SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
ผลการประชาพิจารณ์ และความเห็นร่วมในการประชุมกลุมของแรงงาน/ผู้ประกันตน
                                               ่

ซึ่งเข้าสัมมนา เรื่อง ทางเลือกประกันสุขภาพของแรงงาน/ผู้ประกันตนไทย เสือ หรือ จระเข้

                วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ณ.ห้องประชุมจอมพล ป. กระทรวงแรงงาน

ผู้จด -สภาองค์การลูกจ้าง ร่วมกับ สำานักงานประกันสังคม มีสมาคมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และ สิ่ง
    ั
แวดล้อม เป็นผู้สนับสนุนทางวิชาการ

ประธานในที่ประชุมเสนอผลต่อผู้แทนกระทรวงแรงงาน

        นายมนัส โกศล ผู้นำาแรงงาน เวลา ๑๕.๓๐ ถึง ๑๗.๓๐

จำานวนผู้เข้าสัมมนา เช้า บ่าย รวม ๔๑๒ คน ระหว่าง ๘.๓๐ ถึง ๑๗.๓๐ น.

ผลการประชาพิจารณ์ และ ประชุมสาระสำาคัญ

      1. ทางเลือกประกันสุขภาพ

                ๑.๑ ผลประชาพิจารณ์ด้วยการให้แสดงประชามติด้วยการยกมือ

                    – ร้อยละ ๑๐๐ เลือกอยู่กับระบบประกันสังคม

                ๑.๒ ความเห็นร่วมจากที่ประชุมกลุ่มทั้งหมดของผู้ประกันตน

                    –ร้อยละ ๑๐๐ เลือกที่จะอยู่กับระบบประกันสังคม

              ๑.๓ ผลประชาพิจารณ์ด้วยการตอบแบบประชาพิจารณ์ ก่อนได้รับข้อมูลจากทีมรักษา
          ต้องการ ไปอยู่กับบัตรทอง ร้อยละ ๓๒ และ ยังคงอยู่กับระบบประกันสังคมร้อยละ ๕๘

               หลังได้รับข้อมูลประกอบการพิจารณา ต้องการไปอยู่กับบัตรทองร้อยละ ๒ และ
          ต้องการอยู่กับระบบประกันสังคมร้อยละ ๙๔

      2. ความต้องการปรับปรุงระบบประกันสังคม ในกลุ่มที่ให้ความเห็นเลือกอยู่กับระบบประกัน
          สังคมต่อไป พบว่าผู้ประกันตน ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลง(ปรับปรุง)ระบบ ร้อยละ ๖๑
          และ ร้อยละ ๒๐ ของผูประกันตนที่ให้ความเห็นหลัง และ ก่อนที่ได้รับข้อมูลจากทีมรักษา
                               ้

      3. ความพึงใจในการรับบริการด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลในระบบประกันสังคม พบ
          ว่า

              ๓.๑ ความเห็นจากการประชุมกลุ่ม พบว่ามีทั้งที่พอใจ และไม่พอใจ โดยในส่วนที่พอใจ
          คือผู้ประกันตนมีสิทธิเลือกโรงพยาบาลเอง และส่วนใหญ่ไม่พอใจระบบบริหารจัดการของ
          โรงพยาบาลจำานวนมากที่รับผู้ประกันตน ได้ให้บริการด้วยบุคคลากรที่ด้อยคุณภาพ เช่น ใช้
          ผู้จบการศึกษาใหม่ แพทย์ที่ดูแลบางท่านมีความไม่พร้อมทางกาย เช่น หลับ มีภาระงาน
          มาก ต้องจ่ายค่าส่วนเกินสิทธิในการรับบริการขูดหินปูน และถอนฟัน ฯ ต้องการได้รับการ
          ดูแลด้านสุขภาพประกันสังคมแบบที่โรงพยาบาลสุรินทร์จัดให้กับผู้ประกันตน
๓.๒ ความเห็นจากแบบสำารวจ พบว่า ไม่พอใจบริการด้านสุขภาพในระบบประกันสังคม มี
ร้อยละ ๑๕ และ ๑๙ ในกลุ่มสำารวจ ก่อนและหลังจากการได้รับข้อมูลจากทีมรักษาพยาบาล

๔.ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารระบบและโครงสร้าง

   ๑.ให้ยกเลิกการจัดเก็บเงินสมทบเพดานเงินเดือนที่เป็นรายได้ ๑๕ ๐๐๐บาทต่อเดือน ให้
เรียกเก็บร้อยละ ๕ ตามเพดานเงินเดือนจริง

   ๒.ให้เพิ่มค่าปรับ และบทลงโทษ แก่นายจ้างที่ไม่จ่ายเงินสมทบหักจากลูกจ้างแบบไม่ถูก
ต้อง และจัดส่งไม่ครบ หรือไม่อยู่ภายในกำาหนดทำาให้ผู้ประกันตนเสียหาย

๓.ให้ปรับปรุงคณะกรรมการประกันสังคม ให้มีโครงสร้างที่มผู้แทนของแรงงานและผู้
                                                          ี
ประกันตนเข้าไปมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น อันจะทำาให้กิจการประกันสังคมดำาเนินไปเพื่อประโยชน์
ของผู้ประกันตนเพิ่มขึ้น การเลือกคณะกรรมการ ให้มีการเลือกเช่นเดิม คือเลือกโดยใช้กลุ่ม

๔. ให้ปรับปรุงระบบการบริหารงานของสำานักงานประกันสังคม ให้มีประสิทธิภาพ และเพิ่ม
ความใส่ใจผูประกันตน
           ้

๕ให่จัดงบวิจยด้านพัฒนา สปส แก่องค์กรแรงงาน/ให้จัดสัมมนาใหญ่แบบนี้อีกรวมที่ ตจว.
            ั

๖.ให้จัดงบอุดหนุนผู้ประกันตน สภาองค์การลูกจ้าง และกลุ่มผู้ประกันตน ในการทำากิจกรรม
เพื่อส่งเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัย ป้องกันโรค (ให้ได้รบวัคซีนป้องกันตับอักเสบบี/ซี มะเร็ง
                                                    ั
ปากมดลูกฯ ) และเผยแพร่อบรมด้านสิทธิประโยชน์ด้านการรักษาเมื่อเจ็บป่วยและด้านอื่น
ของผู้ประกันตน และให้เพิ่มวงเงินอบรมเรื่องประกันสังคมจาก ๒๐๐๐๐ บาทต่อรุ่น เป็น
๔๐๐๐๐ บาทต่อรุ่น พร้อมเพิ่มช่องทางให้องค์กรแรงงานและผู้ประกันตนอื่นได้รับงบ
สนับสนุนนี้เพิ่มเติมจากที่จัดให้สภาองค์การลูกจ้างตามที่มีอยู่แล้ว

๗. ให้เป็นหน้าที่ของบริษัทห้างร้าน จัดให้พนักงานได้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ของผู้ประกัน
ตนเพิ่มขึ้น มากกว่าปี ละ ๑ ครั้ง

๕.ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริการด้านสุขภาพระบบประกันสังคม

๑.ให้ผู้ประกันตนสามารถเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมได้ทันที ไม่ต้องรอถึง ๑ ปี

๒.ให้ผู้ประกันตนเข้ารับการรักษาพยาบาลได้ทุกโรค ทุกภาวะ ทุกวิธีการรักษา และทุกเวลา
ในโรงพยาบาลของรัฐ โดยให้จัดให้มีแพทย์ บุคลากร ผูเชี่ยวชาญ ให้การรักษาอย่างเพียง
                                                     ้
พอ สำาหรับกรณีฉุกเฉินซึ่งผู้ประกันตนได้รับการส่งต่อโดยหน่วยกู้ภัยไปยังโรงพยาบาลเอก
ชนใดๆ ให้ได้รับสิทธิการเบิกจ่ายตามจริงที่ดขึ้น
                                           ี

๓.ให้มีโรงพยาบาลประกันสังคมทุกจังหวัด ให้การรักษากับแรงงาน และผู้ประกันตนเพื่อ
อำานวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนให้มีผู้
เชี่ยวชาญด้วย และให้ครอบคลุมบริการตรวจรักษาโรคจากสารพิษ โรคจากการทำางาน

๔.ให้ควบรวมกองทุนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทนในส่วนการรักษาพยาบาล เพื่อ
ให้ แรงงานและผู้ประกันตนที่ได้รับการเจ็บป่วยเนื่องจากการทำางานได้รับสิทธิประกันสังคม
ด้านรักษาพยาบาลอันเป็นการต่อยอดจากสิทธิในกองทุนเงินทดแทน
๕ ข้อเสนออื่นๆ อีกจำานวนมาก โปรดดูในเอกสารรายงานเฉพาะเรื่อง

๖.ข้อเสนอต่อรัฐบาล

๑. ให้ยกเลิกสิทธิบัตรทองรักษาฟรี(ใช้เงินจากเงินภาษีของทุกคน) ในกลุ่มผู้มีรายได้ที่ใช้
สิทธิบตรทอง เพื่อให้มีงบเพียงพอในการรักษาผู้ที่ยากไร้จริง โดยแรงงานและผู้เสียภาษี
      ั
ยินดีให้เงินภาษีเฉพาะกับผู้ที่ควรได้รบการช่วยเหลือจริงเท่านั้น ไม่ให้รวมกองทุน สปส กับ
                                     ั
บัตรทอง และให้มีการตรวจสอบการเงินระบบบัตรทอง ซึ่งต้องการมาเกี่ยวกับกองทุนสปส.

๒.ให้ควบคุม NGO ในการใช้งบประมาณจากภาษีของประชาชนในการรณรงค์ให้ข้อมูลอัน
ไม่จริงกับสังคม เช่นกรณีใช้งบลงสื่อ ใส่ความระบบประกันสังคมของแรงงาน และเรียกร้อง
ให้เกิดความเสียหายกับระบบประกันสังคม ด้วยการเรียกร้องแรงงาน/ผูประกันตน ไม่ปฏิบัติ
                                                              ้
ตามกฎหมายประกันสังคม ให้หยุดส่งเงินฯ

๗. ข้อเสนอต่อองค์กรแรงงาน/แรงงาน

๑.ให้แรงงานจับตา เฝ้าระวัง พฤติกรรมของ NGO ที่เข้ามาเคลื่อนไหว ปลุกปั่น ยุยงใน
แรงงาน อย่างไม่ถูกต้อง เช่นเรื่องแรงงานต่างด้าว และเรื่องอื่นๆ ที่มีอยู่จำานวนมากในขณะนี้
ถ้าพบเห็นให้แจ้งสภาองค์กรลูกจ้าง เพื่อพิจารณาดำาเนินการต่อไป

More Related Content

Similar to ผลการประชาพิจารณ์

บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารบทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารthaitrl
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1thaitrl
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรwanarrom
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมนายจักราวุธ คำทวี
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4thaitrl
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2thaitrl
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 

Similar to ผลการประชาพิจารณ์ (20)

บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารบทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหาร
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 3
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 1
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
what
whatwhat
what
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
การประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไรการประกันสังคมคืออะไร
การประกันสังคมคืออะไร
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคมจักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
จักราวุธ คำทวี อบรม กศน.ตำบล รุ่น ๑ ปี ๕๔ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
สรุปการประชุุมกลุ่มที่ 4
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
สรุปการประชุมกลุ่มที่ 2
 
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartokสุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
สุขภาพและระบบประกันสุขภาพ (Health &healthcare system) by pitsanu duangkartok
 

More from thaitrl

พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
Regulations indictment
Regulations indictmentRegulations indictment
Regulations indictmentthaitrl
 
Slidedebate200611
Slidedebate200611Slidedebate200611
Slidedebate200611thaitrl
 
Distribute
DistributeDistribute
Distributethaitrl
 
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์thaitrl
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurancethaitrl
 

More from thaitrl (6)

พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
Regulations indictment
Regulations indictmentRegulations indictment
Regulations indictment
 
Slidedebate200611
Slidedebate200611Slidedebate200611
Slidedebate200611
 
Distribute
DistributeDistribute
Distribute
 
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์
สรุปผลสำรวจประชาพิจารณ์
 
Thai Health Insurance
Thai Health InsuranceThai Health Insurance
Thai Health Insurance
 

ผลการประชาพิจารณ์

  • 1. ผลการประชาพิจารณ์ และความเห็นร่วมในการประชุมกลุมของแรงงาน/ผู้ประกันตน ่ ซึ่งเข้าสัมมนา เรื่อง ทางเลือกประกันสุขภาพของแรงงาน/ผู้ประกันตนไทย เสือ หรือ จระเข้ วันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ณ.ห้องประชุมจอมพล ป. กระทรวงแรงงาน ผู้จด -สภาองค์การลูกจ้าง ร่วมกับ สำานักงานประกันสังคม มีสมาคมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และ สิ่ง ั แวดล้อม เป็นผู้สนับสนุนทางวิชาการ ประธานในที่ประชุมเสนอผลต่อผู้แทนกระทรวงแรงงาน นายมนัส โกศล ผู้นำาแรงงาน เวลา ๑๕.๓๐ ถึง ๑๗.๓๐ จำานวนผู้เข้าสัมมนา เช้า บ่าย รวม ๔๑๒ คน ระหว่าง ๘.๓๐ ถึง ๑๗.๓๐ น. ผลการประชาพิจารณ์ และ ประชุมสาระสำาคัญ 1. ทางเลือกประกันสุขภาพ ๑.๑ ผลประชาพิจารณ์ด้วยการให้แสดงประชามติด้วยการยกมือ – ร้อยละ ๑๐๐ เลือกอยู่กับระบบประกันสังคม ๑.๒ ความเห็นร่วมจากที่ประชุมกลุ่มทั้งหมดของผู้ประกันตน –ร้อยละ ๑๐๐ เลือกที่จะอยู่กับระบบประกันสังคม ๑.๓ ผลประชาพิจารณ์ด้วยการตอบแบบประชาพิจารณ์ ก่อนได้รับข้อมูลจากทีมรักษา ต้องการ ไปอยู่กับบัตรทอง ร้อยละ ๓๒ และ ยังคงอยู่กับระบบประกันสังคมร้อยละ ๕๘ หลังได้รับข้อมูลประกอบการพิจารณา ต้องการไปอยู่กับบัตรทองร้อยละ ๒ และ ต้องการอยู่กับระบบประกันสังคมร้อยละ ๙๔ 2. ความต้องการปรับปรุงระบบประกันสังคม ในกลุ่มที่ให้ความเห็นเลือกอยู่กับระบบประกัน สังคมต่อไป พบว่าผู้ประกันตน ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลง(ปรับปรุง)ระบบ ร้อยละ ๖๑ และ ร้อยละ ๒๐ ของผูประกันตนที่ให้ความเห็นหลัง และ ก่อนที่ได้รับข้อมูลจากทีมรักษา ้ 3. ความพึงใจในการรับบริการด้านสุขภาพจากโรงพยาบาลในระบบประกันสังคม พบ ว่า ๓.๑ ความเห็นจากการประชุมกลุ่ม พบว่ามีทั้งที่พอใจ และไม่พอใจ โดยในส่วนที่พอใจ คือผู้ประกันตนมีสิทธิเลือกโรงพยาบาลเอง และส่วนใหญ่ไม่พอใจระบบบริหารจัดการของ โรงพยาบาลจำานวนมากที่รับผู้ประกันตน ได้ให้บริการด้วยบุคคลากรที่ด้อยคุณภาพ เช่น ใช้ ผู้จบการศึกษาใหม่ แพทย์ที่ดูแลบางท่านมีความไม่พร้อมทางกาย เช่น หลับ มีภาระงาน มาก ต้องจ่ายค่าส่วนเกินสิทธิในการรับบริการขูดหินปูน และถอนฟัน ฯ ต้องการได้รับการ ดูแลด้านสุขภาพประกันสังคมแบบที่โรงพยาบาลสุรินทร์จัดให้กับผู้ประกันตน
  • 2. ๓.๒ ความเห็นจากแบบสำารวจ พบว่า ไม่พอใจบริการด้านสุขภาพในระบบประกันสังคม มี ร้อยละ ๑๕ และ ๑๙ ในกลุ่มสำารวจ ก่อนและหลังจากการได้รับข้อมูลจากทีมรักษาพยาบาล ๔.ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารระบบและโครงสร้าง ๑.ให้ยกเลิกการจัดเก็บเงินสมทบเพดานเงินเดือนที่เป็นรายได้ ๑๕ ๐๐๐บาทต่อเดือน ให้ เรียกเก็บร้อยละ ๕ ตามเพดานเงินเดือนจริง ๒.ให้เพิ่มค่าปรับ และบทลงโทษ แก่นายจ้างที่ไม่จ่ายเงินสมทบหักจากลูกจ้างแบบไม่ถูก ต้อง และจัดส่งไม่ครบ หรือไม่อยู่ภายในกำาหนดทำาให้ผู้ประกันตนเสียหาย ๓.ให้ปรับปรุงคณะกรรมการประกันสังคม ให้มีโครงสร้างที่มผู้แทนของแรงงานและผู้ ี ประกันตนเข้าไปมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น อันจะทำาให้กิจการประกันสังคมดำาเนินไปเพื่อประโยชน์ ของผู้ประกันตนเพิ่มขึ้น การเลือกคณะกรรมการ ให้มีการเลือกเช่นเดิม คือเลือกโดยใช้กลุ่ม ๔. ให้ปรับปรุงระบบการบริหารงานของสำานักงานประกันสังคม ให้มีประสิทธิภาพ และเพิ่ม ความใส่ใจผูประกันตน ้ ๕ให่จัดงบวิจยด้านพัฒนา สปส แก่องค์กรแรงงาน/ให้จัดสัมมนาใหญ่แบบนี้อีกรวมที่ ตจว. ั ๖.ให้จัดงบอุดหนุนผู้ประกันตน สภาองค์การลูกจ้าง และกลุ่มผู้ประกันตน ในการทำากิจกรรม เพื่อส่งเสริมสุขภาพ อาชีวอนามัย ป้องกันโรค (ให้ได้รบวัคซีนป้องกันตับอักเสบบี/ซี มะเร็ง ั ปากมดลูกฯ ) และเผยแพร่อบรมด้านสิทธิประโยชน์ด้านการรักษาเมื่อเจ็บป่วยและด้านอื่น ของผู้ประกันตน และให้เพิ่มวงเงินอบรมเรื่องประกันสังคมจาก ๒๐๐๐๐ บาทต่อรุ่น เป็น ๔๐๐๐๐ บาทต่อรุ่น พร้อมเพิ่มช่องทางให้องค์กรแรงงานและผู้ประกันตนอื่นได้รับงบ สนับสนุนนี้เพิ่มเติมจากที่จัดให้สภาองค์การลูกจ้างตามที่มีอยู่แล้ว ๗. ให้เป็นหน้าที่ของบริษัทห้างร้าน จัดให้พนักงานได้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ของผู้ประกัน ตนเพิ่มขึ้น มากกว่าปี ละ ๑ ครั้ง ๕.ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริการด้านสุขภาพระบบประกันสังคม ๑.ให้ผู้ประกันตนสามารถเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมได้ทันที ไม่ต้องรอถึง ๑ ปี ๒.ให้ผู้ประกันตนเข้ารับการรักษาพยาบาลได้ทุกโรค ทุกภาวะ ทุกวิธีการรักษา และทุกเวลา ในโรงพยาบาลของรัฐ โดยให้จัดให้มีแพทย์ บุคลากร ผูเชี่ยวชาญ ให้การรักษาอย่างเพียง ้ พอ สำาหรับกรณีฉุกเฉินซึ่งผู้ประกันตนได้รับการส่งต่อโดยหน่วยกู้ภัยไปยังโรงพยาบาลเอก ชนใดๆ ให้ได้รับสิทธิการเบิกจ่ายตามจริงที่ดขึ้น ี ๓.ให้มีโรงพยาบาลประกันสังคมทุกจังหวัด ให้การรักษากับแรงงาน และผู้ประกันตนเพื่อ อำานวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนให้มีผู้ เชี่ยวชาญด้วย และให้ครอบคลุมบริการตรวจรักษาโรคจากสารพิษ โรคจากการทำางาน ๔.ให้ควบรวมกองทุนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทนในส่วนการรักษาพยาบาล เพื่อ ให้ แรงงานและผู้ประกันตนที่ได้รับการเจ็บป่วยเนื่องจากการทำางานได้รับสิทธิประกันสังคม ด้านรักษาพยาบาลอันเป็นการต่อยอดจากสิทธิในกองทุนเงินทดแทน
  • 3. ๕ ข้อเสนออื่นๆ อีกจำานวนมาก โปรดดูในเอกสารรายงานเฉพาะเรื่อง ๖.ข้อเสนอต่อรัฐบาล ๑. ให้ยกเลิกสิทธิบัตรทองรักษาฟรี(ใช้เงินจากเงินภาษีของทุกคน) ในกลุ่มผู้มีรายได้ที่ใช้ สิทธิบตรทอง เพื่อให้มีงบเพียงพอในการรักษาผู้ที่ยากไร้จริง โดยแรงงานและผู้เสียภาษี ั ยินดีให้เงินภาษีเฉพาะกับผู้ที่ควรได้รบการช่วยเหลือจริงเท่านั้น ไม่ให้รวมกองทุน สปส กับ ั บัตรทอง และให้มีการตรวจสอบการเงินระบบบัตรทอง ซึ่งต้องการมาเกี่ยวกับกองทุนสปส. ๒.ให้ควบคุม NGO ในการใช้งบประมาณจากภาษีของประชาชนในการรณรงค์ให้ข้อมูลอัน ไม่จริงกับสังคม เช่นกรณีใช้งบลงสื่อ ใส่ความระบบประกันสังคมของแรงงาน และเรียกร้อง ให้เกิดความเสียหายกับระบบประกันสังคม ด้วยการเรียกร้องแรงงาน/ผูประกันตน ไม่ปฏิบัติ ้ ตามกฎหมายประกันสังคม ให้หยุดส่งเงินฯ ๗. ข้อเสนอต่อองค์กรแรงงาน/แรงงาน ๑.ให้แรงงานจับตา เฝ้าระวัง พฤติกรรมของ NGO ที่เข้ามาเคลื่อนไหว ปลุกปั่น ยุยงใน แรงงาน อย่างไม่ถูกต้อง เช่นเรื่องแรงงานต่างด้าว และเรื่องอื่นๆ ที่มีอยู่จำานวนมากในขณะนี้ ถ้าพบเห็นให้แจ้งสภาองค์กรลูกจ้าง เพื่อพิจารณาดำาเนินการต่อไป