SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
พลังงานไฟฟ้ า
จัดทาโดย

•   1.ด.ญ.ชุตกาญจน์
             ิ         ทวี เลขที่ 25 ม.304
•   2.ด.ญ.นฤมล         ยาดี เลขที่ 26 ม.304
•   3.ด.ญ.นันทิชา      เสาปั น เลขที่ 27 ม.304
•   4.ด.ญ.วิไลลักษณ์   โหนแหยม เลขที่ 28 ม.304
เรื่ อง พลังงานไฟฟ้ า
• พลังงานไฟฟาสามารถแบ่ งออกได้ 2 แบบได้ แก่
                 ้
     1. ไฟฟาสถิต
             ้
     2. ไฟฟากระแส
               ้
• ไฟฟาสถิต
      ้
     ในการดาเนินชีวิตประจาวันของเรา เราสามารถพบไฟฟ้ าสถิตได้ เสมอ เช่น เมื่อเรานามือเข้ าไปใกล้
  จอโทรทัศน์ที่เพิ่งปิ ดใหม่ ๆ หรื อเมื่อเราหวีผม เส้ นผมมักจะชูตามหวีขึ ้นมาด้ วย หรื อการที่เรานาไม้ บรรทัด
  พลาสติก มาถูที่ผมของเรา จากนันไม้ บรรทัดจะมีพลังสามารถที่จะดูดเศษกระดาษชิ ้นเล็กๆ ได้ เราเรี ยน
                                        ้
  พลังงานเหล่านี ้ว่า ไฟฟ้ าสถิต
     ปรากฏการณ์ไฟฟาสถิตนี ้มนุษย์ค้นพบมานานแล้ วเท่าที่มีการบันทึกไว้ เริ่ มมาตังแต่ 600 ปี ก่อนคริ สต
                         ้                                                              ้
  ศักราชหรื อราว ๆ สมัยพุทธกาลนันเอง นักปราชญ์ชาวกรี กชื่อ ธาลีสแห่งเมืองมิเลตุล (Thales of
                                      ่
  Miletus)
        นักปราชญ์เทลีส สังเกตว่าเมื่อเขาหยิบแท่งอาพันมาถูกบเสื ้อคลุมซึงทาด้ วยขนสัตว์ เมื่อเขาวางแท่ง
                                                                ั           ่
  อาพันไว้ บนโต๊ ะดังเดิม เศษวัสดุต่าง ๆ เช่น เศษไม้ เล็ก ๆ ต่างก็วิ่งเข้ ามาเกาะแท่งอาพันนันได้ เอง เขา
                                                                                                ้
  ทดลองถูอีกหลายครังจึงแน่ใจว่านันเป็ นความจริ ง ไม่ใช่ภาพลวงตา เทลีส เรี ยนรู้ว่าถ้ าเอาอาพันถูกบผ้ า
                           ้              ่                                                              ั
  ขนสัตว์แล้ วแท่งอาพันจะดูดวัตถุเบา ๆ ได้
• การเกิดไฟฟาสถิต
            ้
•
         เมื่อมีวสดุท้งสองชนิดเป็ นฉนวนที่มีการสัมผัสกันจะมีประจุบางส่วน (Electrons) ถูกถ่ายโอนจากวัสดุ
                  ั ั
    ฉนวนชิ้นหนึ่งไปสู่วสดุฉนวนอีกชิ้นหนึ่ง และเมื่อฉนวนทั้งสองชิ้นถูกแยกออกจากกัน ประจุดงกล่าวก็จะไม่
                            ั                                                                     ั
    สามารถย้อนกลับไปยังวัสดุฉนวนชิ้นเดิมได้ จึงทาให้ประจุดงกล่าวก็จะไม่สามารถเคลื่อนที่ในวัสดุฉนวนได้ ซึ่งถ้า
                                                                 ั
    วัสดุท้งสองเป็ นกลางแล้วก็จะเกิดประจุบวกขึ้นในวัสดุฉนวนชิ้นหนึ่ งและเกิดประจุลบกับวัสดุอีกชิ้นหนึ่ง
              ั
•        ปรากฏการณ์ธรรมชาติฟ้าแลบ ฟ้ าร้อง และฟ้ าผ่าเกิดจากประจุไฟฟ้ าสถิตในก้อนเมฆ มีจานวนมากจนสามารถ
    เคลื่อนที่จากเมฆก้อนหนึ่งไปยังอีกก้อนหนึ่ง เมื่อเกิดพายุฝนฟ้ าคะนองประจุไฟฟ้ าในก้อนเมฆจะเกิดการถ่ายเทไป
                                                  ั
    ยังอีกก้อนหนึ่งอย่างรวดเร็วทาให้เสี ยดสี กบอากาศจนอากาศร้อนจัด และลุกไหม้เห็นแสงสว่างราบเป็ นทางที่เรา
    เรี ยกว่า ฟ้ าแลบ เมื่ออากาศร้อนจัดจึงขยายตัวและหดตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้อากาศสันสะเทือนกลายเป็ นเสี ยง ฟ้ า
                                                                                        ่
    ร้อง
•                                                                                                                ่
         ส่วนการเกิดฟ้ าผ่า เกิดจากถ่ายเทประจุไฟฟ้ าระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดินเป็ น ถ้ามีสิ่งกีดขวางไม่ยอมให้ประจุผาน
    ไปได้สะดวก เช่น ต้นไม้ บ้าน รถยนต์ คน สัตว์ต่างๆ ก็จะเกิดความร้อนและลุกไหม้เป็ นอันตรายอย่างมาก หรื อที่
                                                ่
    เราเรี ยกกันว่า ฟ้ าผ่า ดังนั้นจึงสังเกตได้วาตามอาคารสูงๆ จึงมักติดสายล่อฟ้ า ทาด้วยเหล็กกล้ารู ปสามง่ามไว้บนยอด
    สุดของอาคาร เชื่อมต่อกับสายทองแดงลงมาที่พ้ืนดินเพื่อถ่ายเทประจุไฟฟ้ านาลงสู่พ้ืนดิน
•                                                        ั             ่
        เบนจามิน แฟรงคลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริ กน ได้พิสูจน์วาฟ้ าแลบฟ้ าร้อง เป็ นไฟฟ้ าสถิตอย่างหนึ่งในปี
    พ.ศ. 2295 เขาได้ทดลองปล่อยว่าวขึ้นท่ามกลางพายุในฟ้ าคะนอง เขาพบว่าไฟฟ้ าไหลลงมาตามสายป่ านที่เปี ยกฝน
    ก่อให้เกิดประกายไฟที่ลูกกุญแจโลหะที่แขวนไว้ใกล้ปลายสายป่ าน การทดลองนี้มีอนตรายมากอาจถึงแก่ชีวิตโชคดี
                                                                                          ั
    ที่แฟรงคลินรอดชีวิตมาได้ ผูทดลองแบบเดียวกันในปี ต่อมาถูกฟ้ าผ่าเสี ยชีวิต การทดลองของแฟรงคลินก่อให้เกิด
                                      ้
    การประดิษฐ์สายล่อฟ้ าเพื่อป้ องกันฟ้ าผ่าในเวลาต่อมา
•               ่
         แม้วาไฟฟ้ าสถิตจากฟ้ าผ่าจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวตก็ตามแต่เราได้ใช้ประโยชน์หลายอย่างจากไฟฟ้ า
                                                            ิ
    สถิต เช่น ทาให้เกิดภาพบนจอโทรทัศน์ ทาให้เกิดภาพในเครื่ องถ่ายเอกสาร เครื่ องเอกซเรย์ ช่วยในการพ่นสี
    รถยนต์จนถึงการทางานของไมโครชิพในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
• ไฟฟากระแส
     ้
•

                      ั ่
     ไฟฟ้ าที่เราใช้กนทัวไป หรื อที่เรี ยกว่า ไฟฟ้ ากระแส เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ า
  ไหลผ่านตัวนาไฟฟ้ าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าแบบนี้มีมีหลายวิธี
       1. เซลล์ไฟฟ้ าเคมี จะเป็ นกรรมวิธีการเปลี่ยนพลังงานจากปฏิกิริยาเคมีมาเป็ นพลังงานไฟฟ้ า
  โดยถ้าเราจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสี ลงในกรดกามะถันเจือจางโดยวางให้ห่างกัน
  พอประมาณ ต่อหลอดไฟระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง หลอดไฟจะติดสว่าง เซลล์ไฟฟ้ านี้
  เรี ยกว่า เซลล์เปี ยก โดยจะทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างแผ่นโลหะกับกรดกามะถัน จนทาให้เกิด
  กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจรจากแผ่นทองแดงไปยังแผ่นสังกะสี
• 2. ไฟฟ้ าจากไดนาโม หรื อเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า โดยปกติน้ นไฟฟ้ าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรื อนเป็ น
                                                                ั
  ไฟฟ้ าที่เกิดจากเครื่ องไดนาโม (เจเนอเรเตอร์) ซึ่งภายในไดนาโม จะประกอบด้วยขด
  ลวดทองแดงเคลื่อนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็กหรื ออาจเคลื่อนที่แม่เหล็กตัดขวดลวดทองแดงที่อยูกบ
                           ั                                                                 ่ ั
  ที่ ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้ าในขดลวดไหลกลับไปกลับมาระหว่างขั้วบวกและขั้วลบ เรี ยกว่า ไฟฟ้ า
  กระแส-สลับ
      เครื่ องกาเนิดขนาดใหญ่ ใช้แรงดันไอน้ าเป็ นตัวหมุนแม่เหล็ก ในโรงไฟฟ้ าที่ใช้น้ ามัน ถ่าน
  หิน ก๊าซธรรมชาติ เป็ นเชื้อเพลิงต้มน้ า เพื่อให้เกิดไอน้ าที่มีแรงดันไปหมุนกังหันเทอร์-ไบน์ที่
  ต่อไปยังแม่เหล็ก ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าในขดลวดที่พนรอบแม่เหล็กนั้น
                                                           ั
       3. ไฟฟ้ าที่มาจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยเราสามารถสร้าง Solar Cell ที่ทาหน้าที่เปลี่ยน
  พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ าได้ ซึ่ งใช้ครั้งแรกในยานอวกาศ ปัจจุบน      ั
  เครื่ องใช้ไฟฟ้ าหลายชนิดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่ องคิดเลข แต่ใช้จ่าย
  ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าจากแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง
ไฟฟามาจากไหน
                           ้
• ไฟฟาเกิดขึนได้ หลายวิธี
          ้       ้
• เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติ ได้ แก่ ฟาแลบ ฟาผ่า
                                   ้      ้
• เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้ อนเป็ นพลังงานไฟฟา  ้
• เกิดจากการเปลี่ยนแสงสว่างให้ เป็ นพลังงานไฟฟา โดยเซลล์แสงอาทิตย์
                                               ้
  (Solar Cell)หรื อ โฟโตเซลล์(Photo Cell)
• เกิดจากปฎิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เซลล์แห้ งและเซลล์
  เชื ้อเพลิง เป็ นต้ น
• เกิดจากการเหนี่ยวนาของอานาจแม่เหล็กโดยเครื่ องกาเนิดไฟฟา ได้ แก่
                                                             ้
  ไฟฟาที่ใช้ อยูตามอาคารบ้ านเรื อนในปั จจุบน
        ้           ่                       ั
• เครื่ องกาเนิดไฟฟา
                   ้
    เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานกลมาเป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยอาศัยการเหนี่ยวนาของ
    แม่เหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย์ คือ การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนาผ่านสนามแม่เหล็ก หรื อการเคลื่อนที่
    แม่เหล็กผ่านขดลวดตัวนา จะทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนาขึ้นในขดลวดตัวนานั้น
•   เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ามี 2 ชนิด คือชนิดกระแสตรงเรี ยกว่า ไดนาโม(Dynamo) และชนิดกระแสสลับเรี ยกว่า อัล
    เตอร์เนเตอร์(Alternator) สาหรับเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่ใช้งานในเชิงอุตสาหกรรมนั้น โดยมากจะเป็ นเครื่ อง
    กาเนิดไฟฟ้ าชนิดกระแสสลับ ซึ่งมีท้งแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส โดยเฉพาะเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ที่ใช้ตาม
                                           ั
    โรงไฟฟ้ าจะเป็ นเครื่ องกาเนิดแบบ 3 เฟสทั้งหมด เนื่องจากสามารถผลิตและจ่ายกาลังไฟฟ้ าได้เป็ นสามเท่าของเครื่ อง
    กาเนิดไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส
•   โดยทัวไปแล้วเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือส่วนที่เรี ยกว่า โรเตอร์(Rotor) ซึ่งจะมี
            ่
                        ่
    ขดลวดตัวนาฝังอยูในร่ องรอบแกนโรเตอร์ที่ทาจากแผ่นเหล็กซิลิคอน(Silicon Steel Sheet) ขนาดหนา
    ประมาณ 0.35-0.5 มิลลิเมตร นามาอัดแน่นโดยระหว่างแผ่นเหล็กซิลิคอนจะมีฉนวนเคลือบ ทั้งนี้เพื่อลดการสูญเสี ย
    ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าไหลวน (Eddy Current) ภายในแกนเหล็กของโรเตอร์จะได้รับไฟฟ้ ากระแสตรง
    จากเอ็กไซเตอร์(Excitor) เพื่อทาหน้าที่ในการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าขึ้น อีกส่วนหนึ่งของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า
                  ่ ั
    คือส่วนที่อยูกบที่ เรี ยกว่า สเตเตอร์(Stator) ภายในร่ องแกนสเตเตอร์ มีขดลวดซึ่งทาจากแผ่นเหล็กอัดแน่น
    เช่นเดียวกับโรเตอร์ฝังอยู่ อาศัยหลักการของการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กผ่านลวดตัวนา จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนา
    แรงดันไฟฟ้ าที่สเตเตอร์และนาแรงดันไฟฟ้ านี้ไปใช้ต่อไป
•                                                                                          ่
    อุปกรณ์ประกอบที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ คือ เอ็กไซเตอร์อยูแกนเดียวกับโรเตอร์ ทา
    หน้าที่ผลิตไฟฟ้ ากระแสตรงป้ อนให้แก่โรเตอร์ (D.C. Exciting Current) เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นบนโร
    เตอร์ ชนิดของเอ็กไซเตอร์จะเป็ นแบบไฟฟ้ ากระแสตรง หรื ออาจจะใช้แบบกระแสสลับ แล้วผ่านวงจรแปลงไฟฟ้ า
    ให้เป็ นกระแสตรงก่อนป้ อนเข้าสู่โรเตอร์ เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่มกจะใช้เอ็กไซเตอร์ชนิดหลังเป็ นส่นมาก
                                                                           ั
•   การควบคุมแรงดันไฟฟ้ าของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า สามารถกระทาได้โดยการปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กที่โร
                                                           ั                                      ่ ั
    เตอร์สร้างขึ้นด้วยการปรับกระแสไฟฟ้ าตรงที่ป้อนให้กบโรเตอร์ ส่วนความถี่ของไฟฟ้ าที่ผลิตขึ้นอยูกบปัจจัย 2 อย่าง
    คือ ความเร็วรอบที่โรเตอร์หมุน ยิงหมุนรอบมากความถี่ไฟฟ้ าก็จะยิงสูง และจานวนขั้วแม่เหล็กไฟฟ้ าที่สร้างขึ้นบน
                                        ่                            ่
    โรเตอร์ ยิงมีข้วมากเท่าไร ความถี่ไฟฟ้ าก็จะมาก
               ่ ั
พลังงานไฟฟ้ า
•    เมื่อต่อเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าเข้ ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ประจุไฟฟาจะเคลื่อนที่ ทาให้ มีกระแสไฟฟาผ่าน
                                                                 ้                             ้
    เครื่ องใช้ ไฟฟา พลังงานไฟฟาจะถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเครื่ องใช้ ไฟฟา เช่น เมื่อ
                    ้                  ้                                                    ้
    ต่อหลอดไฟกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า จะได้ พลังงานแสงสว่าง ถ้ าต่อเตาไฟฟาเข้ ากับแหล่งกาเนิด
                                                                                 ้
    ไฟฟา จะได้ พลังงานความร้ อน ถ้ าต่อ
          ้
    แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าเข้ ากับเครื่ องซักผ้ า พัดลม และสว่านไฟฟา ก็จะได้ พลังงานกล เป็ นต้ น
                                                                   ้
  กาลังไฟฟา     ้    กาลังไฟฟ้ า   คือ พลังงานไฟฟาที่ใช้ ไปในหนึงหน่วยเวลา มีหน่วยเป็ น จูลต่อวินาที
                                                 ้              ่
  หรื อวัตต์ เขียนสมการ
  ได้ ดงนี ้ …
       ั
•        เมื่อ...
                  P     =          กาลังไฟฟ้ า   มีหน่วยเป็ นจูลต่อวินาทีหรื อวัตต์
                  W      =         พลังงานไฟฟา มีหน่วยเป็ นจูล
                                               ้
                  t      =          เวลา         มีหน่วยเป็ นวินาที
•      แหล่งกาเนิดไฟฟา คือ แหล่งกาเนิดที่ทาให้ เกิดความต่างศักย์ไฟฟา
                          ้                                        ้
    ระหว่างปลายทังสองของตัวนาอยูตลอดเวลาและทาให้ เกิดกระแสไฟฟา
                      ้             ่                                ้
    ผ่านตัวนาอยูตลอดเวลา ได้ แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่ องกาเนิด
                   ่
    ไฟฟา เป็ นต้ น แหล่งกาเนิดไฟฟา ที่ควรทราบมีดงนี ้
        ้                             ้              ั
      เซลล์ไฟฟาเคมี (eletrochemical cell)
                 ้
       เครื่ องกาเนิดไฟฟา (generator)
                            ้
       คูควบความร้ อน (thermocouple)
          ่
       เซลล์สริยะ (solar cell)
               ุ
       แหล่งกาเนิดไฟฟาจากสิงมีชีวิต
                        ้     ่
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ า
•
            แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ เป็ นเครื่ องวัดทางไฟฟา เพื่อใช้ วดปริมาณต่างๆ ทางไฟฟา
                                                                          ้           ั                  ้
    เครื่ องวัดทางไฟฟาต่างๆ นี ้ สามารถสร้ างขึ ้น โดยดัดแปลงมาจาก แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) ชนิด
                     ้
    ขดลวดเคลื่อนที่ ซึงประกอบด้ วยขดลวดวางระหว่างขัวแม่เหล็ก
                       ่                                  ้
           แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) คือ เครื่ องมือวัดพื ้นฐานทางไฟฟาที่สามารถวัดได้ ทงกระแส
                                                                             ้                ั้
    ไฟฟาและความต่างศักย์ไฟฟา แต่จะวัดได้ ปริมาณน้ อยๆ ดังนันจึงนิยมนาไปดัดแปลงใช้ วดกระแสไฟฟา ความ
        ้                    ้                             ้                       ั        ้
    ต่างศักย์ไฟฟา และความต้ านทาน
                ้
        หลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์
         เมื่อมีกระแสไฟฟาผ่านเข้ าไปในขดลวด จะทาให้ ขดลวดหมุนได้ เนื่องจากเกิดแรงกระทาระหว่างสนาม
                        ้
    แม่เหล็กไฟฟารอบๆ ขดลวดกับสนามแม่เหล็กจากขัวแม่เหล็ก และถ้ ามีเข็มติดกับขดลวดเข็มก็จะเบนไปด้ วย
                 ้                                       ้
    การเบนของเข็มจะมากหรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบปริมาณกระแสไฟฟาที่ผ่านเข้ าไปในขดลวด กระแสไฟฟาที่ทาให้ เข็มของ
                                          ั                  ้                                ้
    แกลแวนอมิเตอร์ เบนได้ สงสุด จะมีค่าจากัดค่าหนึง เรี ยกว่า "กระแสสูงสุดของแกลแวนอมิเตอร์ " ถ้ ากระแสไฟฟา
                           ู                      ่                                                       ้
    ผ่านเข้ าไปในแกลแวนอมิเตอร์ มากกว่าค่าจากัดดังกล่าวนี ้ จะทาให้ แกลแวนอมิเตอร์ เสียหายได้
       ดังนัน การที่จะนาแกลแวนนอมิเตอร์ ไปใช้ วดค่ากระแสไฟฟาและความต่างศักย์ไฟฟาในวงจรไฟฟา จึงต้ อง
            ้                                  ั           ้                   ้         ้
    ทาการดัดแปลงเสียก่อนสัญลักษณ์ของแกลแวนอมิเตอร์ คือ
วงจรไฟฟาในบ้ าน
                                         ้
•   ใช้ ไฟฟากระแสสลับ มีความต่างศักย์ไฟฟาเฉลี่ย 220 โวลต์ สายไฟที่เข้ ามาในบ้ าน
            ้                            ้
       จะมี 2 สาย ต่อจากสายหลักที่เสาไฟฟาผ่านมาตรกิโลวัตต์-ชัวโมง แล้ วเข้ าไปในบ้ าน โดยสาย 2 สาย
                                           ้                 ่
    นั ้น
       สายหนึ่งจะเป็ นสายกลาง (N) และอีกสายจะเป็ นสายมีศกย์ (L) สายมีศกย์จะผ่านฟิ วส์ ซึงจะเป็ นตัว
                                                          ั               ั                   ่
    ปองกัน
     ้
       อันตรายที่เกิดจากไฟฟาช็อต หรื อการใช้ กระแสไฟฟาเกินขนาดที่ฟิวส์จะทนได้ เครื่องใช้ ไฟฟาภายในบ้ าน
                           ้                         ้                                      ้
       จะต่อกันแบบขนาน หลังจากผ่านสะพานไฟรวมไปแล้ ว ดังรูป

•                อุปกรณ์ และเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน ได้ แก่ หลอดไฟ หม้ อหุงข้ าว เตารี ด พัดลม โทรทัศน์
                                            ้
      เครื่ องปรับอากาศ อุปกรณ์เหล่านี ้ทุกชิ ้น จะมีตวเลขบอกความต่างศักย์ (V) และกาลังไฟฟา (P) ที่เกิดขึ ้น
                                                         ั                                   ้
    เป็ น
      วัตต์ (W) แต่บางชนิดก็กาหนดค่าความต่างศักย์ (V) กับกระแสที่ผ่านเครื่ องใช้ ไฟฟาเป็ นแอมแปร์ (A)
                                                                                         ้
        เครื่ องใช้ ไฟฟาทุกชิ ้นควรต่อสายดิน เพื่อปองกันไฟดูด
                       ้                           ้
•
วงจรไฟฟา
                                                  ้
•

        วงจรไฟฟ้ า ประกอบด้วย ความต้านทานหลายตัวต่อเข้าด้วยกันแบบต่างๆ เซลล์ไฟฟ้ าหลายๆ เซลล์ต่อเข้า
    ด้วยกัน มีการใช้แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์วดในจุดต่างๆ ซึ่งเมื่อต่อตัวนาหรื อตัวต้านทานเข้ากับแหล่งกาเนิด
                                            ั
    ไฟฟ้ า จะมี
    กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านตัวต้านทานและแหล่งกาเนิดไฟฟ้ านั้น กระแสไฟฟ้ าที่เกิดก็เนื่องจากการเคลื่อนที่ของ
    ประจุ
    ไฟฟ้ า โดยประจุไฟฟ้ าได้รับพลังงานจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า
    แรงเคลือนไฟฟา (electromotive force ; e.m.f.)
           ่    ้
          แรงเคลื่อนไฟฟ้ า หรื อ electromotive force (emf ; E) ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าใดๆ นิยามว่า เป็ น
    พลังงาน
    ที่แหล่งกาเนิดนั้นจะสามารถให้ได้ต่อหน่วยประจุไฟฟ้ า ตัวอย่างเช่น
        เมื่อกล่าวว่า ถ่านไฟฉายก้อนหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 1.5 โวลต์ (V) หรื อจูลต่อคูลอมบ์ (J/C) จะหมายความว่า
    ถ่านไฟฉายก้อนนั้น สามารถให้พลังงานได้ 1.5 จูลต่อประจุไฟฟ้ าทุกๆ 1 คูลอมบ์ ที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้ า
    ภายในถ่านไฟฉายนั้นหรื ออาจหมายความว่า ถ่านไฟฉายนั้นสามารถทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างขั้วของ
    ถ่านไฟฉายได้ 1.5 โวลต์ เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า

More Related Content

What's hot

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าwattanakub00
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าkritsana08724
 
กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303Atjimayall
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3Kunthida Kik
 
กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)Kunthida Kik
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าI'am Jeed
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0834799610
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThitikan
 

What's hot (10)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
 
กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Fulles
FullesFulles
Fulles
 
Napoliioni viiktorin
Napoliioni viiktorinNapoliioni viiktorin
Napoliioni viiktorin
 
Power torxes
Power torxesPower torxes
Power torxes
 
Sabaté Barcelona Impresión Digital presenta PRINTLAB
Sabaté Barcelona Impresión Digital presenta PRINTLABSabaté Barcelona Impresión Digital presenta PRINTLAB
Sabaté Barcelona Impresión Digital presenta PRINTLAB
 
Full hort octubre
Full hort octubreFull hort octubre
Full hort octubre
 
El laberint de creta
El laberint de cretaEl laberint de creta
El laberint de creta
 
Ciri
CiriCiri
Ciri
 
2011 q2 oceancurrent
2011 q2  oceancurrent2011 q2  oceancurrent
2011 q2 oceancurrent
 
Treball de bio-gio
Treball de bio-gioTreball de bio-gio
Treball de bio-gio
 
Napoliioni viiktorin
Napoliioni viiktorinNapoliioni viiktorin
Napoliioni viiktorin
 
Sri sai-ganesh-structurals
Sri sai-ganesh-structuralsSri sai-ganesh-structurals
Sri sai-ganesh-structurals
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Sabate y HP. Latex Applications Guide
Sabate y HP. Latex Applications GuideSabate y HP. Latex Applications Guide
Sabate y HP. Latex Applications Guide
 
10 things about latex applications
10 things about latex applications10 things about latex applications
10 things about latex applications
 
Zeus i io
Zeus i ioZeus i io
Zeus i io
 
El judici de Paris
El judici de ParisEl judici de Paris
El judici de Paris
 
Provence-Alpes-Cote d'azur
Provence-Alpes-Cote d'azurProvence-Alpes-Cote d'azur
Provence-Alpes-Cote d'azur
 
ppt tugas
ppt tugasppt tugas
ppt tugas
 
Javascript dans le cadre du développement d'applications pour TV connectées
Javascript dans le cadre du développement d'applications pour TV connectéesJavascript dans le cadre du développement d'applications pour TV connectées
Javascript dans le cadre du développement d'applications pour TV connectées
 
Osteomyelitis of jaws
Osteomyelitis of jawsOsteomyelitis of jaws
Osteomyelitis of jaws
 

Similar to พลังงานไฟฟ้า

ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304Anunata5
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)ying08932
 

Similar to พลังงานไฟฟ้า (20)

ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304เครื่องใช้ไฟฟ้า304
เครื่องใช้ไฟฟ้า304
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
วิทย์1
วิทย์1วิทย์1
วิทย์1
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 

พลังงานไฟฟ้า

  • 2. จัดทาโดย • 1.ด.ญ.ชุตกาญจน์ ิ ทวี เลขที่ 25 ม.304 • 2.ด.ญ.นฤมล ยาดี เลขที่ 26 ม.304 • 3.ด.ญ.นันทิชา เสาปั น เลขที่ 27 ม.304 • 4.ด.ญ.วิไลลักษณ์ โหนแหยม เลขที่ 28 ม.304
  • 3. เรื่ อง พลังงานไฟฟ้ า • พลังงานไฟฟาสามารถแบ่ งออกได้ 2 แบบได้ แก่ ้ 1. ไฟฟาสถิต ้ 2. ไฟฟากระแส ้ • ไฟฟาสถิต ้ ในการดาเนินชีวิตประจาวันของเรา เราสามารถพบไฟฟ้ าสถิตได้ เสมอ เช่น เมื่อเรานามือเข้ าไปใกล้ จอโทรทัศน์ที่เพิ่งปิ ดใหม่ ๆ หรื อเมื่อเราหวีผม เส้ นผมมักจะชูตามหวีขึ ้นมาด้ วย หรื อการที่เรานาไม้ บรรทัด พลาสติก มาถูที่ผมของเรา จากนันไม้ บรรทัดจะมีพลังสามารถที่จะดูดเศษกระดาษชิ ้นเล็กๆ ได้ เราเรี ยน ้ พลังงานเหล่านี ้ว่า ไฟฟ้ าสถิต ปรากฏการณ์ไฟฟาสถิตนี ้มนุษย์ค้นพบมานานแล้ วเท่าที่มีการบันทึกไว้ เริ่ มมาตังแต่ 600 ปี ก่อนคริ สต ้ ้ ศักราชหรื อราว ๆ สมัยพุทธกาลนันเอง นักปราชญ์ชาวกรี กชื่อ ธาลีสแห่งเมืองมิเลตุล (Thales of ่ Miletus) นักปราชญ์เทลีส สังเกตว่าเมื่อเขาหยิบแท่งอาพันมาถูกบเสื ้อคลุมซึงทาด้ วยขนสัตว์ เมื่อเขาวางแท่ง ั ่ อาพันไว้ บนโต๊ ะดังเดิม เศษวัสดุต่าง ๆ เช่น เศษไม้ เล็ก ๆ ต่างก็วิ่งเข้ ามาเกาะแท่งอาพันนันได้ เอง เขา ้ ทดลองถูอีกหลายครังจึงแน่ใจว่านันเป็ นความจริ ง ไม่ใช่ภาพลวงตา เทลีส เรี ยนรู้ว่าถ้ าเอาอาพันถูกบผ้ า ้ ่ ั ขนสัตว์แล้ วแท่งอาพันจะดูดวัตถุเบา ๆ ได้
  • 4. • การเกิดไฟฟาสถิต ้ • เมื่อมีวสดุท้งสองชนิดเป็ นฉนวนที่มีการสัมผัสกันจะมีประจุบางส่วน (Electrons) ถูกถ่ายโอนจากวัสดุ ั ั ฉนวนชิ้นหนึ่งไปสู่วสดุฉนวนอีกชิ้นหนึ่ง และเมื่อฉนวนทั้งสองชิ้นถูกแยกออกจากกัน ประจุดงกล่าวก็จะไม่ ั ั สามารถย้อนกลับไปยังวัสดุฉนวนชิ้นเดิมได้ จึงทาให้ประจุดงกล่าวก็จะไม่สามารถเคลื่อนที่ในวัสดุฉนวนได้ ซึ่งถ้า ั วัสดุท้งสองเป็ นกลางแล้วก็จะเกิดประจุบวกขึ้นในวัสดุฉนวนชิ้นหนึ่ งและเกิดประจุลบกับวัสดุอีกชิ้นหนึ่ง ั • ปรากฏการณ์ธรรมชาติฟ้าแลบ ฟ้ าร้อง และฟ้ าผ่าเกิดจากประจุไฟฟ้ าสถิตในก้อนเมฆ มีจานวนมากจนสามารถ เคลื่อนที่จากเมฆก้อนหนึ่งไปยังอีกก้อนหนึ่ง เมื่อเกิดพายุฝนฟ้ าคะนองประจุไฟฟ้ าในก้อนเมฆจะเกิดการถ่ายเทไป ั ยังอีกก้อนหนึ่งอย่างรวดเร็วทาให้เสี ยดสี กบอากาศจนอากาศร้อนจัด และลุกไหม้เห็นแสงสว่างราบเป็ นทางที่เรา เรี ยกว่า ฟ้ าแลบ เมื่ออากาศร้อนจัดจึงขยายตัวและหดตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้อากาศสันสะเทือนกลายเป็ นเสี ยง ฟ้ า ่ ร้อง • ่ ส่วนการเกิดฟ้ าผ่า เกิดจากถ่ายเทประจุไฟฟ้ าระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดินเป็ น ถ้ามีสิ่งกีดขวางไม่ยอมให้ประจุผาน ไปได้สะดวก เช่น ต้นไม้ บ้าน รถยนต์ คน สัตว์ต่างๆ ก็จะเกิดความร้อนและลุกไหม้เป็ นอันตรายอย่างมาก หรื อที่ ่ เราเรี ยกกันว่า ฟ้ าผ่า ดังนั้นจึงสังเกตได้วาตามอาคารสูงๆ จึงมักติดสายล่อฟ้ า ทาด้วยเหล็กกล้ารู ปสามง่ามไว้บนยอด สุดของอาคาร เชื่อมต่อกับสายทองแดงลงมาที่พ้ืนดินเพื่อถ่ายเทประจุไฟฟ้ านาลงสู่พ้ืนดิน • ั ่ เบนจามิน แฟรงคลิน นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริ กน ได้พิสูจน์วาฟ้ าแลบฟ้ าร้อง เป็ นไฟฟ้ าสถิตอย่างหนึ่งในปี พ.ศ. 2295 เขาได้ทดลองปล่อยว่าวขึ้นท่ามกลางพายุในฟ้ าคะนอง เขาพบว่าไฟฟ้ าไหลลงมาตามสายป่ านที่เปี ยกฝน ก่อให้เกิดประกายไฟที่ลูกกุญแจโลหะที่แขวนไว้ใกล้ปลายสายป่ าน การทดลองนี้มีอนตรายมากอาจถึงแก่ชีวิตโชคดี ั ที่แฟรงคลินรอดชีวิตมาได้ ผูทดลองแบบเดียวกันในปี ต่อมาถูกฟ้ าผ่าเสี ยชีวิต การทดลองของแฟรงคลินก่อให้เกิด ้ การประดิษฐ์สายล่อฟ้ าเพื่อป้ องกันฟ้ าผ่าในเวลาต่อมา • ่ แม้วาไฟฟ้ าสถิตจากฟ้ าผ่าจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวตก็ตามแต่เราได้ใช้ประโยชน์หลายอย่างจากไฟฟ้ า ิ สถิต เช่น ทาให้เกิดภาพบนจอโทรทัศน์ ทาให้เกิดภาพในเครื่ องถ่ายเอกสาร เครื่ องเอกซเรย์ ช่วยในการพ่นสี รถยนต์จนถึงการทางานของไมโครชิพในเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
  • 5. • ไฟฟากระแส ้ • ั ่ ไฟฟ้ าที่เราใช้กนทัวไป หรื อที่เรี ยกว่า ไฟฟ้ ากระแส เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ า ไหลผ่านตัวนาไฟฟ้ าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าแบบนี้มีมีหลายวิธี 1. เซลล์ไฟฟ้ าเคมี จะเป็ นกรรมวิธีการเปลี่ยนพลังงานจากปฏิกิริยาเคมีมาเป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยถ้าเราจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสี ลงในกรดกามะถันเจือจางโดยวางให้ห่างกัน พอประมาณ ต่อหลอดไฟระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง หลอดไฟจะติดสว่าง เซลล์ไฟฟ้ านี้ เรี ยกว่า เซลล์เปี ยก โดยจะทาปฏิกิริยาเคมีระหว่างแผ่นโลหะกับกรดกามะถัน จนทาให้เกิด กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจรจากแผ่นทองแดงไปยังแผ่นสังกะสี • 2. ไฟฟ้ าจากไดนาโม หรื อเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า โดยปกติน้ นไฟฟ้ าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรื อนเป็ น ั ไฟฟ้ าที่เกิดจากเครื่ องไดนาโม (เจเนอเรเตอร์) ซึ่งภายในไดนาโม จะประกอบด้วยขด ลวดทองแดงเคลื่อนที่ตดเส้นแรงแม่เหล็กหรื ออาจเคลื่อนที่แม่เหล็กตัดขวดลวดทองแดงที่อยูกบ ั ่ ั ที่ ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้ าในขดลวดไหลกลับไปกลับมาระหว่างขั้วบวกและขั้วลบ เรี ยกว่า ไฟฟ้ า กระแส-สลับ เครื่ องกาเนิดขนาดใหญ่ ใช้แรงดันไอน้ าเป็ นตัวหมุนแม่เหล็ก ในโรงไฟฟ้ าที่ใช้น้ ามัน ถ่าน หิน ก๊าซธรรมชาติ เป็ นเชื้อเพลิงต้มน้ า เพื่อให้เกิดไอน้ าที่มีแรงดันไปหมุนกังหันเทอร์-ไบน์ที่ ต่อไปยังแม่เหล็ก ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าในขดลวดที่พนรอบแม่เหล็กนั้น ั 3. ไฟฟ้ าที่มาจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยเราสามารถสร้าง Solar Cell ที่ทาหน้าที่เปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ าได้ ซึ่ งใช้ครั้งแรกในยานอวกาศ ปัจจุบน ั เครื่ องใช้ไฟฟ้ าหลายชนิดใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้ เช่น นาฬิกาข้อมือ เครื่ องคิดเลข แต่ใช้จ่าย ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าจากแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง
  • 6. ไฟฟามาจากไหน ้ • ไฟฟาเกิดขึนได้ หลายวิธี ้ ้ • เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติ ได้ แก่ ฟาแลบ ฟาผ่า ้ ้ • เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานความร้ อนเป็ นพลังงานไฟฟา ้ • เกิดจากการเปลี่ยนแสงสว่างให้ เป็ นพลังงานไฟฟา โดยเซลล์แสงอาทิตย์ ้ (Solar Cell)หรื อ โฟโตเซลล์(Photo Cell) • เกิดจากปฎิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย เซลล์แห้ งและเซลล์ เชื ้อเพลิง เป็ นต้ น • เกิดจากการเหนี่ยวนาของอานาจแม่เหล็กโดยเครื่ องกาเนิดไฟฟา ได้ แก่ ้ ไฟฟาที่ใช้ อยูตามอาคารบ้ านเรื อนในปั จจุบน ้ ่ ั
  • 7. • เครื่ องกาเนิดไฟฟา ้ เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงพลังงานกลมาเป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยอาศัยการเหนี่ยวนาของ แม่เหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย์ คือ การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนาผ่านสนามแม่เหล็ก หรื อการเคลื่อนที่ แม่เหล็กผ่านขดลวดตัวนา จะทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนาขึ้นในขดลวดตัวนานั้น • เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ามี 2 ชนิด คือชนิดกระแสตรงเรี ยกว่า ไดนาโม(Dynamo) และชนิดกระแสสลับเรี ยกว่า อัล เตอร์เนเตอร์(Alternator) สาหรับเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่ใช้งานในเชิงอุตสาหกรรมนั้น โดยมากจะเป็ นเครื่ อง กาเนิดไฟฟ้ าชนิดกระแสสลับ ซึ่งมีท้งแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส โดยเฉพาะเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ที่ใช้ตาม ั โรงไฟฟ้ าจะเป็ นเครื่ องกาเนิดแบบ 3 เฟสทั้งหมด เนื่องจากสามารถผลิตและจ่ายกาลังไฟฟ้ าได้เป็ นสามเท่าของเครื่ อง กาเนิดไฟฟ้ าแบบ 1 เฟส • โดยทัวไปแล้วเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน คือส่วนที่เรี ยกว่า โรเตอร์(Rotor) ซึ่งจะมี ่ ่ ขดลวดตัวนาฝังอยูในร่ องรอบแกนโรเตอร์ที่ทาจากแผ่นเหล็กซิลิคอน(Silicon Steel Sheet) ขนาดหนา ประมาณ 0.35-0.5 มิลลิเมตร นามาอัดแน่นโดยระหว่างแผ่นเหล็กซิลิคอนจะมีฉนวนเคลือบ ทั้งนี้เพื่อลดการสูญเสี ย ที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ าไหลวน (Eddy Current) ภายในแกนเหล็กของโรเตอร์จะได้รับไฟฟ้ ากระแสตรง จากเอ็กไซเตอร์(Excitor) เพื่อทาหน้าที่ในการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าขึ้น อีกส่วนหนึ่งของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า ่ ั คือส่วนที่อยูกบที่ เรี ยกว่า สเตเตอร์(Stator) ภายในร่ องแกนสเตเตอร์ มีขดลวดซึ่งทาจากแผ่นเหล็กอัดแน่น เช่นเดียวกับโรเตอร์ฝังอยู่ อาศัยหลักการของการเคลื่อนที่ของแม่เหล็กผ่านลวดตัวนา จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนา แรงดันไฟฟ้ าที่สเตเตอร์และนาแรงดันไฟฟ้ านี้ไปใช้ต่อไป • ่ อุปกรณ์ประกอบที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่ คือ เอ็กไซเตอร์อยูแกนเดียวกับโรเตอร์ ทา หน้าที่ผลิตไฟฟ้ ากระแสตรงป้ อนให้แก่โรเตอร์ (D.C. Exciting Current) เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นบนโร เตอร์ ชนิดของเอ็กไซเตอร์จะเป็ นแบบไฟฟ้ ากระแสตรง หรื ออาจจะใช้แบบกระแสสลับ แล้วผ่านวงจรแปลงไฟฟ้ า ให้เป็ นกระแสตรงก่อนป้ อนเข้าสู่โรเตอร์ เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาดใหญ่มกจะใช้เอ็กไซเตอร์ชนิดหลังเป็ นส่นมาก ั • การควบคุมแรงดันไฟฟ้ าของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า สามารถกระทาได้โดยการปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กที่โร ั ่ ั เตอร์สร้างขึ้นด้วยการปรับกระแสไฟฟ้ าตรงที่ป้อนให้กบโรเตอร์ ส่วนความถี่ของไฟฟ้ าที่ผลิตขึ้นอยูกบปัจจัย 2 อย่าง คือ ความเร็วรอบที่โรเตอร์หมุน ยิงหมุนรอบมากความถี่ไฟฟ้ าก็จะยิงสูง และจานวนขั้วแม่เหล็กไฟฟ้ าที่สร้างขึ้นบน ่ ่ โรเตอร์ ยิงมีข้วมากเท่าไร ความถี่ไฟฟ้ าก็จะมาก ่ ั
  • 8. พลังงานไฟฟ้ า • เมื่อต่อเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าเข้ ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ประจุไฟฟาจะเคลื่อนที่ ทาให้ มีกระแสไฟฟาผ่าน ้ ้ เครื่ องใช้ ไฟฟา พลังงานไฟฟาจะถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเครื่ องใช้ ไฟฟา เช่น เมื่อ ้ ้ ้ ต่อหลอดไฟกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า จะได้ พลังงานแสงสว่าง ถ้ าต่อเตาไฟฟาเข้ ากับแหล่งกาเนิด ้ ไฟฟา จะได้ พลังงานความร้ อน ถ้ าต่อ ้ แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าเข้ ากับเครื่ องซักผ้ า พัดลม และสว่านไฟฟา ก็จะได้ พลังงานกล เป็ นต้ น ้ กาลังไฟฟา ้ กาลังไฟฟ้ า คือ พลังงานไฟฟาที่ใช้ ไปในหนึงหน่วยเวลา มีหน่วยเป็ น จูลต่อวินาที ้ ่ หรื อวัตต์ เขียนสมการ ได้ ดงนี ้ … ั • เมื่อ... P = กาลังไฟฟ้ า มีหน่วยเป็ นจูลต่อวินาทีหรื อวัตต์ W = พลังงานไฟฟา มีหน่วยเป็ นจูล ้ t = เวลา มีหน่วยเป็ นวินาที
  • 9. แหล่งกาเนิดไฟฟา คือ แหล่งกาเนิดที่ทาให้ เกิดความต่างศักย์ไฟฟา ้ ้ ระหว่างปลายทังสองของตัวนาอยูตลอดเวลาและทาให้ เกิดกระแสไฟฟา ้ ่ ้ ผ่านตัวนาอยูตลอดเวลา ได้ แก่ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ เครื่ องกาเนิด ่ ไฟฟา เป็ นต้ น แหล่งกาเนิดไฟฟา ที่ควรทราบมีดงนี ้ ้ ้ ั เซลล์ไฟฟาเคมี (eletrochemical cell) ้ เครื่ องกาเนิดไฟฟา (generator) ้ คูควบความร้ อน (thermocouple) ่ เซลล์สริยะ (solar cell) ุ แหล่งกาเนิดไฟฟาจากสิงมีชีวิต ้ ่
  • 10. เครื่องมือวัดทางไฟฟ้ า • แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ เป็ นเครื่ องวัดทางไฟฟา เพื่อใช้ วดปริมาณต่างๆ ทางไฟฟา ้ ั ้ เครื่ องวัดทางไฟฟาต่างๆ นี ้ สามารถสร้ างขึ ้น โดยดัดแปลงมาจาก แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) ชนิด ้ ขดลวดเคลื่อนที่ ซึงประกอบด้ วยขดลวดวางระหว่างขัวแม่เหล็ก ่ ้ แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) คือ เครื่ องมือวัดพื ้นฐานทางไฟฟาที่สามารถวัดได้ ทงกระแส ้ ั้ ไฟฟาและความต่างศักย์ไฟฟา แต่จะวัดได้ ปริมาณน้ อยๆ ดังนันจึงนิยมนาไปดัดแปลงใช้ วดกระแสไฟฟา ความ ้ ้ ้ ั ้ ต่างศักย์ไฟฟา และความต้ านทาน ้ หลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์ เมื่อมีกระแสไฟฟาผ่านเข้ าไปในขดลวด จะทาให้ ขดลวดหมุนได้ เนื่องจากเกิดแรงกระทาระหว่างสนาม ้ แม่เหล็กไฟฟารอบๆ ขดลวดกับสนามแม่เหล็กจากขัวแม่เหล็ก และถ้ ามีเข็มติดกับขดลวดเข็มก็จะเบนไปด้ วย ้ ้ การเบนของเข็มจะมากหรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบปริมาณกระแสไฟฟาที่ผ่านเข้ าไปในขดลวด กระแสไฟฟาที่ทาให้ เข็มของ ั ้ ้ แกลแวนอมิเตอร์ เบนได้ สงสุด จะมีค่าจากัดค่าหนึง เรี ยกว่า "กระแสสูงสุดของแกลแวนอมิเตอร์ " ถ้ ากระแสไฟฟา ู ่ ้ ผ่านเข้ าไปในแกลแวนอมิเตอร์ มากกว่าค่าจากัดดังกล่าวนี ้ จะทาให้ แกลแวนอมิเตอร์ เสียหายได้ ดังนัน การที่จะนาแกลแวนนอมิเตอร์ ไปใช้ วดค่ากระแสไฟฟาและความต่างศักย์ไฟฟาในวงจรไฟฟา จึงต้ อง ้ ั ้ ้ ้ ทาการดัดแปลงเสียก่อนสัญลักษณ์ของแกลแวนอมิเตอร์ คือ
  • 11. วงจรไฟฟาในบ้ าน ้ • ใช้ ไฟฟากระแสสลับ มีความต่างศักย์ไฟฟาเฉลี่ย 220 โวลต์ สายไฟที่เข้ ามาในบ้ าน ้ ้ จะมี 2 สาย ต่อจากสายหลักที่เสาไฟฟาผ่านมาตรกิโลวัตต์-ชัวโมง แล้ วเข้ าไปในบ้ าน โดยสาย 2 สาย ้ ่ นั ้น สายหนึ่งจะเป็ นสายกลาง (N) และอีกสายจะเป็ นสายมีศกย์ (L) สายมีศกย์จะผ่านฟิ วส์ ซึงจะเป็ นตัว ั ั ่ ปองกัน ้ อันตรายที่เกิดจากไฟฟาช็อต หรื อการใช้ กระแสไฟฟาเกินขนาดที่ฟิวส์จะทนได้ เครื่องใช้ ไฟฟาภายในบ้ าน ้ ้ ้ จะต่อกันแบบขนาน หลังจากผ่านสะพานไฟรวมไปแล้ ว ดังรูป • อุปกรณ์ และเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน ได้ แก่ หลอดไฟ หม้ อหุงข้ าว เตารี ด พัดลม โทรทัศน์ ้ เครื่ องปรับอากาศ อุปกรณ์เหล่านี ้ทุกชิ ้น จะมีตวเลขบอกความต่างศักย์ (V) และกาลังไฟฟา (P) ที่เกิดขึ ้น ั ้ เป็ น วัตต์ (W) แต่บางชนิดก็กาหนดค่าความต่างศักย์ (V) กับกระแสที่ผ่านเครื่ องใช้ ไฟฟาเป็ นแอมแปร์ (A) ้ เครื่ องใช้ ไฟฟาทุกชิ ้นควรต่อสายดิน เพื่อปองกันไฟดูด ้ ้ •
  • 12. วงจรไฟฟา ้ • วงจรไฟฟ้ า ประกอบด้วย ความต้านทานหลายตัวต่อเข้าด้วยกันแบบต่างๆ เซลล์ไฟฟ้ าหลายๆ เซลล์ต่อเข้า ด้วยกัน มีการใช้แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์วดในจุดต่างๆ ซึ่งเมื่อต่อตัวนาหรื อตัวต้านทานเข้ากับแหล่งกาเนิด ั ไฟฟ้ า จะมี กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านตัวต้านทานและแหล่งกาเนิดไฟฟ้ านั้น กระแสไฟฟ้ าที่เกิดก็เนื่องจากการเคลื่อนที่ของ ประจุ ไฟฟ้ า โดยประจุไฟฟ้ าได้รับพลังงานจากแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า แรงเคลือนไฟฟา (electromotive force ; e.m.f.) ่ ้ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า หรื อ electromotive force (emf ; E) ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าใดๆ นิยามว่า เป็ น พลังงาน ที่แหล่งกาเนิดนั้นจะสามารถให้ได้ต่อหน่วยประจุไฟฟ้ า ตัวอย่างเช่น เมื่อกล่าวว่า ถ่านไฟฉายก้อนหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 1.5 โวลต์ (V) หรื อจูลต่อคูลอมบ์ (J/C) จะหมายความว่า ถ่านไฟฉายก้อนนั้น สามารถให้พลังงานได้ 1.5 จูลต่อประจุไฟฟ้ าทุกๆ 1 คูลอมบ์ ที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้ า ภายในถ่านไฟฉายนั้นหรื ออาจหมายความว่า ถ่านไฟฉายนั้นสามารถทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่างขั้วของ ถ่านไฟฉายได้ 1.5 โวลต์ เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า