SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
บทที่ 7
                                                  การจัดการขอมูล ดวย
                                           โปรแกรมยอย Analyze Data

               การทําความเขาใจและเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการขอมูลของโปรแกรมยอย Analyze Data
กอนวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา ถือเปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญในการชวยใหผูวิเคราะห
สามารถใชงานโปรแกรมยอยดังกลาวไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในบทนี้จึงไดนําเอา
คําสั่งที่สําคัญและมีความจําเปนตองใชในการจัดการขอมูลมากลาวถึงวิธีการใชงาน ซึ่งประกอบดวย
คําสั่ง Delete Record / Undelete Record คําสั่ง List คําสั่ง Define / Undefine คําสั่ง Assign
คําสั่ง Record คําสั่ง Select / Cancel Select คําสั่ง If และคําสั่ง Sort / Cancel Sort

      7.1 การลบและเรียกคืนผลการลบเรคคอรด ดวยคําสัง Delete Record / Undelete Record
                                                   ่

                เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล
ซึ่งจําแนกตามรายการคําสั่งไดดังนี้

           9.1.1 การลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Delete Record
                 เชน แฟมขอมูล : SICK ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE SICKNESS
และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.1




                                   รูปที่ 7.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ SICK

            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
116                                บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                 โดยจากฐานข อ มู ล ข า งต น หากต อ งการลบเรคคอร ด ของข อ มู ล ในแฟ ม ข อ มู ล
สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

   . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
SICK และคลิก Views เปน SICKNESS แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม                    ดังรูปที่ 7.2




                                          รูปที่ 7.2 หนาตางรายการคําสั่ง Read

      . ขอมูลที่มีอยูในแฟมขอมูล เมื่อใชคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.3




                                     รูปที่ 7.3 รายการขอมูลจากการใชคําสั่ง List




                ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     117




   . กําหนดเปาหมายในการลบเรคคอรด เชน
    • ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย
    • ตองการลบเรคคอรดที่มอายุระหวาง 20 – 30 ป
                            ี
                    เปนตน

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.4




                                     รูปที่ 7.4 รายการคําสั่ง Delete Records

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DELETE RECORDS ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดดังนี้



        Permanent Deletion เปนการลบเรคคอรดออกจากแฟมขอมูลอยางถาวร และไมสามารถ
                                เรียกคืนดวยคําสั่ง Undelete Record ได
        Mark for Deletion เปนการลบเรคคอรดในแฟมขอมูลชั่วคราว ซึ่งเมื่อเรียกดูดวยคําสั่ง
                                List จะไมปรากฏเรคคอรดดังกลาว แตเมื่อเรียกดูในโปรแกรมยอย
                                Enter Data เรคคอรดนี้จะยังคงอยู แตจะถูกกําหนดไมใหแสดง
                                และหากตองการเรียกคืน ก็สามารถทําได โดยใชคําสั่ง Undelete
                                Record
       ขอสังเกตเพิ่มเติม: กรณีแฟมขอมูลที่ถูกจัดการดวยคําสั่ง Relate คําสั่ง Write และคําสั่ง
Merge เมื่อนํามาเปดใช หากตองการลบเรคคอรด จะไมปรากฏตัวเลือก Mark for Deletion ใหกําหนด




        เปนสวนในการกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด เชน

            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
118                           บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




              ตองการลบเรคคอรดที่มีหมายเลข ID ตั้งแต 5 ขึ้นไป
              การกําหนดเงื่อนไข : ID > 4
              ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย
              การกําหนดเงื่อนไข : SEX=1
              ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุนอยกวา 30
                                         
              การกําหนดเงื่อนไข : AGE < 30
              ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป
              การกําหนดเงื่อนไข : AGE >19 AND AGE <31

          กรณี Run Silent มีความหมายดังนี้
                        Run Silent      แสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง
                        Run Silent      ไมตองแสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง




          ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไขของการลบเรคคอรด

   . ดังนั้นจากฐานขอมูล : SICK ถาตองการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป จึงสามารถกําหนดเงื่อนไข
การลบเปน Age = 63 จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม               ดังรูปที่ 7.5




            รูปที่ 7.5 การกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด บนหนาตาง Delete Records
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     119




  . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการลบ (กรณีที่ระบุตัวเลือก Run Silent จะไมปรากฏ
หนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการยกเลิก ดังรูปที่ 7.6




                                   รูปที่ 7.6 หนาตางยืนยันการลบเรคคอรด

  . ผลที่ไดจากการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป โดยใชคําสั่ง List พบวา เรคคอรดที่มีอายุ 63 ป จะถูก
ลบออกจากฐานขอมูลไปอยางถาวร ดังรูปที่ 7.7




                        รูปที่ 7.7 ผลการลบเรคคอรด จากการใชรายการคําสั่ง List

             9.1.2 การเรียกคืนผลการลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Undelete Record
                   เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูล
เปนดังรูปที่ 7.8




                                   รูปที่ 7.8 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN


            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
120                               บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




               โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการลบเรคคอรดแบบชั่วคราวและเรียกคืนผล
การลบของขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN

      .เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.9




                                        รูปที่ 7.9 รายการคําสั่ง Delete Recodrs

     .ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุต่ํากวา 35 ปลงมาแบบชั่วคราว ซึ่งสามารถกําหนดตัวเลือกและ
เงื่อนไขการลบบนหนาตาง DELETE RECORDS ไดดังรูปที่ 7.10




                รูปที่ 7.10 การกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรดบนหนาตาง Delete Records




               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                           121




   .ผลที่เกิดขึ้นจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว เมื่อกําหนดการแสดงขอมูลดวยคําสั่ง List จะไม
ปรากฏเรคคอรดที่ถูกลบ แตหากนําแฟมดังกลาวไปเปดใชในโปรแกรมยอย Enter Data เรคคอรดที่
ถูกลบดังกลาวจะยังคงอยู เพียงแตถูกกําหนดไมใหแสดงผลเทานั้น ดังรูปที่ 7.11

                                                                                           คําสั่ง List ในโปรแกรมยอย
                                                                                                   Analyze Data


                                                                   ขอความบงชี้วาเรคคอรด
                                                                          นี้ถูกลบ


   โปรแกรมยอย Enter Data                                                                      จํานวนเรคคอรดทั้งหมด
                                                                                                     ยังเทาเดิม




                                                                                                 ขอมูลยังคงอยู แตถูก
                                                                                                กําหนดไมใหแสดงผล
                                                                                                (แกไข/เพิ่มเติมไมได)


                        รูปที่ 7.11 ผลลัพธที่ไดจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว

  .เมื่อตองการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด สามารถทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง
Undelete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.12




                                 รูปที่ 7.12 รายการคําสั่ง Undelete Records
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
122                           บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




   .จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDELETE ซึ่งสามารถกําหนดตัวเลือกและเงื่อนไขการเรียกคืน
เหมือนเดิมไดดังรูปที่ 7.13




                  รูปที่ 7.13 การกําหนดเงื่อนไข การเรียกคืน บนหนาตาง Undelete

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด (กรณีที่ระบุตัวเลือก
Run Silent จะไมปรากฏหนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการ
ยกเลิก ดังรูปที่ 7.14




                       รูปที่ 7.14 หนาตางยืนยันการเรียกคืนเรคคอรด Undelete

    . ผลที่ได จะเปนการเรียกคืนเรคคอรดที่เคยถูกลบไปดวยเงื่อนไขกอนหนานี้ ซึ่งกรณีดังกลาว
ผูใชงานตองตระหนักวา การเรียกคืน(Undelete) จะสามารถทําไดก็ตอเมื่อมีการลบเรคคอรดแบบ
ชั่วคราว(Mark for Deletion)เทานั้น แตหากทําการลบเรคคอรดแบบถาวร(Permanent Deletion) การ
เรียกคืนจะไมสามารถทําได




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     123




                                7.2 การแสดงและแกไขขอมูล ดวยคําสัง List
                                                                   ่

           เปนคําสั่งที่ใชในการแสดงและแกไขขอมูลในตัวแปรตางๆซึ่งอยูในแฟมขอมูลที่ทําการ
วิเคราะห โดยจะแสดงผลทางหนาตาง Output ในทุกตัวแปร หรือบางตัวแปรที่ตองการ เชน
แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.15




                                  รูปที่ 7.15 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

                 โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการแสดงผลและแกไขขอมูลในแฟมขอมูล
สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN และ Views ชื่อ Baseline

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง List ในกลุมคําสั่ง Statistics ดังรูปที่ 7.16




                                            รูปที่ 7.16 รายการคําสั่ง List
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
124                              บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง LIST ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

                                                 • เปนสวนในการกําหนดตัวแปรที่ตองการแสดงผลของ
                                                   ขอมูล โดยการคลิกที่ตัวแปร
                                                 • กรณี All (*) Except ถามีการเลือก แสดงวา ตัวแปรที่
                                                   กําหนด จะเปนตัวแปรที่ถูกยกเวนไมใหแสดงผล

                                                 • เปนสวนในการกําหนดตัวเลือกในการแสดงผล ดังนี้
                                                           Web (HTML) แสดงแบบภาษา HTML
                                                           Grid          แสดงแบบตารางแกไขไมได
                                                           Allow Updates แสดงแบบตารางแกไขได

  . หากตองการแสดงผลขอมูลตัวแปร ID SEX AGE โดยกําหนดการแสดงผลเปน Web(HTML)
Grid และ Allow Updates มีผลการแสดงดังรูปที่ 7.17

      Web(HTML)                                        Grid (ไมสามารถแกไขคาขอมูลได)




                                                   Allow Updates (สามารถแกไขคาขอมูลได)




                   รูปที่ 7.17 รูปแบบตางๆในการแสดงผลขอมูลตามรายการคําสั่ง List
              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     125




                  7.3 การสรางและยกเลิกตัวแปรใหม ดวยคําสัง Define / Undefine
                                                           ่

         เปนคําสั่งที่ใชในการสรางและยกเลิกตัวแปรใหม เพื่อทําใหการวิเคราะหขอมูลมีความ
ครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) :
                                HOSPITAL           โรงพยาบาล
                                DS1                จํานวนผูปวยดวยโรคเบาหวาน
                                DS2                จํานวนผูปวยดวยโรคหัวใจ
                                DS3                จํานวนผูปวยดวยโรคเกาท
         และมีฐานขอมูลเปนดังรูปที่ 7.18




                                รูปที่ 7.18 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE

            หากในการวิเคราะหขอมูลตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล ซึ่งพบวา
ขอมูลดังกลาวไมมีในฐานขอมูล แตสามารถทราบไดจากการนําจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน
ดังนั้นจึงสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS โดยมีขึ้นตอนในการสรางตัวแปรใหม จําแนกได
ดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.19




                                          รูปที่ 7.19 รายการคําสั่ง Define
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
126                              บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DEFINE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้

                                                           • เปนสวนในการระบุชื่อตัวแปรใหมที่ตองการสราง
                                                             (ชื่อตองไมซํากับชื่อตัวแปรที่มีอยูเดิม)
                                                                           ้



      • เปนสวนในการกําหนดขอบเขตของตัวแปรใหมเพื่อการใชงาน โดยจําแนกไดดังนี้
           Standard      ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดเฉพาะในฐานขอมูลที่กาลังทํางาน
                                                                                     ํ
                         ขณะนั้น หากทําการเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่
                         สรางขึ้นทั้งหมดจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ
           Global        ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปด
                         แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะ
                         ถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze
                         Data เทานั้น (ซึ่งกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Global นี้ จะใชคําสั่ง
                         Assign ไดเฉพาะกําหนดเปนคาคงที่เทานั้น)
           Permanent ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปด
                         แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะ
                         ถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze
                         Data เชนเดียวกันกับ Global (ซึ่งกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Permanent
                         นี้ จะใชกับคําสั่ง Assign ไมได)

ขอสังเกตเพิ่มเติม ในทางปฏิบัติสวนใหญจะกําหนดขอบเขตตัวแปรเปน Standard และหากเมื่อ
ตองการจัดเก็บเปนตัวแปรถาวร หรือตองการใหตัวแปรใหมที่สรางขึ้นยังคงอยูในฐานขอมูล ก็จะใช
คําสั่ง Write(Export) ไปจัดเก็บเปนแฟมขอมูลใหม สวน Global จะใชในกรณีที่มีการวิเคราะห
เชื่อมโยงกับตาราง หรือ Views อื่น ซึ่งในการวิเคราะหจึงจําเปนตองกําหนดเปน Global เพื่อให
สามารถเรียกตัวแปรที่สรางใหมมาใชงานได สวนกรณี Permanent โดยทั่วไปมักไมกําหนด เนื่องจาก
ไมสามารถระบุคาดวยคําสั่ง Assign ได และที่สําคัญยังไมเห็นความจําเปนที่ตองกําหนดขอบเขตแบบ
                  
นี้ เพราะหากต อ งการกํ า หนดตั ว แปรสร า งใหม แ บบถาวร ยั ง มี วิ ธี ก ารใช ง านแบบอื่ น ที่ ง า ยและ
เหมาะสมมากกวา

              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     127




  . หากตองการกําหนดตัวแปรใหมชื่อ TOTAL_DS และมีขอบเขตแบบ Standard สามารถระบุใน
หนาตาง DEFINE ไดดังรูปที่ 7.20




                          รูปที่ 7.20 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

  . หากตองการดูรายละเอียดของตัวแปรที่สรางใหม สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง Display ในกลุม
Variables และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.21




          รูปที่ 7.21 รายละเอียดของการกําหนดตัวแปร จากการใชรายการคําสั่ง Display

  . หากตองการลบตัวแปรที่สรางใหม ทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Undefine
ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.22




                                       รูปที่ 7.22 รายการคําสั่ง Undefine


           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
128                            บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDEFINE ใหระบุเลือกตัวแปรใหมที่สรางขึ้นแลวตองการยกเลิก
จากนั้นจึงคลิกที่ปม OK ดังรูปที่ 7.23
                   ุ




               รูปที่ 7.23 การระบุตัวแปรใหมที่ตองการยกเลิก บนหนาตาง Undefine

  . และหากเรียกดูรายละเอียดของตัวแปรดวยคําสั่ง Display ในกลุม Variables จะพบวา ตัวแปร
ใหมที่สรางขึ้น ไดถูกยกเลิกออกไปแลวดังรูปที่ 7.24




           รูปที่ 7.24 รายละเอียดการยกเลิกตัวแปรใหม จากการใชรายการคําสั่ง Display

                           7.4 การระบุหรือกําหนดคาตัวแปร ดวยคําสั่ง Assign

           เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคาใหกับตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมัก
ใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน
จากขอมูลชุดเดิม (DISEASE) ที่ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL DS1 DS2 DS3 หาก
ตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล จึงตองสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS
ตามขั้นตอนการใชคําสั่ง Define ดังที่กลาวไปขางตน ตอมาจึงเปนขั้นตอนการกําหนดคาใหกับ
ตัวแปรใหม ซึ่งจํานวนผูปวยทั้งหมด จะเกิดขึ้นจากจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน ดังนั้นจึงอาจ
เปนในรูปสมการไดดังนี้
                                   TOTAL_DS = DS1 + DS2 + DS3
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     129




             ดังนั้นจึงนํารูปแบบสมการดังกลาวไปกําหนดเปนเงื่อนไขในการกําหนดคาตัวแปรดวย
คําสั่ง Assign ซึ่งจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease

    . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหม
เปน TOTAL_DS ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.25




                           รูปที่ 7.25 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Assign ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.26




                                         รูปที่ 7.26 รายการคําสั่ง Assign




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
130                              บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง ASSIGN ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สาคัญดังนี้
                                                                ํ

                                                              • ใชกําหนดตัวแปรที่ตองการระบุคาโดยการคลิก
                                                                ที่ปุม แลวเลือกตัวแปรที่ตองการระบุคา



      • ใชกําหนดเงื่อนไขเพื่อระบุคา หรือคํานวณคาของตัวแปร ซึ่งสวนนี้จะระบุเฉพาะสวนที่เปน
        เงื่อนและอยูหลังเครื่องหมายเทากับเทานั้น




                                  ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข

  . หากตองการระบุคาใหกับตัวแปรใหมชื่อ TOTAL_DS และมีเงื่อนไขเทากับ DS1+DS2+DS3
สามารถระบุในหนาตาง ASSIGN ไดดังรูปที่ 7.27




                             รูปที่ 7.27 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Assign

  . และหากตองการเรียกดูรายละเอียดของขอมูล สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง List ในกลุม Statistics
และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.28




                                 รูปที่ 7.28 ผลการกําหนดรายการคําสั่ง Assign
              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     131




           ดังที่กลาวไปขางตน ตัวแปรที่สรางใหมโดยกําหนดขอบเขตเปน Standard จะเปนการ
สรางและกําหนดคาตัวแปรชั่วคราวในระหวางการวิเคราะหเทานั้น ซึ่งหากมีการปด หรือเรียกเปด
แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรที่ถูกสรางดังกลาวจะถูกยกเลิกทันที ดังนั้นหากผูใชงาน
ต อ งการให ตั ว แปรที่ ส ร า งใหม แ ละค า ที่ ร ะบุ น้ั น ยั ง คงอยู ใ นแฟ ม ข อ มู ล จึ ง ควรใช ร ายการคํ า สั่ ง
Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

                              7.5 การแปลงคาและจัดกลุมขอมูล ดวยคําสัง Recode
                                                                       ่

          เปนคําสั่งที่ใชในการแปลงคา และจัดกลุมขอมูล ซึ่งสามารถจําแนกออกตามวิธีการใชงาน
ที่พบบอยไดดังนี้

            7.5.1 การแปลงคาขอมูล
                  เปนการเปลี่ยนคาขอมูลเดิมของตัวแปรเปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทาง
สถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX
AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.29
              




                                     รูปที่ 7.29 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

                      โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการ Label                                ใหกับตัวแปรเพศ(SEX) โดย
กําหนดให                  1 = Male
                           2 = Female
                      ซึ่งสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN และ Views ชื่อ Baseline
               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
132                               บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.30




                                             รูปที่ 7.30 รายการคําสั่ง Define

    . กําหนดชื่อตัวแปรใหมเพื่อรองรับการแปลงคาใหมชื่อ SEX1 ระบุขอบเขตแบบ Standard
ดังรูปที่ 7.31




                              รูปที่ 7.31 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.32




                                            รูปที่ 7.32 รายการคําสั่ง Recode

               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                            133




   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง RECODE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้




        เปนสวนที่ใหระบุตัวแปร                 เปนสวนที่ใหระบุตัวแปร
            ที่ตองการแปลงคา                    เพื่อรองรับคาใหมที่แปลง

ขอสังเกตเพิ่มเติม : ในการแปลงคา หรือจัดกลุมขอมูลดวยคําสั่ง Recode ควรสรางตัวแปรใหม เพื่อ
มารองรับผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ Recode เสมอ ทั้งนี้เพื่อใหตัวแปรเกาและคาขอมูลเกา
ยังคงอยูและสามารถใชวิเคราะหขอมูลในประเด็นอื่นไดอีกโดยไมสูญเสียคุณคาของขอมูลจริงไป




                                                                                                  ระบุไดไมเกิน 12 ระดับ
        ระบุคาเริ่มตนใน         ระบุคาสิ้นสุดใน           ระบุคา หรือตัวอักษร
          แตละระดับ                แตละระดับ                 ในแตละระดับ


เชน



                   ความหมาย : 1 – 4   =                                 1
                              5–9     =                                 2
                              10 - 14 =                                 3




                   ความหมาย : 0                          =              Not Risk
                              1                          =              Risk

            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
134                              บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




กรณีตองการแทรกแถว
         ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการแทรก จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Insert




กรณีตองการลบแถว
         ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการลบ จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Del



      • เปนปุมที่ใชในการกําหนดชวงของรหัส กรณีทราบคาเริ่มตนและคาสิ้นสุด และชวงในการ
        แบงแตละระดับเทากัน เชน
                                                                                                     ถาไมถูกเลือก คาของชวง
                                                                                                     ในแต ล ะระดั บ จะเรี ย ง
                  คาเริ่มตน                                                                        จากต่ําไปหาสูง
                   คาสิ้นสุด                                                                        ถาถูกเลือก คาของชวงใน
                                                                                                     แต ล ะระดั บ จะเรี ย งจาก
                                                                                                     สูงไปหาต่ํา
                             ใหแตละระดับแบงเทากันคือ 5

      . ระบุคาใหตัวแปรใหมชื่อ SEX1 โดยกําหนดเงื่อนไข 1 = Male และ 2 = Female ดังรูปที่ 7.33




                            รูปที่ 7.33 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode
              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     135




   . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.34




                                 รูปที่ 7.34 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Recode

           7.5.2 การจัดกลุมขอมูล
                 เปนการจัดกลุมขอมูลโดยกําหนดชวงของคาขอมูลเดิม เปนคาใหม เพื่อรองรับการ
วิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) :
ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.35




                                   รูปที่ 7.35 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

                โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการจัดกลุมขอมูลใหกับตัวแปรอายุ(AGE) โดย
สรางตัวแปรใหมช่อ AGE1 และมีเงื่อนไขการจัดกลุมดังนี้
                 ื
                    อายุต่ํากวา 30     =           1
                    30 – 35 ป          =           2
                    มากกวา 35 ปขึ้นไป =           3

                    ซึ่งสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้
             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
136                               บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN และ Views ชื่อ Baseline

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.36




                                            รูปที่ 7.36 รายการคําสั่ง Define

      . กําหนดชื่อตัวแปรใหมชื่อ AGE1 ระบุขอบเขตแบบ Standard ดังรูปที่ 7.37




                              รูปที่ 7.37 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูป




                                            รูปที่ 7.38 รายการคําสั่ง Recode
               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     137




   . ระบุคาใหกับตัวแปรใหมชื่อ AGE1 โดยกําหนดเงื่อนไขไดดังรูปที่ 7.39




                           รูปที่ 7.39 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode

   . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.40




                                  รูปที่ 7.40 ผลที่ไดจากรายการคําสั่ง Recode

           การใชคําสั่ง Recode โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขตเปน Standard
ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึกตัวแปรใหมและคา
ขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไป
จัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง


             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
138                               บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                      7.6 การคัดเลือกขอมูลบางสวน ดวยคําสัง Select / Cancel Select
                                                            ่

                 เปนคําสั่งที่ใชในการคัดเลือกขอมูลมาบางสวนตามเงื่อนไขที่กําหนด เพื่อรองรับ
การวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร
(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.41




                                     รูปที่ 7.41 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

                 ซึ่งหากตองการวิเคราะหขอมูลเฉพาะในกลุมเพศชาย (SEX = 1) สามารถนํา
เงื่อนไขดังกลาวไปกําหนดในการใชคําสั่ง Select ไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN และ Views ชื่อ Baseline

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.42




                                             รูปที่ 7.42 รายการคําสั่ง Select
               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     139




. จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SELECT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้



• เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการ โดยมีสัญลักษณที่สําคัญดังนี้
     =           แสดงความเทากัน               -         แสดงการลบ
     <>          แสดงความไมเทากัน            /         แสดงการหาร
     +           แสดงการบวก                    *         แสดงการคูณ
     AND         ตัวเชื่อม “และ”               OR        ตัวเชื่อม “หรือ”



                                    ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข

. ระบุคาเงื่อนไข SEX = 1 ในหนาตาง SELECT ไดดังรูปที่ 7.43




                         รูปที่ 7.43 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Select

. ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.44




                              รูปที่ 7.44 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Select


          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
140                                บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




              ภายหลังจากใชคําสั่ง Select ตามเงื่อนไขที่กําหนด การกระทําการใดๆกับขอมูลหรือการ
วิเคราะหขอมูล จะเปนไปเฉพาะในกลุมที่ถูกคัดเลือกมาตามเงื่อนไขดังกลาวเทานั้น และเมื่อทําการ
วิ เ คราะห เ รี ย บร อ ยแล ว ควรทํ า การยกเลิ ก การกํ า หนดเงื่ อ นไขการคั ด เลื อ กดั ง กล า วด ว ยคํ า สั่ ง
Cancel Select ดังนี้

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Cancel Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.45




                                        รูปที่ 7.45 รายการคําสั่ง Cancel Select

      . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง CANCEL SELECT ขึ้นมา และคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 7.46




                             รูปที่ 7.46 หนาตางยืนยันการยกเลิกรายการคําสั่ง Select

      . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.47




                                     รูปที่ 7.47 ผลการยกเลิกรายการคําสั่ง Select

                ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     141




          ดังนั้นในการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกขอมูลบางสวนมาวิเคราะหดวยคําสั่ง Select
ภายหลังจากที่ทําการวิเคราะหในกลุมเงื่อนไขดังกลาวสิ้นสุด จึงควรยกเลิกการคัดเลือกโดยใชคําสั่ง
Cancel Select กอนทําการวิเคราะหสวนอื่นตอไป แตทั้งนี้คําสั่ง Select จะมีผลเฉพาะในขณะที่
แฟมขอมูลนั้นเปดอยูเทานั้น ซึ่งหากมีการปด หรือเรียกเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read คําสั่ง
ดังกลาวจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ

                                  7.7 การกําหนดเงือนไขขอมูล ดวยคําสัง If
                                                  ่                   ่

          เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคา หรือกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการใหกับ
ตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็
จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน จากแฟมขอมูล: DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) :
HOSPITAL DS1 DS2 DS3 และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.48




                               รูปที่ 7.48 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE

         หากตองการประเมินขนาดปญหาของโรคหัวใจโดยพิจารณาจากจํานวนผูปวย สมมติวา
หากโรงพยาบาลใด มีจํานวนผูปวยตั้งแต 20 คนขึ้นไปถือวา รุนแรง
         ดังนั้นหากนํามากําหนดเปนเงื่อนไข เพื่อจัดการขอมูลและนําไปวิเคราะหผล โดยใชคําสั่ง
If สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้

  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease

    . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหม
เปน LEVEL ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.49



            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
142                               บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




                             รูปที่ 7.49 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define

      . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง If ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.50




                                                รูปที่ 7.50 รายการคําสั่ง If

      . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง IF ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้



      • เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขการตัดสินใจ



      • ตัวเลือกในการชวยกําหนดเงื่อนไข
               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     143




                                                       • เปนสวนในการกําหนดการกระทําหรือกําหนด
                                                         ขั้นตอนคํานวณคา เมื่อเปนไปตามเงื่อนไข



                                                       • เปนสวนในการกําหนดการกระทํา หรือกําหนด
                                                         ขั้ น ตอนการคํ า นวณค า เมื่ อ ไม เ ป น ไปตาม
                                                         เงื่อนไข



. ระบุเงื่อนไขตามที่ตองการเปนดังนี้
          If Condition         กําหนดเปน                           DS2 >= 20
          Then                 กําหนดเปน                           ASSIGN LEVEL = “SEVERE”
          Else                 กําหนดเปน                           ASSIGN LEVEL = “NO SEVERE”
  ดังรูปที่ 7.51




                          รูปที่ 7.51 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง If


        ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
144                                บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




      . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.52




                                       รูปที่ 7.52 ผลจากการใชรายการคําสั่ง If

           การกําหนดเงื่อนไขโดยใชคําสั่ง If โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขต
เปน Standard ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึก
ตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการ
โอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง

                                7.8 การจัดเรียงขอมูล ดวยคําสัง Sort / Cancel Sort
                                                               ่

            เปนคําสั่งที่ใชในการจัดเรียงขอมูลตามตัวแปรที่ระบุ เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติให
มีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมี
ขอมูลเปนดังรูปที่ 7.53




                                      รูปที่ 7.53 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN

                    ซึ่งหากตองการจัดเรียงตัวแปรอายุ(AGE) จากนอยไปหามาก สามารถกําหนดโดย
ใชคําสั่ง Sort ไดดังนี้


                ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     145




  . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ
MAIN และ Views ชื่อ Baseline

   . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Sort ในกลุมคําสั่ง Select/If

   . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SORT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้




    • เปนสวนแสดงรายชื่อตัวแปรทั้งหมด เพื่อใหผูใชงานระบุวาตองการใหจดเรียงโดยยึดตัวแปร
                                                                        ั
      ใดเปนหลัก




    • เปนสวนตัวเลือกในการกําหนดรูปแบบการจัดเรียง โดยมีรายละเอียดดังนี้
           Ascending(++) นอยไปหามาก
           Descending(--) มากไปหานอย
           Remove from Sort ลบออกจากการเปนตัวแปรหลักในการจัดเรียง




    • เปนสวนที่แสดงตัวแปรหลักที่ใชในการจัดเรียง




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
146                                บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data




   . เลื่อนเมาสดับเบิ้ลคลิกที่ตัวแปร AGE และกําหนดรูปแบบการจัดเรียงแบบ Ascending ดัง
รูปที่ 7.54




                                รูปที่ 7.54 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Sort

      . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.55




                                      รูปที่ 7.55 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Sort

          การจัดเรียงขอมูลโดยใชคําสั่ง List เปนการจัดเรียงแบบชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงาน
ตองการใหการจัดเรียงดังกลาวยังคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการ
โอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง



                ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                     147




                                                      7.9 บทสรุป

             การจัดการขอมูล ดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ถือเปนเทคนิควิธีการใชงานที่มี
ความสํ าคั ญ ในการวิเ คราะห ข อ มู ลทางสถิติ เพราะในการวิเ คราะหข อมู ล เพื่ อ ใหครอบคลุ ม ตาม
วัตถุประสงคของการวินิจฉัยชุมชน อาจจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลเดิม หรือมีการ
กําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมใหกับขอมูล เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางที่ตองการวิเคราะห ดังนั้นการ
เรียนรูวธีการใชงานเกี่ยวกับคําสั่งในการจัดการขอมูลจึงมีความจําเปน และทําใหการวิเคราะหขอมูลมี
         ิ
ความคลองตัวและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น




            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

More Related Content

What's hot

การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssSani Satjachaliao
 

What's hot (19)

การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
Excel1
Excel1Excel1
Excel1
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผลStat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
Stat 101 Module2 การวิเคราะห์และแปลผล
 
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spssสัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
สัปดาห์ที่ 1 กลุ่ม 2 ทำความรู้จัก spss
 
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
Big Data 101 : Chapter 8 Module 1
 

Viewers also liked

Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern16nerns
 
Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012gaztanodi
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections16reneshs
 
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.Abdellatif El Yazizi
 
Socialização e formação escolar dubet
Socialização e formação escolar   dubetSocialização e formação escolar   dubet
Socialização e formação escolar dubetbarbara martins
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internabarbara martins
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapywindstar2002
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychologywindstar2002
 

Viewers also liked (13)

Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
Epi info unit04
Epi info unit04Epi info unit04
Epi info unit04
 
Descriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nernDescriptive images for disease & communities yash and nern
Descriptive images for disease & communities yash and nern
 
Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012Aurkezpena urtarrila-2012
Aurkezpena urtarrila-2012
 
William blake
William blakeWilliam blake
William blake
 
K2005
K2005K2005
K2005
 
Guía afiche!
Guía afiche!Guía afiche!
Guía afiche!
 
Descriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital ConnectionsDescriptive pictures Digital Connections
Descriptive pictures Digital Connections
 
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
الف ليلة و ليلة. النسخة الاصلية.
 
Socialização e formação escolar dubet
Socialização e formação escolar   dubetSocialização e formação escolar   dubet
Socialização e formação escolar dubet
 
Cristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação internaCristiane machado avaliação interna
Cristiane machado avaliação interna
 
Introduction to Psychotherapy
Introduction to PsychotherapyIntroduction to Psychotherapy
Introduction to Psychotherapy
 
Introduction to Psychology
Introduction to PsychologyIntroduction to Psychology
Introduction to Psychology
 

Epi info unit07

  • 1. บทที่ 7 การจัดการขอมูล ดวย โปรแกรมยอย Analyze Data การทําความเขาใจและเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการขอมูลของโปรแกรมยอย Analyze Data กอนวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงพรรณนา ถือเปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญในการชวยใหผูวิเคราะห สามารถใชงานโปรแกรมยอยดังกลาวไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นในบทนี้จึงไดนําเอา คําสั่งที่สําคัญและมีความจําเปนตองใชในการจัดการขอมูลมากลาวถึงวิธีการใชงาน ซึ่งประกอบดวย คําสั่ง Delete Record / Undelete Record คําสั่ง List คําสั่ง Define / Undefine คําสั่ง Assign คําสั่ง Record คําสั่ง Select / Cancel Select คําสั่ง If และคําสั่ง Sort / Cancel Sort 7.1 การลบและเรียกคืนผลการลบเรคคอรด ดวยคําสัง Delete Record / Undelete Record ่ เปนการลบเรคคอรด และเรียกคืนผลการลบเรคคอรดของขอมูลในแฟมขอมูล ซึ่งจําแนกตามรายการคําสั่งไดดังนี้ 9.1.1 การลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Delete Record เชน แฟมขอมูล : SICK ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE SICKNESS และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.1 รูปที่ 7.1 รายการขอมูลในแฟมชื่อ SICK ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 2. 116 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data โดยจากฐานข อ มู ล ข า งต น หากต อ งการลบเรคคอร ด ของข อ มู ล ในแฟ ม ข อ มู ล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ SICK และคลิก Views เปน SICKNESS แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 7.2 รูปที่ 7.2 หนาตางรายการคําสั่ง Read . ขอมูลที่มีอยูในแฟมขอมูล เมื่อใชคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.3 รูปที่ 7.3 รายการขอมูลจากการใชคําสั่ง List ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 3. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 117 . กําหนดเปาหมายในการลบเรคคอรด เชน • ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย • ตองการลบเรคคอรดที่มอายุระหวาง 20 – 30 ป ี เปนตน . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.4 รูปที่ 7.4 รายการคําสั่ง Delete Records . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DELETE RECORDS ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดดังนี้ Permanent Deletion เปนการลบเรคคอรดออกจากแฟมขอมูลอยางถาวร และไมสามารถ เรียกคืนดวยคําสั่ง Undelete Record ได Mark for Deletion เปนการลบเรคคอรดในแฟมขอมูลชั่วคราว ซึ่งเมื่อเรียกดูดวยคําสั่ง List จะไมปรากฏเรคคอรดดังกลาว แตเมื่อเรียกดูในโปรแกรมยอย Enter Data เรคคอรดนี้จะยังคงอยู แตจะถูกกําหนดไมใหแสดง และหากตองการเรียกคืน ก็สามารถทําได โดยใชคําสั่ง Undelete Record ขอสังเกตเพิ่มเติม: กรณีแฟมขอมูลที่ถูกจัดการดวยคําสั่ง Relate คําสั่ง Write และคําสั่ง Merge เมื่อนํามาเปดใช หากตองการลบเรคคอรด จะไมปรากฏตัวเลือก Mark for Deletion ใหกําหนด เปนสวนในการกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด เชน ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 4. 118 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ตองการลบเรคคอรดที่มีหมายเลข ID ตั้งแต 5 ขึ้นไป การกําหนดเงื่อนไข : ID > 4 ตองการลบเรคคอรดที่เปนเพศชาย การกําหนดเงื่อนไข : SEX=1 ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุนอยกวา 30  การกําหนดเงื่อนไข : AGE < 30 ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุระหวาง 20 – 30 ป การกําหนดเงื่อนไข : AGE >19 AND AGE <31 กรณี Run Silent มีความหมายดังนี้ Run Silent แสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง Run Silent ไมตองแสดงขอความเตือนกอนลบทุกครั้ง ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไขของการลบเรคคอรด . ดังนั้นจากฐานขอมูล : SICK ถาตองการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป จึงสามารถกําหนดเงื่อนไข การลบเปน Age = 63 จากนั้นเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 7.5 รูปที่ 7.5 การกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรด บนหนาตาง Delete Records ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 5. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 119 . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการลบ (กรณีที่ระบุตัวเลือก Run Silent จะไมปรากฏ หนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการยกเลิก ดังรูปที่ 7.6 รูปที่ 7.6 หนาตางยืนยันการลบเรคคอรด . ผลที่ไดจากการลบเรคคอรด ที่มีอายุ 63 ป โดยใชคําสั่ง List พบวา เรคคอรดที่มีอายุ 63 ป จะถูก ลบออกจากฐานขอมูลไปอยางถาวร ดังรูปที่ 7.7 รูปที่ 7.7 ผลการลบเรคคอรด จากการใชรายการคําสั่ง List 9.1.2 การเรียกคืนผลการลบเรคคอรดดวยคําสั่ง Undelete Record เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูล เปนดังรูปที่ 7.8 รูปที่ 7.8 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 6. 120 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการลบเรคคอรดแบบชั่วคราวและเรียกคืนผล การลบของขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN .เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Delete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.9 รูปที่ 7.9 รายการคําสั่ง Delete Recodrs .ตองการลบเรคคอรดที่มีอายุต่ํากวา 35 ปลงมาแบบชั่วคราว ซึ่งสามารถกําหนดตัวเลือกและ เงื่อนไขการลบบนหนาตาง DELETE RECORDS ไดดังรูปที่ 7.10 รูปที่ 7.10 การกําหนดเงื่อนไขการลบเรคคอรดบนหนาตาง Delete Records ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 121 .ผลที่เกิดขึ้นจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว เมื่อกําหนดการแสดงขอมูลดวยคําสั่ง List จะไม ปรากฏเรคคอรดที่ถูกลบ แตหากนําแฟมดังกลาวไปเปดใชในโปรแกรมยอย Enter Data เรคคอรดที่ ถูกลบดังกลาวจะยังคงอยู เพียงแตถูกกําหนดไมใหแสดงผลเทานั้น ดังรูปที่ 7.11 คําสั่ง List ในโปรแกรมยอย Analyze Data ขอความบงชี้วาเรคคอรด นี้ถูกลบ โปรแกรมยอย Enter Data จํานวนเรคคอรดทั้งหมด ยังเทาเดิม ขอมูลยังคงอยู แตถูก กําหนดไมใหแสดงผล (แกไข/เพิ่มเติมไมได) รูปที่ 7.11 ผลลัพธที่ไดจากการลบเรคคอรดแบบชั่วคราว .เมื่อตองการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด สามารถทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Undelete Record ในกลุมคําสั่ง Data ดังรูปที่ 7.12 รูปที่ 7.12 รายการคําสั่ง Undelete Records ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 8. 122 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data .จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDELETE ซึ่งสามารถกําหนดตัวเลือกและเงื่อนไขการเรียกคืน เหมือนเดิมไดดังรูปที่ 7.13 รูปที่ 7.13 การกําหนดเงื่อนไข การเรียกคืน บนหนาตาง Undelete . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง เพื่อยืนยันการเรียกคืนผลการลบเรคคอรด (กรณีที่ระบุตัวเลือก Run Silent จะไมปรากฏหนาตางดังกลาวนี้) คลิกปุม OK เมื่อตกลง หรือปุม Cancel เมื่อตองการ ยกเลิก ดังรูปที่ 7.14 รูปที่ 7.14 หนาตางยืนยันการเรียกคืนเรคคอรด Undelete . ผลที่ได จะเปนการเรียกคืนเรคคอรดที่เคยถูกลบไปดวยเงื่อนไขกอนหนานี้ ซึ่งกรณีดังกลาว ผูใชงานตองตระหนักวา การเรียกคืน(Undelete) จะสามารถทําไดก็ตอเมื่อมีการลบเรคคอรดแบบ ชั่วคราว(Mark for Deletion)เทานั้น แตหากทําการลบเรคคอรดแบบถาวร(Permanent Deletion) การ เรียกคืนจะไมสามารถทําได ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 9. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 123 7.2 การแสดงและแกไขขอมูล ดวยคําสัง List ่ เปนคําสั่งที่ใชในการแสดงและแกไขขอมูลในตัวแปรตางๆซึ่งอยูในแฟมขอมูลที่ทําการ วิเคราะห โดยจะแสดงผลทางหนาตาง Output ในทุกตัวแปร หรือบางตัวแปรที่ตองการ เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.15 รูปที่ 7.15 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการแสดงผลและแกไขขอมูลในแฟมขอมูล สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ Views ชื่อ Baseline . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง List ในกลุมคําสั่ง Statistics ดังรูปที่ 7.16 รูปที่ 7.16 รายการคําสั่ง List ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. 124 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง LIST ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ • เปนสวนในการกําหนดตัวแปรที่ตองการแสดงผลของ ขอมูล โดยการคลิกที่ตัวแปร • กรณี All (*) Except ถามีการเลือก แสดงวา ตัวแปรที่ กําหนด จะเปนตัวแปรที่ถูกยกเวนไมใหแสดงผล • เปนสวนในการกําหนดตัวเลือกในการแสดงผล ดังนี้ Web (HTML) แสดงแบบภาษา HTML Grid แสดงแบบตารางแกไขไมได Allow Updates แสดงแบบตารางแกไขได . หากตองการแสดงผลขอมูลตัวแปร ID SEX AGE โดยกําหนดการแสดงผลเปน Web(HTML) Grid และ Allow Updates มีผลการแสดงดังรูปที่ 7.17 Web(HTML) Grid (ไมสามารถแกไขคาขอมูลได) Allow Updates (สามารถแกไขคาขอมูลได) รูปที่ 7.17 รูปแบบตางๆในการแสดงผลขอมูลตามรายการคําสั่ง List ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 11. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 125 7.3 การสรางและยกเลิกตัวแปรใหม ดวยคําสัง Define / Undefine ่ เปนคําสั่งที่ใชในการสรางและยกเลิกตัวแปรใหม เพื่อทําใหการวิเคราะหขอมูลมีความ ครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL โรงพยาบาล DS1 จํานวนผูปวยดวยโรคเบาหวาน DS2 จํานวนผูปวยดวยโรคหัวใจ DS3 จํานวนผูปวยดวยโรคเกาท และมีฐานขอมูลเปนดังรูปที่ 7.18 รูปที่ 7.18 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE หากในการวิเคราะหขอมูลตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล ซึ่งพบวา ขอมูลดังกลาวไมมีในฐานขอมูล แตสามารถทราบไดจากการนําจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน ดังนั้นจึงสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS โดยมีขึ้นตอนในการสรางตัวแปรใหม จําแนกได ดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.19 รูปที่ 7.19 รายการคําสั่ง Define ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 12. 126 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง DEFINE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ • เปนสวนในการระบุชื่อตัวแปรใหมที่ตองการสราง (ชื่อตองไมซํากับชื่อตัวแปรที่มีอยูเดิม) ้ • เปนสวนในการกําหนดขอบเขตของตัวแปรใหมเพื่อการใชงาน โดยจําแนกไดดังนี้ Standard ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดเฉพาะในฐานขอมูลที่กาลังทํางาน ํ ขณะนั้น หากทําการเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่ สรางขึ้นทั้งหมดจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ Global ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปด แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะ ถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze Data เทานั้น (ซึ่งกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Global นี้ จะใชคําสั่ง Assign ไดเฉพาะกําหนดเปนคาคงที่เทานั้น) Permanent ตัวแปรที่สรางใหมจะมีสถานภาพใชไดหลายฐานขอมูล แมทําการเปด แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรใหมที่สรางขึ้นก็ยังคงอยู และจะ ถูกยกเลิกไปเมื่อใชคําสั่ง Undefine หรือออกจากโปรแกรมยอย Analyze Data เชนเดียวกันกับ Global (ซึ่งกรณีกําหนดตัวแปรใหมเปน Permanent นี้ จะใชกับคําสั่ง Assign ไมได) ขอสังเกตเพิ่มเติม ในทางปฏิบัติสวนใหญจะกําหนดขอบเขตตัวแปรเปน Standard และหากเมื่อ ตองการจัดเก็บเปนตัวแปรถาวร หรือตองการใหตัวแปรใหมที่สรางขึ้นยังคงอยูในฐานขอมูล ก็จะใช คําสั่ง Write(Export) ไปจัดเก็บเปนแฟมขอมูลใหม สวน Global จะใชในกรณีที่มีการวิเคราะห เชื่อมโยงกับตาราง หรือ Views อื่น ซึ่งในการวิเคราะหจึงจําเปนตองกําหนดเปน Global เพื่อให สามารถเรียกตัวแปรที่สรางใหมมาใชงานได สวนกรณี Permanent โดยทั่วไปมักไมกําหนด เนื่องจาก ไมสามารถระบุคาดวยคําสั่ง Assign ได และที่สําคัญยังไมเห็นความจําเปนที่ตองกําหนดขอบเขตแบบ  นี้ เพราะหากต อ งการกํ า หนดตั ว แปรสร า งใหม แ บบถาวร ยั ง มี วิ ธี ก ารใช ง านแบบอื่ น ที่ ง า ยและ เหมาะสมมากกวา ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 13. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 127 . หากตองการกําหนดตัวแปรใหมชื่อ TOTAL_DS และมีขอบเขตแบบ Standard สามารถระบุใน หนาตาง DEFINE ไดดังรูปที่ 7.20 รูปที่ 7.20 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define . หากตองการดูรายละเอียดของตัวแปรที่สรางใหม สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง Display ในกลุม Variables และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.21 รูปที่ 7.21 รายละเอียดของการกําหนดตัวแปร จากการใชรายการคําสั่ง Display . หากตองการลบตัวแปรที่สรางใหม ทําไดโดยเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Undefine ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.22 รูปที่ 7.22 รายการคําสั่ง Undefine ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 14. 128 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง UNDEFINE ใหระบุเลือกตัวแปรใหมที่สรางขึ้นแลวตองการยกเลิก จากนั้นจึงคลิกที่ปม OK ดังรูปที่ 7.23 ุ รูปที่ 7.23 การระบุตัวแปรใหมที่ตองการยกเลิก บนหนาตาง Undefine . และหากเรียกดูรายละเอียดของตัวแปรดวยคําสั่ง Display ในกลุม Variables จะพบวา ตัวแปร ใหมที่สรางขึ้น ไดถูกยกเลิกออกไปแลวดังรูปที่ 7.24 รูปที่ 7.24 รายละเอียดการยกเลิกตัวแปรใหม จากการใชรายการคําสั่ง Display 7.4 การระบุหรือกําหนดคาตัวแปร ดวยคําสั่ง Assign เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคาใหกับตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมัก ใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน จากขอมูลชุดเดิม (DISEASE) ที่ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL DS1 DS2 DS3 หาก ตองการทราบจํานวนผูปวยทั้งหมดของโรงพยาบาล จึงตองสรางตัวแปรใหมขึ้นมาชื่อ TOTAL_DS ตามขั้นตอนการใชคําสั่ง Define ดังที่กลาวไปขางตน ตอมาจึงเปนขั้นตอนการกําหนดคาใหกับ ตัวแปรใหม ซึ่งจํานวนผูปวยทั้งหมด จะเกิดขึ้นจากจํานวนผูปวยในแตละโรคมารวมกัน ดังนั้นจึงอาจ เปนในรูปสมการไดดังนี้ TOTAL_DS = DS1 + DS2 + DS3 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 15. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 129 ดังนั้นจึงนํารูปแบบสมการดังกลาวไปกําหนดเปนเงื่อนไขในการกําหนดคาตัวแปรดวย คําสั่ง Assign ซึ่งจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหม เปน TOTAL_DS ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.25 รูปที่ 7.25 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Assign ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.26 รูปที่ 7.26 รายการคําสั่ง Assign ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 16. 130 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง ASSIGN ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สาคัญดังนี้ ํ • ใชกําหนดตัวแปรที่ตองการระบุคาโดยการคลิก ที่ปุม แลวเลือกตัวแปรที่ตองการระบุคา • ใชกําหนดเงื่อนไขเพื่อระบุคา หรือคํานวณคาของตัวแปร ซึ่งสวนนี้จะระบุเฉพาะสวนที่เปน เงื่อนและอยูหลังเครื่องหมายเทากับเทานั้น ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข . หากตองการระบุคาใหกับตัวแปรใหมชื่อ TOTAL_DS และมีเงื่อนไขเทากับ DS1+DS2+DS3 สามารถระบุในหนาตาง ASSIGN ไดดังรูปที่ 7.27 รูปที่ 7.27 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Assign . และหากตองการเรียกดูรายละเอียดของขอมูล สามารถเรียกดูไดดวยคําสั่ง List ในกลุม Statistics และไดผลลัพธดังรูปที่ 7.28 รูปที่ 7.28 ผลการกําหนดรายการคําสั่ง Assign ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 17. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 131 ดังที่กลาวไปขางตน ตัวแปรที่สรางใหมโดยกําหนดขอบเขตเปน Standard จะเปนการ สรางและกําหนดคาตัวแปรชั่วคราวในระหวางการวิเคราะหเทานั้น ซึ่งหากมีการปด หรือเรียกเปด แฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read ตัวแปรที่ถูกสรางดังกลาวจะถูกยกเลิกทันที ดังนั้นหากผูใชงาน ต อ งการให ตั ว แปรที่ ส ร า งใหม แ ละค า ที่ ร ะบุ น้ั น ยั ง คงอยู ใ นแฟ ม ข อ มู ล จึ ง ควรใช ร ายการคํ า สั่ ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง 7.5 การแปลงคาและจัดกลุมขอมูล ดวยคําสัง Recode ่ เปนคําสั่งที่ใชในการแปลงคา และจัดกลุมขอมูล ซึ่งสามารถจําแนกออกตามวิธีการใชงาน ที่พบบอยไดดังนี้ 7.5.1 การแปลงคาขอมูล เปนการเปลี่ยนคาขอมูลเดิมของตัวแปรเปนคาใหม เพื่อรองรับการวิเคราะหทาง สถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.29  รูปที่ 7.29 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการ Label ใหกับตัวแปรเพศ(SEX) โดย กําหนดให 1 = Male 2 = Female ซึ่งสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ Views ชื่อ Baseline ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 18. 132 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.30 รูปที่ 7.30 รายการคําสั่ง Define . กําหนดชื่อตัวแปรใหมเพื่อรองรับการแปลงคาใหมชื่อ SEX1 ระบุขอบเขตแบบ Standard ดังรูปที่ 7.31 รูปที่ 7.31 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.32 รูปที่ 7.32 รายการคําสั่ง Recode ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 19. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 133 . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง RECODE ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ เปนสวนที่ใหระบุตัวแปร เปนสวนที่ใหระบุตัวแปร ที่ตองการแปลงคา เพื่อรองรับคาใหมที่แปลง ขอสังเกตเพิ่มเติม : ในการแปลงคา หรือจัดกลุมขอมูลดวยคําสั่ง Recode ควรสรางตัวแปรใหม เพื่อ มารองรับผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการ Recode เสมอ ทั้งนี้เพื่อใหตัวแปรเกาและคาขอมูลเกา ยังคงอยูและสามารถใชวิเคราะหขอมูลในประเด็นอื่นไดอีกโดยไมสูญเสียคุณคาของขอมูลจริงไป ระบุไดไมเกิน 12 ระดับ ระบุคาเริ่มตนใน ระบุคาสิ้นสุดใน ระบุคา หรือตัวอักษร แตละระดับ แตละระดับ ในแตละระดับ เชน ความหมาย : 1 – 4 = 1 5–9 = 2 10 - 14 = 3 ความหมาย : 0 = Not Risk 1 = Risk ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 20. 134 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data กรณีตองการแทรกแถว ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการแทรก จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Insert กรณีตองการลบแถว ใหคลิกเมาสบนแถบหัวแถวที่ตองการลบ จากนั้นจึงกดปุม Ctrl – Del • เปนปุมที่ใชในการกําหนดชวงของรหัส กรณีทราบคาเริ่มตนและคาสิ้นสุด และชวงในการ แบงแตละระดับเทากัน เชน ถาไมถูกเลือก คาของชวง ในแต ล ะระดั บ จะเรี ย ง คาเริ่มตน จากต่ําไปหาสูง คาสิ้นสุด ถาถูกเลือก คาของชวงใน แต ล ะระดั บ จะเรี ย งจาก สูงไปหาต่ํา ใหแตละระดับแบงเทากันคือ 5 . ระบุคาใหตัวแปรใหมชื่อ SEX1 โดยกําหนดเงื่อนไข 1 = Male และ 2 = Female ดังรูปที่ 7.33 รูปที่ 7.33 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 21. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 135 . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.34 รูปที่ 7.34 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Recode 7.5.2 การจัดกลุมขอมูล เปนการจัดกลุมขอมูลโดยกําหนดชวงของคาขอมูลเดิม เปนคาใหม เพื่อรองรับการ วิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชน แฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.35 รูปที่ 7.35 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN โดยจากฐานขอมูลขางตน หากตองการจัดกลุมขอมูลใหกับตัวแปรอายุ(AGE) โดย สรางตัวแปรใหมช่อ AGE1 และมีเงื่อนไขการจัดกลุมดังนี้ ื อายุต่ํากวา 30 = 1 30 – 35 ป = 2 มากกวา 35 ปขึ้นไป = 3 ซึ่งสามารถปฏิบัติจําแนกเปนขั้นตอนไดดังนี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 22. 136 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ Views ชื่อ Baseline . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูปที่ 7.36 รูปที่ 7.36 รายการคําสั่ง Define . กําหนดชื่อตัวแปรใหมชื่อ AGE1 ระบุขอบเขตแบบ Standard ดังรูปที่ 7.37 รูปที่ 7.37 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Recode ในกลุมคําสั่ง Variables ดังรูป รูปที่ 7.38 รายการคําสั่ง Recode ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 23. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 137 . ระบุคาใหกับตัวแปรใหมชื่อ AGE1 โดยกําหนดเงื่อนไขไดดังรูปที่ 7.39 รูปที่ 7.39 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Recode . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.40 รูปที่ 7.40 ผลที่ไดจากรายการคําสั่ง Recode การใชคําสั่ง Recode โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขตเปน Standard ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึกตัวแปรใหมและคา ขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการโอนยายขอมูลไป จัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 24. 138 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data 7.6 การคัดเลือกขอมูลบางสวน ดวยคําสัง Select / Cancel Select ่ เปนคําสั่งที่ใชในการคัดเลือกขอมูลมาบางสวนตามเงื่อนไขที่กําหนด เพื่อรองรับ การวิเคราะหทางสถิติใหมีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร (ฟดล) : ID SEX AGE และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.41 รูปที่ 7.41 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN ซึ่งหากตองการวิเคราะหขอมูลเฉพาะในกลุมเพศชาย (SEX = 1) สามารถนํา เงื่อนไขดังกลาวไปกําหนดในการใชคําสั่ง Select ไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ Views ชื่อ Baseline . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.42 รูปที่ 7.42 รายการคําสั่ง Select ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 25. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 139 . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SELECT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ • เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการ โดยมีสัญลักษณที่สําคัญดังนี้ = แสดงความเทากัน - แสดงการลบ <> แสดงความไมเทากัน / แสดงการหาร + แสดงการบวก * แสดงการคูณ AND ตัวเชื่อม “และ” OR ตัวเชื่อม “หรือ” ตัวเลือกเหลานี้ ถือเปนตัวชวยในการกําหนดเงื่อนไข . ระบุคาเงื่อนไข SEX = 1 ในหนาตาง SELECT ไดดังรูปที่ 7.43 รูปที่ 7.43 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Select . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.44 รูปที่ 7.44 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Select ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 26. 140 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ภายหลังจากใชคําสั่ง Select ตามเงื่อนไขที่กําหนด การกระทําการใดๆกับขอมูลหรือการ วิเคราะหขอมูล จะเปนไปเฉพาะในกลุมที่ถูกคัดเลือกมาตามเงื่อนไขดังกลาวเทานั้น และเมื่อทําการ วิ เ คราะห เ รี ย บร อ ยแล ว ควรทํ า การยกเลิ ก การกํ า หนดเงื่ อ นไขการคั ด เลื อ กดั ง กล า วด ว ยคํ า สั่ ง Cancel Select ดังนี้ . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Cancel Select ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.45 รูปที่ 7.45 รายการคําสั่ง Cancel Select . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง CANCEL SELECT ขึ้นมา และคลิกที่ปุม OK ดังรูปที่ 7.46 รูปที่ 7.46 หนาตางยืนยันการยกเลิกรายการคําสั่ง Select . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.47 รูปที่ 7.47 ผลการยกเลิกรายการคําสั่ง Select ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 27. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 141 ดังนั้นในการกําหนดเงื่อนไขการคัดเลือกขอมูลบางสวนมาวิเคราะหดวยคําสั่ง Select ภายหลังจากที่ทําการวิเคราะหในกลุมเงื่อนไขดังกลาวสิ้นสุด จึงควรยกเลิกการคัดเลือกโดยใชคําสั่ง Cancel Select กอนทําการวิเคราะหสวนอื่นตอไป แตทั้งนี้คําสั่ง Select จะมีผลเฉพาะในขณะที่ แฟมขอมูลนั้นเปดอยูเทานั้น ซึ่งหากมีการปด หรือเรียกเปดแฟมขอมูลใหมดวยคําสั่ง Read คําสั่ง ดังกลาวจะถูกยกเลิกไปโดยอัตโนมัติ 7.7 การกําหนดเงือนไขขอมูล ดวยคําสัง If ่ ่ เปนคําสั่งที่ใชในการระบุคา หรือคํานวณคา หรือกําหนดเงื่อนไขตามที่ตองการใหกับ ตัวแปรใหม ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักใชรวมกับคําสั่ง Define เพราะเมื่อมีการสรางตัวแปรใหม ก็ จะตองกําหนดคาใหกับตัวแปรใหม เชน จากแฟมขอมูล: DISEASE ประกอบดวยตัวแปร(ฟลด) : HOSPITAL DS1 DS2 DS3 และมีขอมูลเปนดังรูปที่ 7.48 รูปที่ 7.48 รายการขอมูลในแฟมชื่อ DISEASE หากตองการประเมินขนาดปญหาของโรคหัวใจโดยพิจารณาจากจํานวนผูปวย สมมติวา หากโรงพยาบาลใด มีจํานวนผูปวยตั้งแต 20 คนขึ้นไปถือวา รุนแรง ดังนั้นหากนํามากําหนดเปนเงื่อนไข เพื่อจัดการขอมูลและนําไปวิเคราะหผล โดยใชคําสั่ง If สามารถปฏิบัติเปนขั้นตอนไดดังนี้ . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ DISEASE และ Views ชื่อ HospitalDisease . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Define ในกลุมคําสั่ง Variables แลวกําหนดชื่อตัวแปรใหม เปน LEVEL ระบุขอบเขตเปน Standard ดังรูปที่ 7.49 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 28. 142 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data รูปที่ 7.49 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Define . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง If ในกลุมคําสั่ง Select/If ดังรูปที่ 7.50 รูปที่ 7.50 รายการคําสั่ง If . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง IF ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ • เปนสวนที่ใชในการกําหนดเงื่อนไขการตัดสินใจ • ตัวเลือกในการชวยกําหนดเงื่อนไข ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 29. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 143 • เปนสวนในการกําหนดการกระทําหรือกําหนด ขั้นตอนคํานวณคา เมื่อเปนไปตามเงื่อนไข • เปนสวนในการกําหนดการกระทํา หรือกําหนด ขั้ น ตอนการคํ า นวณค า เมื่ อ ไม เ ป น ไปตาม เงื่อนไข . ระบุเงื่อนไขตามที่ตองการเปนดังนี้ If Condition กําหนดเปน DS2 >= 20 Then กําหนดเปน ASSIGN LEVEL = “SEVERE” Else กําหนดเปน ASSIGN LEVEL = “NO SEVERE” ดังรูปที่ 7.51 รูปที่ 7.51 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง If ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 30. 144 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.52 รูปที่ 7.52 ผลจากการใชรายการคําสั่ง If การกําหนดเงื่อนไขโดยใชคําสั่ง If โดยจัดเก็บในตัวแปรใหมที่สรางขึ้น และระบุขอบเขต เปน Standard ผลที่ไดจะเปนการจัดเก็บคาตัวแปรไวชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงานตองการบันทึก ตัวแปรใหมและคาขอมูลใหมใหคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการ โอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง 7.8 การจัดเรียงขอมูล ดวยคําสัง Sort / Cancel Sort ่ เปนคําสั่งที่ใชในการจัดเรียงขอมูลตามตัวแปรที่ระบุ เพื่อรองรับการวิเคราะหทางสถิติให มีความครอบคลุมมากขึ้น เชนแฟมขอมูล : MAIN ประกอบดวยตัวแปร(ฟดล) : ID SEX AGE และมี ขอมูลเปนดังรูปที่ 7.53 รูปที่ 7.53 รายการขอมูลในแฟมชื่อ MAIN ซึ่งหากตองการจัดเรียงตัวแปรอายุ(AGE) จากนอยไปหามาก สามารถกําหนดโดย ใชคําสั่ง Sort ไดดังนี้ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 31. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 145 . เรียกใชงานโปรแกรมยอย Analyze Data และคลิกใชคําสั่ง Read(Import) เพื่อเปดแฟมขอมูลชื่อ MAIN และ Views ชื่อ Baseline . เลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่ง Sort ในกลุมคําสั่ง Select/If . จากนั้นจะปรากฏหนาตาง SORT ขึ้นมา โดยมีรายละเอียดที่สําคัญดังนี้ • เปนสวนแสดงรายชื่อตัวแปรทั้งหมด เพื่อใหผูใชงานระบุวาตองการใหจดเรียงโดยยึดตัวแปร  ั ใดเปนหลัก • เปนสวนตัวเลือกในการกําหนดรูปแบบการจัดเรียง โดยมีรายละเอียดดังนี้ Ascending(++) นอยไปหามาก Descending(--) มากไปหานอย Remove from Sort ลบออกจากการเปนตัวแปรหลักในการจัดเรียง • เปนสวนที่แสดงตัวแปรหลักที่ใชในการจัดเรียง ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 32. 146 บทที่ 7 การจัดการขอมูลดวยโปรแกรมยอย Analyze Data . เลื่อนเมาสดับเบิ้ลคลิกที่ตัวแปร AGE และกําหนดรูปแบบการจัดเรียงแบบ Ascending ดัง รูปที่ 7.54 รูปที่ 7.54 การกําหนดรายละเอียดบนหนาตาง Sort . ผลที่ไดเมื่อเรียกดูจากคําสั่ง List เปนดังรูปที่ 7.55 รูปที่ 7.55 ผลจากการใชรายการคําสั่ง Sort การจัดเรียงขอมูลโดยใชคําสั่ง List เปนการจัดเรียงแบบชั่วคราว ดังนั้นหากผูใชงาน ตองการใหการจัดเรียงดังกลาวยังคงอยูในแฟมขอมูล จึงควรใชรายการคําสั่ง Write(Export) ในการ โอนยายขอมูลไปจัดเก็บในแฟมขอมูลใหมอีกครั้งหนึ่ง ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 33. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 147 7.9 บทสรุป การจัดการขอมูล ดวยโปรแกรมยอย Analyze Data ถือเปนเทคนิควิธีการใชงานที่มี ความสํ าคั ญ ในการวิเ คราะห ข อ มู ลทางสถิติ เพราะในการวิเ คราะหข อมู ล เพื่ อ ใหครอบคลุ ม ตาม วัตถุประสงคของการวินิจฉัยชุมชน อาจจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลเดิม หรือมีการ กําหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมใหกับขอมูล เพื่อใหสอดคลองกับแนวทางที่ตองการวิเคราะห ดังนั้นการ เรียนรูวธีการใชงานเกี่ยวกับคําสั่งในการจัดการขอมูลจึงมีความจําเปน และทําใหการวิเคราะหขอมูลมี ิ ความคลองตัวและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน