรือประดิษฐ เครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณหรือวิธีการเพื่อใชแกปญหาหรือสนองความตองการซึ่งอาจเปนการสรางหรือประดิษฐของใหม ๆ ปรับปรุงหรือพัฒนาของเดิมที่มีอยูแลวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการสรางแบบจาลองเพื่ออธิบาย วิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการหรือแนวความคิดตาง ๆ โครงงานเทคโนโลยีจึงมีสวนคลายกับโครงงานประเภท สิ่งประดิษฐ แตโครงงานเทคโนโลยีมีความแตกตางจากโครงงานประเภทสิงประดิษฐที่ไมมีการกาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ่ ในการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีไดใชกระบวนการเทคโนโลยีของ สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดปญหาหรือความตองการ (Identification the problem , need or preference) 2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information) ี 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution) 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) 6. การปรับปรุงแกไข (Modification and improvement)
  • 8. 5 7. ประเมินผล (Assessment) 1.กาหนดปญหาหรือความตองการ (Identification the problem , need or preference) เมื่อมนุษยเกิดปญหาหรือความตองการ ขั้นแรกคือ การทาความเขาใจปญหานั้น ๆ อยางละเอียด หรือกาหนด ขอบเขตการแกปญหา ระบุความตองการใหชัดเจนวาตองการอะไร โดยเขียนเปนขอความสั้น ๆ ใหไดใจความชัดเจน 2. รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information) เมื่อกาหนดปญหาหรือความตองการแลว ขั้นตอนตอไป คือ เก็บรวบรวมขอมูลและความรูทุกดานที่ เกี่ยวของกับปญหาหรือความตองการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสาหรับแกปญหา หรือสนองความตองการที่กาหนดไว ทาได  หลายวิธี เชน ขอมูลเหลานี้จะนาไปสูการไดวิธีการแกปญหา หรือสนองความตองการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เปน ขั้นตอน ที่สาคัญมาก ซึ่งจะเปนชองทางที่สามารถใสเนื้อหาที่เราตองการใหนักเรียนไดเรียนรู และถือวาเปนชองทางของการบูรณา การไดดีที่สุด 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution) ในขั้นนี้ เปนการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสาหรับแกปญหา โดยนาขอมูล และความรูที่รวบรวมได มา ประกอบกันจนไดขอสรุปวา จะเลือกวิธีการแกปญหาหรือวิธีการสนองความตองการเปนแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึด แนวที่วา เมื่อเลือกแลวจะทาใหสิ่งนั้นดีขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัดขึ้น ( Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหลานี้ จะตองสอดคลองกับ ทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) ขั้นตอนนี้ตองการใหนักเรียนรูจักคิดออกแบบ ซึ่งไมจาเปนตองเปนสิ่งของเครื่องใชเสมอไป อาจเปน วิธีการก็ได และการออกแบบไมจาเปนตองเขียนแบบเสมอไป อาจเปนแคลาดับความคิด หรือจินตนาการใหเปนขั้นตอนซึ่งรวม ปฏิบัติการลงไปดวย นั่นคือเมื่อออกแบบแลวตองลงมือทา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ ออกแบบไว 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) เปนการนาสิ่งประดิษฐหรือวิธีการนั้นทดลองใชเพื่อทดสอบวาใชงานหรือทางานได หรือไมมีขอบกพรองอยางไร ถายังไมไดก็ไปสูขั้นตอนตอไป คือ ปรับปรุง แกไข 6. การปรับปรุงแกไข (Modification and improvement) หลังจากการทดสอบผลแลวพบวา สิ่งประดิษฐที่สรางขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไมทางานมีขอบกพรอง ก็ทาการ ปรับปรุงแกไข โดยอาจเลือกวิธีการใหมก็ไดคือยอนไปขั้นตอนที่ 3 7. ประเมินผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแกไขจนใชงานไดดีตามวิธีการที่ออกแบบแลว ก็นามาประเมินผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้ บางกิจกรรมอาจไมครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบางก็ไดแตเมื่อนาไปใช แลว นักเรียนรูจักที่ จะทางานเปนขั้นตอน เปนระบบ ยอนกลับมาดู หรือแกไขไดตามขั้นตอนที่ทาไปได
  • 9. 6 3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ ประเภท เกาอี้ 3.1หนาที่ใชสอย 3.2 ความปลอดภัย ฯลฯ 5. ความรูเกี่ยวกับ การเลือกใชวัสดุที่จะใชในการทาเฟอรนิเจอร ฯลฯ 6. ความรูเกี่ยวกับ อุปสรรคในการใชไมประเภทตางๆในการนามาทาเฟอรนเิ จอร ฯลฯ 7.ความรูเกี่ยวกับ วิธีปองกันอุปสรรคในการเลือกใชไมนามาทาเฟอรนิเจอร ฯลฯ 8. ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ( เชน ขอมูลจากการสัมภาษณ ฯลฯ) จากการสัมภาษณ - (ระบุชื่อ ที่อยู ฯลฯ) ไดขอมูลดังนี้ ถาม - ตอบ - 9.งานวิจัย หรือรายงานโครงงานเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ(ถามี)
  • 10. 7 บทที่ 3 การเลือกวิธีการ/กรอบแนวคิดในการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงาน เกาอี้หวงหาม ผูจัดทาไดมีกรอบแนวคิดหรือขั้นตอนในการดาเนินงานดังนี้ 3.1 กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน เกาอี้หวงหาม (อาจนาเสนอเปน Flowchart ใหดูตัวอยาง และปรับใช โดยเฉพาะขันตอนการลงมือปฏิบัติ ใหนักเรียน ้ เพิ่มกระบวนการทางานโดยใช PDCA ) Plan (วางแผน) -วางแผนการดาเนินงาน ครอบคลุมถึงการ กาหนดหัวขอที่ตองการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง Do (ปฏิบัติตามแผน) -การแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน -การดาเนินการตามแผน ไดแกการกาหนดเปาหมาย หรือวัตถุประสงคของ -วิธีการดาเนินการ การดาเนินงาน การจัดอันดับความสาคัญของ -ผลของการดาเนินการ เปาหมาย -กาหนดการดาเนินงาน -กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน -กาหนดผูรับผิดชอบหรือผูดาเนินการและ กาหนดงบประมาณที่จะใช Act (ปรับปรุงแกไข) - นาผลการประเมินมาวิเคราะห Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) วามีขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร -การประเมินการดาเนินการ ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยูแลวใหดี ยิ่งขึ้นไปอีก -การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน -การประเมินผลของการดาเนินงานตามแผน -สังเคราะหรูปแบบ การ ที่ไดตั้งไว ดาเนินการใหมที่เหมาะสม สาหรับการ ดาเนินการ ในปตอไป
  • 11. 8 3.2 การนาความรูจากสาระตาง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงาน สาระคณิตศาสตร สาระศิลปะ เรื่อง เรขาคณิต เรื่อง ภาพสเกตซ รูปทรงของชิ้นงานที่นามา ใชในการออกแบบชิ้นงาน เขียนเปนแบบงานในงานเขียน จากความคิดหรือจินตนาการของ แบบเทคนิคลวนแลวแตมีการ ผูออกแบบ เพื่อนาไปใชเขียนแบบที่มี นาเอารูปทรงเรขาคณิตมาใช รายละเอียดตาง ๆ และนามาประยุกตเพื่อเขียน สมบูรณตามมาตรฐานตอไป เปนรูปทรงของแบบงาน ดังนั้น ผูที่จะทาการเขียนแบบ งานจึงจาเปนที่จะตองเรียนรู และฝกหัดการเขียนรูปทรงทาง เรขาคณิตพรอมทั้งการนาเอา รูปทรงตาง ๆ ทางเรขาคณิตมา ประยุกตใชในการเขียนแบบ งาน โครงงาน เกาอี้หวงหาม ………………………… …………… … สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร ถือวาเปนขั้นตอนที่ สาคัญมากเนื่องจากขั้นตอนนี้เปนการเขียนภาพราง 3 มิติ เพื่อที่จะนาไปสรางเปนชิ้นงานจริงตอไป
  • 12. 9 บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน ในการดาเนินงานโครงงาน “เกาอี้หวงหาม” ผูจัดทาไดดาเนินการตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สสวท.ดังนี้ ขั้นที่ 1 การกาหนดปญหาและความตองการ (Identification the problem , need or preference) เวลาที่เราหรือนักเรียน นักศึกษาหรือผูที่กาลังศึกษาการเรียนนั้น ตองเอากระเปาวางไวที่พื้นไมก็พิง ขางขาเกาอี้ แลวเหมาะกับชวงยุคปจจุบันที่ขโมยและโจร มิจฉาชีพเยอะมากขึ้นในสังคมทุกๆวัน เพื่อปองกัน การขโมย กันของและทรัพยสินหาย จึงไดคิดเกาอี้หวงหามตัวนี้ขึ้นมาเพื่อนามาประยุกตใชในสังคมปจจุบัน ขั้นที2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information) ตองมีเทคนิคในการเพิ่มพื้นที่ใหดูกวางขึ้นกวาเดิม อาจทาไดโดยการ จัดสรรพื้นที่การใชสอยที่ดี จัดสรรพื้นที่ใชสอย การตกแตงใหดูเรียบโลง โปรงสบาย ฉากหรือมานที่เลื่อนเปดปดได เพื่อใหสามารถ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ใชสอยไดตามความเหมาะสม นอกจากจะเปนฉากรับภาพที่ดีแลว ยังชวยสรางมิติในเชิงลึก ใหกับหอง ทาใหหองดูเหมือนมีพื้นที่กวางขึ้น แตสิ่งที่ตองตระหนักมากที่สุดคือการเลือกใชเฟอรนิเจอรให เหมาะสม ควรเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking) แทนการใช เฟอรนิเจอรหลายชิ้นนั้น ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยประหยัดพื้นที่ใชสอยทาใหสามารถใชประโยชน จาก พื้นที่ที่มีอยูไดคุมคามากยิ่งขึ้น และหากเปนเฟอรนิเจอรที่สามารถเก็บแบบซอนชิ้นเล็กในชิ้นใหญ ได จะ สามารถชวยประหยัดพื้นที่ไดมากยิ่งขึ้น ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution) เลือกวิธีการเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking) แทนการใช เฟอรนิเจอรหลายชิ้นนั้น ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะชวยประหยัดพื้นที่ใชสอยทาใหสามารถใชประโยชน
  • 13. 10 ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) Plan (วางแผน) โดยการวาดภาพรางดวยมือ และในคอมพิวเตอร
  • 14. 11 Do (ปฏิบัติตามแผน) โดยการใชกระดาษไทยรัฐทาเปนโมเดลขนาดเล็ก ขั้นตอนที่ 1 วัดขนาดใหไดตามที่ตองการ
  • 19. 16 ขั้นตอนที่ 7. ประเมินผล (Assessment) หลังจากการที่ไดแกไขผลงานแลว ผลปรากฏวาชิ้นงานโมเดลเกาอี้ที่ทาออกมาแข็งแรงและคง รูปรางเหมือนเดิม ไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถนามาออกแบบใชงานไดจริง และมันงายที่จะนามาเปน ตัวอยางในการสรางผลิตภัณฑ และสามารถนามาสรางใชไดจริงในชีวิตประจาวันของเรา เราสามารถที่จะ เลือกปรับขนาดของผลิตภัณฑไดตามความตองการของเราเองได โดยเราไดเลือกใชวัสดุอุปกรณที่เหมาะสม กับผลิตภัณฑที่เราตองการจะผลิตขึ้นมา ซึ่งเราสามารถที่จะเลือกปรับขนาดของผลิตภัณฑตามความตองการ ใชงานของเราเองได จากปญหาที่ผูจัดทาไดพบนั้น ในตอนแรกทางผูจัดทาไดทาโมเดลเปนกระดาษ ทาใหไมสามารถ กะระยะแลวคานวณความกวางความยาวหรือความสมจริงไดเทากับขนาดของเกาอี้ทั่วไป อีกทั้งยังมีขนาด เล็ก และยังไมมีความแข็งแรงพอ ทาใหเห็นภาพที่ตองการจะสื่อออกมามีความไมชัดเจน จากคาแนะนาของ คุณครู ทาใหทางผูจัดทามีความคิดที่จะแกไขชิ้นงานวา เราควรจะเลือกใชไมที่มีความแข็งแรงทนทาน และ สามารถรับนาหนักของคนไดดีในการทาเกาอี้หวงหามออกมาในรูปแบบของจริง ทาใหการแกไขชิ้นงานนี้มี ขนาดที่ใหญขึ้น ทาใหความหมายที่ตองการจะสื่อมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
  • 20. 17 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ กรอบแนวคิดในการทาโครงงาน “เกาอี้หวงหาม” 1. วางแผน (Plan) - วางแผนการดาเนินงาน ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวขอที่ตองการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง - การแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ไดแกการกาหนดเปาหมาย หรือวัตถุประสงคของการ ดาเนินงาน การจัดอันดับความสาคัญของ เปาหมาย - กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน - กาหนดผูรับผิดชอบหรือผูดาเนินการและกาหนดงบประมาณที่จะใช 2. ปฏิบัติตามแผน ( DO ) - การดาเนินการตามแผน - วิธีการดาเนินการ - ผลของการดาเนินการ 3. ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) -การประเมินการดาเนินการ -การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน -การประเมินผลของการดาเนินงานตามแผนที่ไดตั้งไว 4. ปรับปรุงแกไข (Act) - นาผลการประเมินมาวิเคราะหวามีขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่ง ที่ดีอยูแลวใหดียิ่งขึ้นไปอีก - สังเคราะหรูปแบบ การดาเนินการใหมที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปตอไป
  • 21. 18 การนาความรูจากสาระตาง ๆ มาบูรณาการในการทาโครงงาน 1. สาระคณิตศาสตร เรื่อง เรขาคณิต ในงานเขียนแบบเทคนิคลวนแลวแตมีการนาเอารูปทรงเรขาคณิตมาใชและนามาประยุกตเพื่อเขียนเปนรูปทรงของแบบงาน 2. สาระศิลปะ เรื่อง ภาพสเกตซ , ภาพ 3 มิติ นาไปใชเขียนแบบที่มีรายละเอียดตาง ๆสมบูรณตามมาตรฐาน 3. สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การเขียนแบบดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนขั้นตอนที่สาคัญมากเนื่องจากขั้นตอนนี้เปนการเขียนภาพราง 3 มิติ เพื่อที่จะ นาไปสรางเปนชิ้นงานจริงตอไป ผลการปฏิบัติงาน ขั้นที่ 1 การกาหนดปญหาและความตองการ (Identification the problem , need or preference) ผูคนที่พักอาศัยอยูที่บานหลังเล็กหรือวาคอนโดมิเนียมมักจะประสบกับปญหาพื้นที่ใชสอยที่มีอยูอยางจากัด ขั้นที2.รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Information) จัดสรรพื้นที่การใชสอยที่ดจัดสรรพื้นที่ใชสอย การตกแตงให ดูเรียบโลง โปรงสบาย ฉากหรือี มานที่เลื่อนเปดปดได เพื่อใหสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่ใชสอยไดตามความเหมาะสม ทาให หองดูเหมือนมีพื้นที่กวางขึ้น ขั้นตอน 3. เลือกวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ (Selection of the best possible solution) วิธีการเลือกใชเฟอรนิเจอรอเนกประสงค หรือหนึ่งชิ้นหลายหนาที่ (multi-tasking) ขั้นตอนที่ 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) Plan (วางแผน) โดยการวาดภาพรางดวยมือ และในคอมพิวเตอร Do (ปฏิบัติตามแผน) โดยการใชกระดาษไทยรัฐทาเปนโมเดลขนาดเล็ก
  • 22. 19 4. อภิปรายผล ใหนาเสนอ วานักเรียนไดรับความรูอะไรเพิ่มเติม และเกิดองคความรูใหมอะไรบาง ขอเสนอแนะ ใหนาเสนอ เปนขอ ๆ วามีขอเสนอแนะอะไรบางจากการทาโครงงาน และจะนาเสนอใหผูอื่นดาเนินการตอ ยอดโครงงานของตนเองอยาง a. ความรูที่ไดรับเพิ่มเติม ไดรูเกี่ยวกับวิธีการเลือกใชวัสดุอุปกรณใหเหมาะสมกับชิ้นงาน ไดรูเกี่ยวกับวิธีการทาชิ้นงานใหแข็งแรง ทนตอสิ่งเราตางๆ ไดรูเกี่ยวกับวิธีการแกปญหาในการเลือกใชวัสดุในการทาชิ้นงาน b. เกิดองคความรูใหมๆ เกิดทักษะการเขียน และ ออกแบบชิ้นงานเพื่อใหไดผลงานที่เปนที่นาพอใจและสามารถนามาใช ประโยชนไดจริง เกิดทักษะการคิดวิเคราะหและการวางแผนอยางเปนระบบเพื่อใหงานบรรลุเปาหมายและนาไปสู ความสาเร็จ 4.3 ขอเสนอแนะ 1. ควรใหความสาคัญถึงเรื่องการเลือกวัตถุดิบที่เหมาะสมแกการนามาสรางงานเพื่อใหมีคุณภาพงานที่ดีและมี ประสิทธิภาพในการใชงานไดจริงในชีวิตประจาวัน 2.ควรคิดและออกแบบผลิตภัณฑที่เปนไปได สรางไดงาย ใชงานไดจริง เปนประโยชนตอการใชสอยตอไป 3.โครงงาน “เกาอี้หวงหาม” สามารถนาไปปรับรูปแบบโครงสรางผลิตภัณฑใหเปนโตะ หรือเกาอี้ที่มีความ สะดวกสบายก็ไดตามแตความคิดสรางสรรค 4.ควรจัดการวางแผนการการทางานกอนตั้งแตเริ่มทาโครงงาน เพราะจะชวยใหการทางานเปนไปตาม ขั้นตอน อยางเหมาะสม และประหยัดเวลา ดังนั้นอาจถือวาการออกแบบ คือ การวาง แผนการทางานที่ดี 5.สมาชิกในกลุมควรใหความรวมมือกันในการสรางงาน เพื่อจะไดรวมกันแกไขจุดที่บกพรอง อภิปรายและ สรุปผลออกมาไดอยางดีเยี่ยม
  • 23. 20 บรรณานุกรม Art & Design. 30 สิ่งประดิษฐไอเดียเจง[ออนไลน].เขาถึงไดจาก http://www.poppaganda.net/art-design/1546/ (วันที่ คนขอมูล : 12 กุมภาพันธ 2556) การเขียนภาพสามมิต.ิ [ออนไลน].เขาถึงไดจาก https://sites.google.com/site/kheiynbaebthekhnikhbeuxngtn/kar-kheiyn- phaph-3-miti (วันที่คนขอมูล : 12 กุมภาพันธ 2556)
  • 24. 21 แบบประเมินชิ้นงาน o ผูเรียนประเมิน o ครูผูสอนประเมิน รายการประเมิน คะแนนการประเมิน 123 4 5 ความคิดสรางสรรค / ความนาสนใจ / คุณภาพของงาน / ประโยชนใชสอย / เทคนิคการนาเสนอ / รวมคะแนน ลงชื่อ สุชาติ องคมิ้น (นายสุชาติ องคมิ้น) ผูประเมิน